Technical Skipper Thailand


พระปิฎกธรรม
Abbreviations
อักษรย่อชื่อคัมภีร์

พระวินัยปิฎก

คำย่อ/คำเต็ม

  1. วิ.มหา. (บาลี) วินยปิฏก ภิกฺขุวิภงฺคปาลิ (ภาษบาลี)
  2. วิ.มหา. (ไทย) วินยปิฎก ภิกขุวิภังค์ (ภาษาไทย)
  3. วิ.ภิกฺขุนี. (บาลี) วินยปิฏก ภิกฺขุนีวิภงฺคปาลิ (ภาษบาลี)
  4. วิ.ภิกฺขุนี. (ไทย) วินยปิฎก ภิกขุนีวิภังค์ (ภาษาไทย)
  5. วิ.ม. (บาลี) วินยปิฏก มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  6. วิ.ม. (ไทย) วินยปิฎก มหาวรรค (ภาษาไทย)
  7. วิ.จู. (บาลี) วินยปิฏก จูฬวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  8. วิ.จู. (ไทย) วินยปิฎก จูฬวรรค (ภาษาไทย)
  9. วิ.ป. (บาลี) วินยปิฏก ปริวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  10. วิ.ป. (ไทย) วินยปิฎก ปริวารวรรค (ภาษาไทย)

พระสุตตันตปิฎก

  1. ที.สี. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย สีลกฺขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  2. ที.สี. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ทีฆนิกาย สีลักขันธวรรค (ภาษาไทย)
  3. ที.ม. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย มหาวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  4. ที.ม. (ไทย) สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย มหาวรรค (ภาษาไทย)
  5. ที.ปา. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก ทีฆนิกาย ปาฏิกวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  6. ที.ปา. (ไทย) สุตตันตปิฎก ทีฆนิกาย ปาฏิกวรรค (ภาษาไทย)
  7. ม.มู. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มูลปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
  8. ม.มู. (ไทย) สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มูลปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
  9. ม.ม. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย มชฺฌิมปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
  10. ม.ม. (ไทย) สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
  11. ม.อุ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฏก มชฺฌิมนิกาย อุปริปณฺณาสกปาลิ (ภาษาบาลี)
  12. ม.อุ. (ไทย) สุตตันตปิฎก มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ (ภาษาไทย)
  13. สํ.ส. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก สํยุตฺตนิกาย สคาถวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  14. สํ.ส. (ไทย) สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สคาถวรรค (ภาษาไทย)
  15. สํ.นิ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก สํยุตฺตนิกาย นิทานวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  16. สํ.นิ. (ไทย) สุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกาย นิทานวรรค (ภาษาไทย)
  17. สํ.ข. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก สํยุตฺตนิกาย ขนฺธวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  18. สํ.ข. (ไทย) สุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกาย ขันธวรรค (ภาษาไทย)
  19. สํ.สฬา. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก สํยุตฺตนิกาย สฬายตนวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  20. สํ.สฬา. (ไทย) สุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค (ภาษาไทย)
  21. สํ.ม. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก สํยุตฺตนิกาย มหาวารวคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  22. สํ.ม. (ไทย สุตตันตปิฎก สํยุตฺตนิกาย มหาวารวรรค (ภาษาไทย)
  23. องฺ.เอกก. (บาลี) องฺคุตฺตรนิกาย เอกกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  24. องฺ.เอกก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกกนิบาต (ภาษาไทย)
  25. องฺ.ทุก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ทุกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  26. องฺ.ทุก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทุกนิบาต (ภาษาไทย)
  27. องฺ.ติก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ติกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  28. องฺ.ติก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ติกนิบาต (ภาษาไทย)
  29. องฺ.จตุกฺก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย จตุกฺกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  30. องฺ.จตุกฺก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต (ภาษาไทย)
  31. องฺ.ปญฺจก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ปญฺจกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  32. องฺ.ปญฺจก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ปัญจกนิบาต (ภาษาไทย)
  33. องฺ.ฉกฺก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ฉกฺกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  34. องฺ.ฉกฺก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ฉักกนิบาต (ภาษาไทย)
  35. องฺ.สตฺตก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย สตฺตกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  36. องฺ.สตฺตก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต (ภาษาไทย)
  37. องฺ.อฏฺฐก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย อฏฺฐกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  38. องฺ.อฏฺฐก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย อัฏฐกนิบาต (ภาษาไทย)
  39. องฺ.นวก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย นวกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  40. องฺ.นวก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย นวกนิบาต (ภาษาไทย)
  41. องฺ.ทสก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย ทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  42. องฺ.ทสก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต (ภาษาไทย)
  43. องฺ.เอกาทสก. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก องฺคุตฺตรนิกาย เอกาทสกนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  44. องฺ.เอกาทสก. (ไทย) สุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย เอกาทสกนิบาต (ภาษาไทย)
  45. ขุ.ขุ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ขุทฺทกปาฐปาลิ (ภาษาบาลี)
  46. ขุ.ขุ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ (ภาษาไทย)
  47. ขุ.ธ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ธมฺมปทปาลิ (ภาษาบาลี)
  48. ขุ.ธ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ธัมมบท (ภาษาไทย)
  49. ขุ.อุ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย อุทานปาลิ (ภาษาบาลี)
  50. ขุ.อุ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย อุทาน (ภาษาไทย)
  51. ขุ.อิติ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย อิติวุตฺตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  52. ขุ.อิติ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย อิติวุตฺตกะ (ภาษาไทย)
  53. ขุ.สุ. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย สุตฺตนิปาตปาลิ (ภาษาบาลี)
  54. ขุ.สุ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย สุตตนิบาต (ภาษาไทย)
  55. ขุ.เปต. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย เปตวตฺถุปาลิ (ภาษาบาลี)
  56. ขุ.เปต. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เปตวัตถุ (ภาษาไทย)
  57. ขุ.เถร. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย เถรคาถาปาลิ (ภาษาบาลี)
  58. ขุ.เถร. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เถรคาถา (ภาษาไทย)
  59. ขุ.เถรี. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎกขุทฺทกนิกาย เถรีคาถาปาลิ (ภาษาบาลี)
  60. ขุ.เถรี. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เถรีคาถา (ภาษาไทย)
  61. ขุ.ชา. (บาลี) สุตฺตนฺตปิฎกขุทฺทกนิกาย ชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  62. ขุ.ชา. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ชาดก (ภาษาไทย)
  63. ขุ.ชา.เอกก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย เอกกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  64. ขุ.ชา. เอกก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เอกกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  65. ขุ.ชา.ทุก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ทุกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  66. ขุ.ชา. ทุก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
  67. ขุ.ชา.ทุก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ทุกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  68. ขุ.ชา. ทุก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ทุกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  69. ขุ.ชา.ติก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ติกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  70. ขุ.ชา. ติก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ติกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  71. ขุ.ชา.จตุกฺก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย จตุกฺกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  72. ขุ.ชา. จตุกฺก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย จตุกกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  73. ขุ.ชา.ปญฺจก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ปญฺจกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  74. ขุ.ชา. ปญฺจก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ปญฺจกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
  75. ขุ.ชา.ฉกฺก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ฉกฺกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  76. ขุ.ชา. ฉกฺก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ฉักกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  77. ขุ.ชา.สตฺตก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย สตฺตกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  78. ขุ.ชา. สตฺตก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย สตฺตกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  79. ขุ.ชา.อฏฺฐก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย อฏฺฐกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  80. ขุ.ชา. อฏฺฐก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย อฏฺฐกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  81. ขุ.ชา.นวก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย นวกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  82. ขุ.ชา. นวก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย นวกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  83. ขุ.ชา.ทสก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ทสกนิปาตชาตกปาลิ(ภาษาบาลี)
  84. ขุ.ชา. ทสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ทสกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
  85. ขุ.ชา.เอกาทสก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย เอกาทสกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  86. ขุ.ชา. เอกาทสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เอกาทสกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  87. ขุ.ชา.ทฺวาทสก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ทฺวาทสกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  88. ขุ.ชา. ทฺวาทสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ทฺวาทสกนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  89. ขุ.ชา.เตรสก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย เตรสกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  90. ขุ.ชา. เตรสก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย เตรสกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
  91. ขุ.ชา.ปกิณฺณก.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ปกิณฺณกนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  92. ขุ.ชา. ปกิณฺณก.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ปกิณฺณกนิบาตชาดก(ภาษาไทย)
  93. ขุ.ชา.วีสติ.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย วีสตินิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  94. ขุ.ชา. วีสติ.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย วีสตินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  95. ขุ.ชา.ตึสติ.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ตึสตินิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  96. ขุ.ชา. ตึสติ.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ตึสตินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  97. ขุ.ชา.จตฺตาลีส.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย จตฺตาลีสนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  98. ขุ.ชา. จตฺตาลีส(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย จตฺตาลีสนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  99. ขุ.ชา.ปญฺญาส.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย ปญฺญาสนิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  100. ขุ.ชา. จตฺตาลีส(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ปญฺญาสนิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  101. ขุ.ชา.สฏฺฐิ.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย สฏฺฐินิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  102. ขุ.ชา. สฏฺฐิ(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย  สฏฺฐินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  103. ขุ.ชา.สตฺตติ.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย สตฺตตินิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  104. ขุ.ชา. สตฺตติ (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย สตฺตตินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  105. ขุ.ชา.อสีติ.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย อสีตินิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  106. ขุ.ชา. อสีติ (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย อสีตินิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  107. ขุ.ชา.ม.(บาลี) สุตฺตนฺตปิฎก ขุทฺทกนิกาย มหานิปาตชาตกปาลิ (ภาษาบาลี)
  108. ขุ.ชา. ม.(ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย มหานิบาตชาดก (ภาษาไทย)
  109. ขุ.ม. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย มหานิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาลี)
  110. ขุ.ม. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย มหานิทเทส (ภาษาไทย)
  111. ขุ.จู. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย จูฬนิทฺเทสปาลิ (ภาษาบาลี)
  112. ขุ.จู. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส (ภาษาไทย)
  113. ขุ.ป. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย ปฏิสมฺภิทามคฺคปาลิ (ภาษาบาลี)
  114. ขุ.ป. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค (ภาษาไทย)
  115. ขุ.อป. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย อปทานปาลิ (ภาษาบาลี)
  116. ขุ.อป. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย อปทาน (ภาษาไทย)
  117. ขุ.พุทฺธ. (บาลี) ขุทฺทกนิกาย พุทฺธวํสปาลิ (ภาษาบาลี)
  118. ขุ.พุทฺธ. (ไทย) สุตตันตปิฎก  ขุททกนิกาย พุทธวงส์ (ภาษาไทย)

พระอภิธรรมปิฎก

  1. อภิ.สงฺ. (บาลี) อภิธมฺมปิฏก ธมฺมสงฺคณีปาลิ (ภาษาบาลี)    
  2. อภิ.สงฺ. (ไทย) อภิธัมมปิฎก ธัมมสังคณี (ภาษาไทย)
  3. อภิ.วิ. (บาลี) อภิธมฺมปิฏก วิภงฺคปาลิ (ภาษาบาลี)    
  4. อภิ.วิ. (ไทย) อภิธัมมปิฎก วิภังค์ (ภาษาไทย)
  5. อภิ.ปุ. (บาลี) อภิธมฺมปิฏก ปุคฺคลปญฺญตฺติปาลิ (ภาษาบาลี)    
  6. อภิ.ปุ. (ไทย) อภิธัมมปิฎก ปุคคลบัญญัติ (ภาษาไทย)
  7. อภิ.ก. (บาลี) อภิธมฺมปิฏก กถาวตฺถุปาลิ (ภาษาบาลี)    
  8. อภิ.ก. (ไทย) อภิธัมมปิฎก กถาวตถุ (ภาษาไทย)    
  9. อภิ.ย.(บาลี) อภิธมฺมปิฏก ยมกปาลิ (ภาษาบาลี)
  10. อภิ.ย.(ไทย) อภิธรรมปิฎก ยมก (ภาษาบาลี)
  11. อภิ.ป.(บาลี) อภิธมฺมปิฎก ปฏฺฐานปาลิ (ภาษาบาลี)
  12. อภิ.ป.(ไทย) อภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน (ภาษาไทย)

Niruttisapha.

Insert Table

Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
Seal ...
คำ โครงบทพระอนุยนต์ อักษร รหัส


จิตต์ คือ มูลพฤกษา, ชัญญ์ คือ แก่น มหิมา, ปัญญา คือ ใบตระการ, ปุพพลี คือ ดอกดวงมาล, สันนิบาต ปูนปาน คือ ลูก และดอกอนันต์, สรีร์ คือ เปลือกพัวพัน, อักขระ องค์บรรพ คือ กิ่งก้าน แกมใบ, อันติมะ งาม วิไล เป็นกระดูก ลูกใน ให้พอใจแก่โลกทั้งปวง
เรื่อง นี้ว่า ภูมิคำ อนุยนต์คำบอก จะให้แทงรหัสได้ เห็นว่าจะมาจาก ตำรา เก่า เมื่อโน่น ซึ่งหาหลักฐานไม่พบเสียแล้ว คงมีเค้าอยู่ใน ฉบับ มาตรฐาน บอกอยู่ แต่ส่วนหนึ่ง ไม่เห็นหลักฐานว่าลง ฉะนั้น ว่า คำนับ ไปตามจำนวน เฉพาะแต่การบอกอย่างใหม่ อันนี้ แต่ง ขึ้น ให้ว่าลง ไปถึง ๙ ประการ จากเดิม ที่ ความ ๗—๘ ประการ เท่านั้น ว่า เป็นอย่างไว้ ถึงนำเอาโพธิพฤกษ์ชีวิต มา เป็นหลักฐาน ความในแนว ที่จะให้ใจสำรวม จิตจรดบทบาทส่วนคิด เป็นมา เป็นความ ว่า แต่โดยย่อ ลงมา
จึงขออธิบาย นัยว่า เดิมคงแปร ที่สุด เคล้าความ คงทำไว้ เดิม แบบ ๓ นัย คือ จิต นิยาม, อุตุ นิยาม (ธรรมชาติแวดล้อม), และ พีช นิยาม (เหตุ, พืช) แล้วกะการณ์ ด้วยจะแปรประโยชน์ เกณฑ์ ไป จากนั้น เพื่อความอยู่ปรกติ เป็นผาสุก
ถึง ความ ๙ ประการ แล้ว อย่างใหม่ กว่า ให้อธิบาย เพิ่ม ลงไปตรง เหตุ อันชื่อว่า นาม แห่งพีชนิยาม ความนั้น ว่า ได้แก่ ประสงค์วิธี วุทธิพฤกษา นั้น จัด เป็น รากไม้ ๑, เป็น แก่นไม้ ๑, เป็น ใบไม้ ๑, เป็น ดอกเกสร ๑, เป็น ดอกผล ๑, เป็น เปลือกไม้ ๑, เป็น กิ่งก้านไม้ ๑, เป็นใน คือ เมล็ดลูกไม้ ๑, แล้วสารูป เป็น ปตฺตร ว่า วิญญา อาณัติ ตก เป็นสัญญา ที่ ๙ คือ สันหน้า อันคนจะว่า ออกท่ามกลาง อรรถะประโยชน์ อธิบาย ไปให้นั้น

เป็น จบความ แบบอนุทิน อักษร คำศัพท์ทำคำนวณ ย่อ จรดบท ๙ รหัส
เมือง น.
       อธิบาย พบเห็นเพิ่มเติม ด้วยมีศัพท์ คำว่า “เมือง” อยู่ในกลอนสมุดไทย และบทหนังสือทางวรรณคดี อาทิ เช่น โคลงกลอน เรื่องลักษณวงศ์, จดหมายหลวงอุดมสมบัติ, ตามลำดับ ความว่า “...แต่อาลัยสาวสรรค์มิทันหาย, ซํ้าเสียดายปรางค์มาศราชฐาน. ดูละม้ายเมืองแมนแดนวิมาน, แก้วประพาฬมรกตทับทิมแกม...” และว่า “...เบื้องต้นแต่เมื่อเรือแล่นขึ้นไปตามลำน้ำก่อนถึงเมืองร่างกุ้ง แลดูพระเกศธาตุ Shwe Dagon...” เป็นต้นนั้น (อ้าง3)
ผลการค้นหา “เมือง”
       เมือง
(๑) น. แดน เช่น เมืองมนุษย์ เมืองสวรรค์ เมืองบาดาล, ประเทศ เช่น เมืองไทย เมืองจีน เมืองลาว
(๒) (โบ) น. จังหวัด เช่น เมืองเชียงใหม่ เมืองนครศรีธรรมราช เมืองตราด
(๓) น. เขตซึ่งเคยเป็นเมืองสำคัญในระดับจังหวัด ต่อมาถูกลดฐานะเป็นอำเภอ เช่น เมืองไชยา เมืองมีนบุรี เมืองขุขันธ์
(๔) น. เขตซึ่งเป็นที่ชุมนุมและเป็นที่ตั้งศาลากลางจังหวัด ซึ่งในครั้งก่อน ถ้าเป็นเมืองใหญ่ หมายถึงเขตภายในกำแพงเมือง.
ลูกคำของ “เมือง” คือ 
เมืองขึ้น เมืองท่า เมืองท่าปลอดภาษี เมืองนอก เมืองผี เมืองลับแล เมืองหลวง เมืองออก
       ที่มา ราชบัณฑิตพจนานุกรมไทย
ตัวอย่างการใช้งาน : 
       พิจารณาความหมายเพิ่มเติม ร่างศัพท์ ว่า “เมือง” หมายถึง สถานที่เขตชุมชน ย่านทำเลที่คับคั่ง เป็นที่รวมผู้คน มากมาย ตั้งร้านโรง เรือนชาน บ้านที่พักอาศัย แล้วมีหลักที่หมายเป็นศูนย์กลาง คือเมือง ชื่อศูนย์กลางที่มีรัฐบาล ที่ซึ่งดูแล คาม นิคม ประเทศ และชนบทนั้น ๆ ว่าเมือง ว่า นคร ว่านั้น (อ้าง1)
แหล่งอ้างอิง : 
       ที่อ้าง คำอ้างอิงนั้น ให้พบอยู่ในความหมาย จะควรไม่ต้องบอกออกไปมากเกิน เพราะทำคำอธิบายสมควรอยู่, ถ้าบทชี้สาธยายจะปรากฏต่อ แก่ความนัย เกิดความลง แก่การ ลงบทความ ลงไปในทุกถิ่นของประชาชนชาวราษฎรไทยทุกคนเรา จะรู้ ตามประเทศไทยของเรา ชาติของเรา, คนเราทั่ว ๆ ทุกคน หากใครก็รังแต่ มีแต่ จะไม่ยอมเขียน ยอมตามความแบบเก่า ๆ ให้แก่ตนเอง อันคนใฝ่หาจะค้น จะอ้างไว้เท่าไหร่ อย่างไรซะ คำนั้น ๆ ก็คงจะเลือน คงดีแต่แค่จะลบไป หาที่จะให้คนจดจำไม่พบ, กระนั้น พวกเรา แต่จะคงความดีมีอยู่ พบแก่บัณฑิต พบมาแต่ในสำนักราชบัณฑิต ตั้งจิตธำรงหน้าที่ ยังได้ให้คนรับแจ้งไว้ ให้บอกไว้ได้ ให้คนอาศัยงานได้นำเข้ามา แล้วหาทางสานต่อกับเครื่องมือที่ดี ประกอบแก่งานจำพวกภาษา และหลักภาษา อันมอบบท บอกมรดกสมบัติให้แก่ทุกคน ผู้สนใจใฝ่รู้, เช่นเรานี้ ดังนี้ เรา ก็ควร มองเห็นทางจะรักษาไว้ได้ด้วยบ้าง ตอบแต่ซึ่งความดี ด้วยต่อไปจากนี้, แล้ว เราก็ถึงที่ จำจะต้องเพียร ต้องร้อยรับนับคำ รับร้อย สานสิ่งควรจะกระทำจนถึงดี ถึงบท ที่คติธรรม กรรมตกต้อง จะนำมาเรียงไว้ บอกออกให้คนรู้ความ ตามบทที่จะยิ่ง ๆ มีมาเพิ่ม เพื่อ บำรุงตัวมนุษย์สมบัติของพวกเราทุกคน ให้วัฒนา ดียิ่ง ๆ นับความ เป็นบท จะทำ นับตั้งแต่นี้ ให้มากยิ่งทุกคำ ต่อไป (อ้าง2)
พระคติธรรม
Cquote1.png

Considering the joint development and research of the community, society, personal and spiritual conditions, by using a draft That is hypothetical With consideration In the way that there is no conclusion

Cquote2.png 

☆ ใน ระเบียน เลขประจำตัวประชาชน ............. ☆


คณะกรรมการบัญญัติศัพท์เศรษฐศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน ได้พิจารณาชื่อสกุลเงินตราของประเทศต่าง ๆ ไว้ดังนี้
ประเทศ Interchange
ชื่อสกุลเงิน EN
ชื่อสกุลเงิน TH
๑.   กัมพูชา
riel
เรียล
๒.   เกาหลีใต้
won
วอน
๓.   คูเวต
dinar
ดีนาร์คูเวต
๔.   เคนยา
shilling
ชิลลิงเคนยา
๕.   แคนาดา
dollar
ดอลลาร์แคนาดา
๖.   จีน
renminbi
หยวนเหรินหมินปี้
๗.   เช็ก
koruna
โครูนาเช็ก
๘.   ซาอุดีอาระเบีย
riyal
ริยัลซาอุดีอาระเบีย
๙.   ญี่ปุ่น
yen
เยน
๑๐.  เดนมาร์ก
krone
โครนเดนมาร์ก
๑๑.  ไต้หวัน
Taiwan dollar
ดอลลาร์ไต้หวัน
๑๒.  นอร์เวย์
krone
โครนนอร์เวย์
๑๓.  นิวซีแลนด์
dollar
ดอลลาร์นิวซีแลนด์
๑๔.  เนเธอร์แลนด์
guilder
กิลเดอร์
๑๕.  บรูไน
dollar
ดอลลาร์บรูไน
๑๖.  บังกลาเทศ
taka
ตากา
๑๗.  เบลเยียม
franc
ฟรังก์เบลเยียม
๑๘.  ปากีสถาน
rupee
รูปีปากีสถาน
๑๙.  โปรตุเกส
escudo
เอสคูโดโปรตุเกส
๒๐.  ฝรั่งเศส
franc
ฟรังก์ฝรั่งเศส
๒๑.  ฟินแลนด์
markka
มาร์คฟินแลนด์
๒๒. ฟิลิปปินส์
peso
เปโซฟิลิปปินส์
๒๓. มาเลเซีย
ringgit
ริงกิต
๒๔. เม็กซิโก
new peso
เปโซเม็กซิโก
๒๕.  เมียนมา
kyat
จัต
๒๖.  เยอรมนี
mark
มาร์คเยอรมัน
๒๗.  รัสเซีย
ruble
รูเบิลรัสเซีย
๒๘.  ลาว
kip
กีบ
๒๙.  เวียดนาม
dong
ดอง
๓๐.  สเปน
peseta
เปเซตาสเปน
๓๑.  สวิตเซอร์แลนด์
franc
ฟรังก์สวิส
๓๒.  สวีเดน
krona
โครนา
๓๓.  สหรัฐอเมริกา
dollar
ดอลลาร์สหรัฐ
๓๔.  สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
dirham
ดีแรห์มสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์
๓๕.  สหราชอาณาจักร
pound
ปอนด์สเตอร์ลิง
๓๖.  สิงคโปร์
dollar
ดอลลาร์สิงคโปร์
๓๗.  ออสเตรเลีย
dollar
ดอลลาร์ออสเตรเลีย
๓๘.  ออสเตรีย
schilling
ชิลลิงออสเตรีย
๓๙.  อิตาลี
lira
ลีร์อิตาลี
๔๐.  อินเดีย
rupee
รูปีอินเดีย
๔๑.  อินโดนีเซีย
rupiah
รูเปีย
๔๒.  แอฟริกาใต้
rand
แรนด์สหภาพแอฟริกาใต้
๔๓.  ไอร์แลนด์
pound
ปอนด์ไอร์แลนด์
๔๔.  ฮ่องกง
dollar
ดอลลาร์ฮ่องกง
อนึ่ง ในปัจจุบัน ประเทศในสหภาพยุโรป (European Union) ได้ใช้เงินสกุลยูโร (euro) เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนแล้ว ก่อนนำไปใช้กรุณาตรวจสอบอีกครั้งหนึ่ง


2 条评论:

Niruttisapha. 说...

คำอธิบาย

.......... คนที่ โลกนี้ เปรียบ ไป ข้อมูล Guinness book ชนิดเรื่อง ที่ว่า บุคคลนั้น นั่น! “ตรวจพิสูจน์อักษรพระไตรปิฎก ได้รวดเร็ว และใช้เวลาน้อยที่สุด และมีความแม่นยำถูก ต้องมากที่สุด เท่าที่ปรากฏ มาในโลกแห่งการตรวจบันทึกข้อมูล พระไตรปิฎก”

สถิติที่ว่า อย่างกล่าวนี้ ทางกองกำลังหนังสือ หรือกองอนุศาสน์ราชการ ท่านพอจะมีตัวบท ตัวบุคคลตัวอย่าง ที่จะแสดงชื่อ ไปอย่าง รายบุคคล แบบ น่านิยม (ตามความเฉพาะ ตามสาขา พระไตรปิฎกภาษา?) แบบ หนังสือ Guinness ... ท่าน กล่าวนั้น ให้สร้างสถิต มี ได้ บ้างไหมครับ จึ่งขอฝากแฟน ๆ และผู้ใหญ่ที่เกี่ยวข้อง กับวงการพระไตรปิฎก ขอท่าน จงช่วยเรื่องนี้ด้วยครับ

เพื่อว่า ผู้คน ในส่วน ตรงที่เร่งเรียน รู้ และปฏิบัติการ ไปตามการปฏิธรรมสังเคราะห์ แห่งแหล่งข้อมูลฉะนั้น ท่านจะได้ขึ้นชั้น พัฒนาไป แด่แค่แต่ จะตรวจฉบับสยามรัฐ ไปดีที่สุด ไปให้ ได้แต่โดยเร็ว โดยที่ไม่ต้อง มัวรีรอ รู้สึก เสียดสี เกลียดชัง ดีหรือว่าร้าย ที่ให้ต่อต้านกันว่า นั่น! มักรู้ และพัฒนาขึ้นมาแบบ เพื่อ ที่จะ เรียนลัด! โดยการที่สร้างฐาน ในฐาน ที่จะทำไปโดยความมักง่าย

✍️🪪 .....

กำลัง! ความจริง ภาพอธิบาย โดยหนทาง นักคณิต AI จะโดยการยืนหลัก ในค่า ของสองกลุ่ม (ใน ๓) เท่านี้ ก็น่าเชื่อว่าเป็นไปได้แล้ว ที่จะพาศาสนา ให้ดำเนินไป เพราะแต่ปัญญาประดิษฐ์ ย่อมมิอาจเปลี่ยน ให้ตัวมันเองดำเนินออก นอกไปกว่า จากระบบ ระบอบปฏิทิน (IN)

แต่! ในทางประชาชน ฉะนั้น ย่อมกระเดียด สังคม ทางกลัว ทางเกรงอำนาจวาสนา จึ่งอีกเรื่อง และกลัวอิทธิพล ก็จึ่งอีกเรื่อง, ทั้งนั้น! แค่ว่า ถ้าตนถูกจดชื่อไปโดยเครื่องอะไรไม่รู้ ก็ต้องให้ปวดขมองเสียแล้ว ฉะนั้น ก็จงอย่าเพ่อได้คิดว่า ประชาชน ในโสดหนึ่ง (ที่เป็นประชาชนจริง ๆ) ท่านเหล่านั้น จะกล้าอ่านอะไร?

อย่างที่ เมื่อใดอ่านแล้ว ท่านจะเข้ารับมาเป็นธุระ ตามที่บททุกอย่างเป็นคำเปรียบ ที่วิเศษ ดั่งกะจะไม่ให้เหลือบ่ากว่าแรง ความเป็น ตามที่อยู่เลย, ลงแต่การบูชาก็ต้องเห็นว่าเป็นแบบอย่าง และเพราะ หนทางที่มืดฉะนั้น ยิ่งมนุษย์เราต้องบูชาด้วยแสงสว่าง

เรื่อง! จึ่งต้องถามว่า ใครมีห้องทำงาน หรือส่วนวิจัยทดลองบ้าง ที่ท่านอาจจะแจกจ่ายอุปกรณ์เพื่อการทดลองได้ ด้วย IP และ ID ที่จะเป็นส่วนกำหนดให้ ส่วนประมวลผล ตามบทชาติภาษา งานนั้น แจ่มชัด และกระชั้น แล้วชิดให้เห็น จุดมุ่งหมายที่เป็นเป้าหมาย

✍️🪪 .....

“เหตุผลที่แท้จริง ตามธรรม! ก็คือ ‘คน สัตว์ สิ่งของ’ ในมัคคสังสาระ จะต้องไปด้วยกันอย่างสอดประสาน เป็นกลจักร ด้วยกระแส หรือลัพธิ แห่งประเพณี ที่เป็นพากษ์ อันกลมเกลียว คือเป็นธรรม ที่จะต้องเร่งรู้ และเร่งเห็นให้ได้ว่า สิ่งที่จะต้อง ไม่ขาดไปจากการสอดผสานอันกลมกลืน กลมเกลียว ดุจธารกระแสแห่งธรรม ฉะนั้น

ท่านนักศึกษา ก็ควรที่จะต้องทราบดีว่า เมื่อเป็นคน (มหาสัตว์) จะทำอย่างไร? เมื่อเป็นดั่งพระโพธิสัตว์ (สัตว์ และปศุสัตว์) จะต้องทำดีอย่างไร แล้วว่า เป็นดั่งสิ่งของ (สรีรยนต์ เช่นพุทธรูปสถิต) จะต้องทำอย่างไร? ในการสอดประสานธารทาง แห่งอารยธรรม จรด ฉะนั้น ในสถาน สันถวะ แด่สันติสามัคคี ที่จะนำพากระบวนวิธีต่าง ๆ ที่ซึ่งควร ไปให้ถึง ต่อมนุษย์รุ่นสุดท้าย ซึ่งหากว่า สัตว์ปัญญาเลิศ เรา จะสรรแต่ความธำรงอยู่ ได้

ฉะนั้น จะพึงควร ให้เป็นไปได้ ตามธรรม กระทำดี ที่สมควร ทำต่อดีในการดำรง ด้วยการที่จะหลอมรวมไว้ให้ได้ ด้วยอากัปกิริยา และลัพธ์วิเศษ ด้วยคุณแห่งความเอื้อเฟื้อ และไม่คุกคาม ไปด้วยเหตุ และผล แห่งอาการ แห่งทางของพระคุณ ตามธรรมชาติ ที่ธรรมดา ย่อมมีแต่ความบริสุทธิ์ ซึ่งของ คน, สัตว์, และว่า แม้แค่เพียงสิ่งของ ซึ่งเป็นแต่หทัยวัตถุจิต ฉะนั้น ก็จะต้องหลอมรวม อยู่ด้วย เช่นเดียวกัน”

✍️🪪 .....

...... น่าที่จะเทียบ กับคำผิด ถูก ของฉบับไหน? เล่มไหน? กัน หรือว่า มนุษย์เราจะต้องเทียบแต่กับเจตนาของพระเจ้า นับแต่ว่า ซึ่งเพราะ พระธรรมจักรโดยพลกำลังของพระองค์ ผู้ทรงมีทัศนะบริสุทธิ์ คงยังมิได้ดำเนินอยู่ และดำรงอยู่เลย แต่ประการไร กระมัง ฉะนั้น

...... ศิลปกะ อักษรสาส์น เพื่อการพักผ่อนอย่างเป็นอิสระ และเพื่อเพ่ง พัฒนาจิตวิญญาณามัย เท่านี้ ไปจดถึงเท่านั้น จึ่งจะช่วยให้เหตุการณ์ ควรได้ แก่กำลังในทางที่จะดีขึ้นมาได้ ฉะนั้น ขอให้ ทุกคนทุกท่าน จงมาช่วยกันผลิตรูปอักษรสาส์นอริยกะ บ้างดั่งนี้ จึ่งเราจะได้เป็นไปตามกำลัง แห่งบทพระจักรธรรม แด่ผล! อันเป็นจักรผัน ที่สำเร็จ ของผลแผ่นดินของโลก แด่โลก นัปการ ที่ซึ่งยังต้องมีอวสาน

Niruttisabha. 说...

ความชำระ บทที่เสนอแล้ว รวมความ ว่า

ขนิดของคำ ความหมาย แต่เรื่อง “ตั้งศูนย์” อาจไม่ใช่แต่แค่เรื่องยานพาหนะ เพราะตั้งศูนย์การศึกษา งานวิจัย หรือตั้งศูนย์อำนวยการ ก็ใช่ เรื่อง ย่อมเกี่ยวกับการตั้งศูนย์ ทั้งนั้น เพราะฉะนั้นแล้วขอแนะนำว่า ไม่เฉพาะแต่รถ เพราะแต่ทางของคำ ไม่ใช่จะมีความหมาย ศัพท์ ลึกกว้าง หรือแคบ หรือสูง ไปเพียงแค่ไร หมดเท่านั้น เพราะการตั้งศูนย์ ในทางศูนย์กลางอำนาจ หรือศูนย์กลางการบริหาร หรือบริการ ก็ต้องตั้ง “จุด” ตั้งศูนย์ เหมือนกัน ซึ่งทำแต่เหตุ คือให้เป็นเครื่องบ่งชี้ หรือเครื่องนำทาง แบบนี้ โดยตลอดไป แล้ว

ประโยคตัวอย่างการใช้ ย่อมใช้ในการสถิตเพิ่ม ค่า แด่ในทาง หรือเหตุ ที่จะสร้าง ที่จะสถิตความ ที่ได้จรดไว้ ต่อเติม ตามแต่แรก ความสถาปนา ฉะนั้น ก่อน , ว่า เครื่อง หรือเรื่องอ้างอิง อันนี้ เช่นนี้ แล้ว มีแด่ธรรมพ้นประมาณ เมื่อ ทำดีไว้ได้ ว่า นี้ “ศูนย์ แต่ว่าไม่สูญ”