星期一, 十一月 21, 2011

Khrueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 69/201/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า วิหาโร วิหาร ได้แก่ที่อยู่อันเหลือพ้นจากโรงมีหลังคาครึ่งอาทิผิด อาณัติกะหนึ่ง
เป็นต้น.
บทว่า อฑฺฉโยโค โรงมีหลังคาครึ่งหนึ่ง ได้แก่เรือนปีกครุฑ.
บทว่า ปาสาโท ปราสาท ได้แก่ ปราสาทยาวมีช่อฟ้าสอง.
บทว่า หมฺมิยํ เรือนโล้น ได้แก่ ปราสาทมีเรือนยอดตั้งอยู่ ณ พื้น
อากาศเบื้องบน.
บทว่า คุหา ถ้ำ ท่านกล่าวไว้ในอรรถกถาขันธกะอย่างนี้ คือ ถ้ำอิฐ
ถ้ำหิน ถ้ำไม้ ถ้ำดิน. ส่วนในอรรถกถาวิภังค์ ท่านกล่าวถึงเสนาสนะที่ทำ
แสดงทางบริหารโดยรอบ และที่พักกลางคืนและกลางวันไว้ในภายในว่าวิหาร.
บทว่า คุหา ได้แก่ ถ้ำพื้นดิน ควรได้พักอาศัยตลอดคืนและวัน.
ท่านกล่าวบททั้งสองนี้ให้ต่างกัน คือ ถ้ำภูเขาหรือถ้ำพื้นดิน ท่านทำให้เป็น
วัตตมานาวิภัตติว่า นิสีทติ ย่อมนั่งด้วยอำนาจแห่งลักษณะทั่วไปแก่กาลทั้งปวง
แห่งมาติกา แต่ท่านทำเป็นรูปสำเร็จว่า นิสินฺโน นั่งแล้ว เพื่อแสดงการ
เริ่มและการสุดท้ายของการนั่ง เพราะมีการเริ่มภาวนาของภิกษุผู้นั่ง ณ ที่นี้.
อนึ่ง เพราะเมื่อภิกษุนั่งตั้งกายตรง กายย่อมตรง ฉะนั้นท่านไม่เอื้อ
ในพยัญชนะ เมื่อจะแสดงถึงความประสงค์อย่างเดียว จึงกล่าวคำมีอาทิว่า
อุชุโก ตรง.
ในบทเหล่านั้น บทว่า ฐิโต สุปณิหิโต กายเป็นกายอันภิกษุนั้นตั้ง
ไว้ตรง ความว่า เป็นกายตั้งไว้ตรง เพราะตั้งตรงอยู่แล้ว มิใช่ตั้งไว้ตรงด้วย
ตนเอง. บทว่า ปริคฺคหฏฺโฐ คือมีความกำหนดถือเอาเป็นอรรถ. กำหนด
ถือเอาอะไร. ถือการนำออก. นำอะไรออก. นำอานาปาสติสมาธิตลอดถึง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: