turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 20/297/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ย่อมคบเรา. เราเป็นผู้คงที่ก็หามิได้. แต่เป็นผู้คงที่ด้วยการเจริญเมตตาเป็นต้น
เพราะเหตุนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงปรารภเทศนานี้เพื่อแสดงเหตุแห่ง
ความเป็นผู้คงที่.
ในบทเหล่านั้นบทว่า ภาวยโต เจริญ คือ ยังอาทิผิด อุปจารภาวนาหรือ
อัปปนาภาวนาให้ถึง. บทว่า โย พยาปาโท พยาบาท คือ จักละความโกรธ
ในสัตว์ได้. บทว่า วิเหสา ความเบียดเบียน คือ เบียดเบียนสัตว์ทั้งหลาย
ด้วยฝ่ามือเป็นต้น. บทว่า อรติ ความไม่ยินดี คือ ความเป็นผู้เบื่อหน่าย
ในเสนาสนะเป็นสงัด และในธรรมเป็นอธิกุศล. บทว่า ปฏิโฆ ความขุ่นเคือง
คือ กิเลสเป็นเครื่องให้เดือดร้อนในทุก ๆ แห่ง. บทว่า อสุภํ ไม่งาม คือ
เจริญอุปจาระและอัปปนาในซากศพที่พองอืดเป็นต้น. บทว่า อุทฺธุมาตกา
ซากศพพองอืด อสุภภาวนานี้ท่านกล่าวไว้โดยพิสดารแล้วในวิสุทธิมรรค.
บทว่า ราโค ได้แก่ ราคะประกอบด้วยกามคุณ ๕. บทว่า อนิจฺจสญฺญํ
อนิจจสัญญาภาวนา คือ สัญญาอันเกิดพร้อมกับอนิจจานุปัสสนา หรือวิปัสสนา
นั่นแหละ. แม้ความไม่มีสัญญาท่านก็กล่าวว่า สัญญา ด้วยหัวข้อแห่งสัญญา.
บทว่า อสฺมิมาโนอาทิผิด อักขระ ถือว่าเรามีอยู่ คือ มีมานะว่า เรามีอยู่ในรูปเป็นต้น.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะยังปัญหาที่พระเถระถามให้พิสดารจึงกล่าวบท
มีอาทิว่า อานาปานสฺสติ ดังนี้. กรรมฐานนี้ กรรมฐานภาวนา และอรรถ
แห่งบาลี พร้อมด้วยอานิสงส์กถา ท่านกล่าวไว้พิสดารแล้วในอนุสสตินิเทศใน
วิสุทธิมรรคโดยอาการครบถ้วนทุกประการ. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบพระ
ธรรมเทศนานี้ด้วยสามารถแห่งบุคคลผู้พึงแนะนำนั่นแหละ ด้วยประการฉะนี้.
จบอรรถกถามหาราหุโลวาทสูตรที่ ๒
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/141/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถ้าอุปัชฌายะประสงค์จะเข้าเรือนไฟ พึงบดจุณ แช่ดิน ถือตั่งสำหรับ
เรือนไฟแล้วเดินตามหลังอุปัชฌายะไป ถวายตั่งอาทิผิด สำหรับเรือนไฟแล้ว รับจีวร
มาวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงถวายจุณถวายดิน.
ถ้าอุตสาหะอาทิผิด อักขระอยู่ พึงเข้าเรือนไฟ เมื่อเข้าอาทิผิด อักขระเรือนไฟพึงเอาดินทาหน้า ปิด
ทั้งข้างหน้าทั้งข้างหลัง แล้วเข้าเรือนไฟ ไม่พึงนั่งเบียดภิกษุผู้เถระ ไม่พึงห้าม
กันอาสนะภิกษุใหม่ พึงทำบริกรรม แก่อุปัชฌายะในเรือนไฟ.
เมื่อออกจากเรือนไฟ พึงถือตั่งอาทิผิด อักขระสำหรับเรือนไฟ แล้วปิดทั้งข้างหน้าอาทิผิด
ทั้งข้างอาทิผิด อักขระหลังออกจากเรือนไฟ.
พึงทำบริกรรมแก่อุปัชฌายะแม้ในน้ำ อาบเสร็จแล้ว พึงขึ้นมาก่อน
ทำตัวของตนให้แห้งน้ำ นุ่งผ้าแล้ว พึงเช็ดน้ำจากตัวของอุปัชฌายะ พึงถวาย
ผ้านุ่งพึงถวายผ้าสังฆาฏิ ถือตั่งสำหรับเรือนไฟมาก่อน แล้วปูอาสนะไว้ เตรียม
น้ำล้างเท้า ตั่งรองเท้า กระเบื้องเช็ดเท้าไว้ พึงถามอุปัชฌายะด้วยน้ำฉัน.
ถ้าประสงค์จะเรียนบาลี พึงขอให้อุปัชฌายะแสดงบาลีขึ้น.
ถ้าประสงค์จะสอบถามอรรถกถา พึงสอบถาม.
อุปัชฌายะอยู่ในวิหารแห่งใด ถ้าวิหารแห่งนั้นรก ถ้าอุตสาหะอยู่ พึง
ปัดกวาดเสีย เมื่อปัดกวาดวิหาร พึงขนบาตรจีวรออกก่อน แล้ววางไว้ ณ ที่
ควรส่วนข้างหนึ่ง พึงขนผ้าปูนั่ง และผ้าปูนอน ฟูกหมอนออกวางไว้ ณ ที่
ควรส่วนข้างหนึ่ง.
เตียงตั่ง สัทธิวิหาริกพึงยกต่ำ ๆ อย่าให้ครูดสี อย่าให้กระทบกระแทก
บานและกรอบประตู ขนออกให้เรียบร้อย แล้วตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
เขียงรองเตียง กระโถน พนักอิง พึงขนออกตั้งไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
เครื่องปูฟื้น พึงสังเกตที่ปูไว้เดิม แล้วขนออกวางไว้ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/40/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ไปในทิศทั้งหลายเพื่อแสดงธรรม ทรงถือบาตรและจีวรด้วยพระองค์เอง
แล้วเสด็จไปยังอุรุเวลาประเทศด้วยตั้งพระทัยว่า จักทรมานชฏิล ๓ พี่น้อง
ชายเหล่านั้น ทรงทำลายทิฏฐิของชฎิลเหล่านั้น ด้วยปาฏิหาริย์หลายร้อย
แล้วให้เขาเหล่านั้นบรรพชา พระองค์ทรงพาสมณะ ๑,๐๐๐ ผู้ทรงบาตรและ
จีวรอันสำเร็จด้วยฤทธิ์ ไปยังคยาสีสประเทศ อันสมณะเหล่านั้น แวดล้อม
แล้วประทับนั่ง พลางทรงพระดำริว่า ธรรมกถาอะไรหนอ จักเป็นที่สบาย
แก่ชนเหล่านี้ จึงตกลงพระทัยว่า ชนเหล่านี้บำเรอไฟทั้งเวลาเย็นและค่ำ
เราจักแสดงอายตนะ ๑๒ แก่พวกเขา ทำให้เป็นดุจไฟไหม้ลุกโชนอาทิผิด อักขระ
ชนเหล่านี้จักสามารถบรรลุพระอรหัตด้วยอาการอย่างนี้ ลำดับนั้น พระองค์
ได้ตรัสอาทิตตปริยายสูตรนี้ เพื่อแสดงธรรมแก่ชนเหล่านั้น โดยปาฏิหาริย์
หลายร้อย ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ภิกฺขู อามนฺเตสิ อธิบายว่า
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเลือกพระธรรมเทศนาอันเป็นสัปปายะ ของชน
(ชฎิล) เหล่านั้น จึงตรัสเรียก ด้วยหมายจะทรงแสดงอาทิตตปริยาย
สูตรนั้น.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อาทิตฺตํ แปลว่าอันไฟติดแล้ว ลุกโชน
แล้ว คำที่เหลือ มีนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล. ตรัสทุกขลักษณะไว้ในพระสูตรนี้
ด้วยประการฉะนี้.
จบ อรรถกถาอาทิตตปริยายสูตรที่ ๖
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 45/78/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมุทยสัจ มรรคสัจ ย่อมชัดตามที่กล่าวแล้วในคาถานั่นแล. สัจจะนอกนั้น
ยกออกไป. ในสูตรแม้อื่นจากนี้ก็มีนัยนี้.
จบอรรถกถาสูตรที่ ๑ แห่งการพรรณนาอิติวุตตกะ อรรถกถาขุททก-
นิกาย ชื่อปรมัตถทีปนี.
จบอรรถกถาโลภสูตรที่ ๑
๒. โทสสูตร
ว่าด้วยละโทสะได้เป็นพระอนาคามี
[๑๘๐] จริงอยู่ พระสูตรนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้ว พระสูตรนี้
พระผู้มีพระภาคเจ้าผู้เป็นพระอรหันต์ตรัสแล้ว เพราะเหตุนั้น ข้าพเจ้าได้สดับ
มาแล้วว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายละธรรมอย่างหนึ่งได้ เราเป็นผู้
รับรองเธอทั้งหลายเพื่อความเป็นพระอนาคามี ธรรมอย่างหนึ่งเป็นไฉน ดู-
ก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายละธรรมอย่างหนึ่ง คือโทสะได้ เราเป็นผู้
รับรองเธอทั้งหลายเพื่อความเป็นพระอนาคามี
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนั้น พระผู้มี-
พระภาคเจ้าตรัสคาถาอาทิผิด อักขระประพันธ์ดังนี้ว่า
ชนผู้เห็นแจ้งทั้งหลาย รู้ชัดด้วยดีซึ่ง
โทสะอันเป็นเหตุให้สัตว์ผู้ประทุษร้ายไปสู่
ทุคติ แล้วละได้ ครั้นละได้แล้วย่อมไม่มา
สู่โลกนี้อีกในกาลไหน ๆ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/7/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๑๖] สมัยต่อมา ภิกษุรูปหนึ่ง เป็นแผลที่หน้า เธอถามภิกษุ
ทั้งหลายว่า แผลของผมอาทิผิด เป็นเช่นไร ขอรับ ภิกษุทั้งหลายตอบอย่างนี้ว่า
แผลของคุณเป็นเช่นนี้ ขอรับ เธอไม่เชื่อ ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่
พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า...ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ดู
เงาหน้าที่แว่นหรือทำภาชนะนี้ได้ เพราะเหตุอาพาธ.
เรื่องพระฉัพพัคคีย์ทาหน้าเป็นต้น
[๑๗] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์ทาหน้า ถูหน้า ผัดหน้า เจิมหน้า
ด้วยมโนศิลา ย้อมตัว ย้อมหน้า ย้อมทั้งตัวและหน้า ชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน
โพนทะนาว่า. . . เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุทั้งหลาย. .. กราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า. . .ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงทาหน้า
ไม่พึงถูหน้า ไม่พึงผัดหน้า ไม่พึงเจิมหน้าด้วยมโนศิลา ไม่พึงย้อมตัว ไม่
พึงย้อมหน้า ไม่พึงย้อมอาทิผิด อักขระทั้งตัวและหน้า รูปใดทำ ต้องอาบัติทุกกฏ.
[๑๘] สมัยต่อมา ภิกษุรูปหนึ่งอาพาธด้วยโรคนัยน์ตา ภิกษุทั้งหลาย
กราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า. .. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้
ทาหน้าได้ เพราะเหตุอาพาธ.
[๑๙] สมัยต่อมา ที่พระนครราชคฤห์ มีงานมหรสพบนยอดเขา
พระฉัพพัคคีย์ได้ไปเที่ยวดูงานมหรสพ ชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า
ไฉนพระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตร จึงได้ไปดูการฟ้อนรำ การขับร้อง และ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/267/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะไม่พ้นไปจากวัฏฏามิสและโลกามิสอาทิผิด สระ ชื่อว่า นิรามิส (ไม่มีเครื่อง
ล่อ) เพราะตรงกันข้ามกับ สามิส. สิ่งใดเป็นสามิส สิ่งนั้นเป็น
เพียงสังขารเท่านั้น. ชื่อว่า นิพพาน เพราะสงบจากสิ่งตรงกันข้าม
กับสังขาร. เพราะสังขารเป็นของร้อน นิพพานเป็นของสงบ. พึง
ทราบว่าท่านกล่าวไว้อย่างนั้นหมายถึงความเป็นไปโดยอาการนั้น ๆ อย่าง
นี้ว่า โดยอาการที่เป็นทุกข์ โดยอาการที่เป็นภัย โดยอาการที่เป็นสามิส
โดยอาการที่เป็นสังขาร ด้วยประการฉะนี้.
จบ อรรถกถาปฐมภาณวาร
ทุติยภาณวาร
[๓๐] สภาพแห่งธรรมที่ควรกำหนดถือเอา สภาพแห่งธรรม
ที่เป็นบริวาร สภาพอาทิผิด อักขระแห่งธรรมที่เต็มรอบ สภาพแห่งสมาธิที่มีอารมณ์
อย่างเดียว สภาพอาทิผิด อักขระแห่งสมาธิไม่มีความฟุ้งซ่าน สภาพอาทิผิด อักขระแห่งธรรมที่ประ-
คองไว้ สภาพอาทิผิด อักขระแห่งธรรมที่ไม่กระจายไป สภาพแห่งจิตไม่ขุ่นมัว สภาพ
แห่งจิตไม่หวั่นไหว สภาพอาทิผิด อักขระแห่งจิตตั้งอยู่ด้วยสามารถแห่งความปรากฏ
แห่งจิตมีอารมณ์อย่างเดียว สภาพแห่งธรรมเป็นอารมณ์ สภาพแห่ง
ธรรมเป็นโคจร สภาพแห่งธรรมที่ละ สภาพแห่งธรรมที่สละ สภาพ
แห่งธรรมที่ออก สภาพแห่งธรรมที่หลีกไป สภาพแห่งธรรมที่ละเอียด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/271/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๘๑] อาสวะทั้งหลาย ย่อมไม่เจริญแก่บุคคล ๒ จำพวก
เหล่าไหน ?
ผู้ที่ไม่ประพฤติรังเกียจ สิ่งที่ไม่ควรรังเกียจ ๑. ผู้ที่ประพฤติรังเกียจ
สิ่งที่ควรรังเกียจ ๑.
อาสวะทั้งหลาย ย่อมไม่เจริญ แก่บุคคล ๒ จำพวก เหล่านี้.
[๘๒] ๑. หีนาธิมุตตบุคคล บุคคลผู้มีอัธยาศัยเลว เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้ทุศีล มีธรรมอันลามก เขาย่อมเสพ ย่อม
คบ ย่อมเข้าไปนั่งใกล้บุคคลผู้ทุศีล ผู้มีธรรมอันลามก นี้เรียกว่า บุคคลผู้
มีอัธยาศัยเลว.
๒. ปณีตาธิมุตตบุคคล บุคคลผู้มีอัธยาศัยประณีต
เป็นไฉน ?
บุคคลบางคนในโลกนี้เป็นผู้มีศีล มีธรรมอันงาม เขาย่อมเสพย่อมคบ
ย่อมเข้าไปนั่งใกล้ผู้มีศีล ผู้มีธรรมอันงาม นี้เรียกว่า บุคคลผู้มีอัธยาศัย
ประณีต.
[๘๓] ติตตบุคคล บุคคลผู้อิ่มแล้ว เป็นไฉน ?
พระอาทิผิด สระปัจเจกพุทธเจ้า และพระสาวกทั้งหลายของพระตถาคตเจ้าผู้เป็น
พระอรหันต์ชื่อว่า ผู้อิ่มแล้ว ๑. สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ชื่อว่า ผู้อิ่ม
แล้วด้วย ยังผู้อื่นให้อิ่มแล้วด้วย ๑.
จบบุคคล ๒ จำพวก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/246/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เถรวรรคที่ ๔
๑. อานันทสูตร
ว่าด้วยปัจจัยให้มีและไม่ให้มีตัณหามานะทิฏฐิ
[๑๙๓] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้ :-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี. ณ ที่นั้นแล ท่าน
พระอานนทเถระเรียกภิกษุทั้งหลายมาแล้วกล่าวว่า ดูก่อนอาวุโส
ทั้งหลาย. ภิกษุเหล่านั้นรับคำท่านพระอานนท์แล้ว. ท่านพระอานนท์
จึงได้กล่าวว่า ดูก่อนอาวุโสทั้งหลาย ท่านพระปุณณมันตานีบุตรมี
อุปการะมากแก่พวกเราเหล่าภิกษุใหม่ ท่านกล่าวสอนพวกเราด้วย
โอวาทอย่างนี้ว่า ดูก่อนท่านอานนท์ เพราะถือมั่น จึงมีตัณหา มานะ
ทิฏฐิว่า เป็นเรา เพราะไม่ถือมั่น จึงไม่มีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า เป็นเรา
เพราะถือมั่นอะไร จึงมีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า เป็นเรา เพราะไม่ถือมั่น
อะไร จึงไม่มีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า เป็นเรา เพราะถือมั่นรูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ จึงมีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า เป็นเรา เพราะ
ไม่ถือมั่นรูป เวทนาอาทิผิด อาณัติกะ สัญญา สังขาร วิญญาณ จึงไม่มีตัณหา มานะ
ทิฏฐิว่า เป็นเรา ดูก่อนท่านอานนท์ เปรียบเหมือนสตรีหรือบุรุษรุ่น
หนุ่มรุ่นสาว มีนิสัยชอบแต่งตัว ส่องดูเงาหน้าของตนที่กระจก หรือ
ที่ภาชนะน้ำอันใสบริสุทธิ์ผุดผ่อง เพราะยึดถือจึงเห็น เพราะไม่ยึดถือ
จึงไม่เห็น ฉันใด ดูก่อนท่านอานนท์ เพราะถือมั่นรูป เวทนา สัญญา
สังขาร วิญญาณ จึงมีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า เป็นเรา เพราะไม่ถือมั่น
รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ จึงไม่มีตัณหา มานะ ทิฏฐิว่า
เป็นเรา ฉันนั้นเหมือนกันแล ดูก่อนท่านอานนท์ ท่านจะสำคัญความ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/241/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปลื้มใจ ชื่อว่า รัตนะ เพราะอรรถว่าเป็นเครื่องบริโภคของสัตว์ผู้ไม่ต่ำทราม
ไซร้ พระตถาคตเท่านั้น ชื่อว่ารัตนะ. จริงอยู่ พระตถาคต มิใช่เป็นเครื่อง
บริโภคแม้ด้วยความฝันของครูทั้ง ๖ มีบูรณกัสสปเป็นต้น ซึ่งสมมติกันว่าเป็น
สัตว์ต่ำทราม ผู้ไม่ถึงพร้อมด้วยอุปนิสสัย มีทัสสนะอาทิผิด สระอันวิปริต และของสัตว์
เหล่าอื่นเห็นปานนั้น แต่เป็นเครื่องบริโภค ของเหล่าท่านผู้ถึงพร้อมด้วย
อุปนิสสัยผู้สามารถบรรลุพระอรหัต เมื่อจบคาถาแม้ ๔ บท ผู้มีญาณทัสสนะ
ทำลายกิเลส มีท่านพระพาหิยทารุจีริยะเป็นต้น และของพระมหาสาวกทั้งหลาย
อื่นๆ ผู้เป็นบุตรของตระกูลใหญ่ จริงอยู่ เหล่าสัตว์ผู้ไม่ต่ำทรามเหล่านั้น
เมื่อยังทัสสนาอาทิผิด อักขระนุตตริยะ สวนานุตตริยะ และปาริจริยานุตตริยะเป็นต้น ให้สำเร็จ
ชื่อว่าบริโภคใช้สอยพระตถาคต. รัตนะที่เสมอด้วยพระตถาคต แม้เพราะอรรถ
ว่าเป็นเครื่องบริโภคของสัตว์ผู้ไม่ต่ำทรามไม่มีเลย ด้วยประการฉะนี้.
ทรัพย์เครื่องปลื้มใจแม้นั้นใด โดยไม่วิเศษชื่อว่ารัตนะ เพราะอรรถ
ว่า ให้เกิดความยินดี ทรัพย์เครื่องปลื้มใจนั้น คืออะไร คือจักรรัตนะของ
พระเจ้าจักรพรรดิ. จริงอยู่ พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงเห็นจักรรัตนะแม้นั้นแล้ว
ก็ทรงดีพระราชหฤทัย จักรรัตนะนั้น นำความยินดีมาให้แก่พระราชา แม้
ด้วยประการฉะนี้.
อีกอย่างหนึ่ง พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงจับพระสุวรรณภิงคารด้วย
พระหัตถ์ซ้าย ทรงประพรมด้วยพระหัตถ์ขวา มีพระราชโองการว่า จักรรัตนะ
จงดำเนินไป จักรรัตนะ จงมีชัยชนะ. แต่นั้น จักรรัตนะก็เปล่งเสียงไพเราะ
ดังดนตรีเครื่อง ๕ เหาะไปทิศบูรพา. พระเจ้าจักรพรรดิ ทรงยกจตุรงคเสนา
แผ่กว้างประมาณ ๑๒ โยชน์ติดตามไป ด้วยอานุภาพของจักรรัตนะ ไม่สูงนัก
ไม่ต่ำนัก ภาคพื้นดินอย่างต่ำแค่ต้นไม้สูง อย่างสูงแค่ต้นไม้ต่ำ ทรงรับเครื่อง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 43/251/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ด้วยสามารถแห่งอาการแห่งกิเลสทั้งหลายมีราคะเป็นต้น อันเป็นเหตุ
ปรารถนา, ชื่อว่า (เที่ยวไป) ตามอารมณ์เป็นที่ใคร่ ด้วยสามารถแห่ง
อารมณ์เป็นที่เกิดความใคร่แห่งจิตนั้นนั่นแหละ, ชื่อว่าตามความสบาย
เพราะเมื่อมันเที่ยวด้วยอาการใด ความสุขจึงมี ก็เที่ยวไปด้วยอาการนั้น
นั่นแหละ, วันนี้ เราจักข่มจิตด้วยโยนิโสมนสิการ คือจักไม่ยอมให้มัน
ก้าวล่วงได้ เหมือนบุรุษผู้กุมขอไว้ (ในมือ) ผู้ฉลาด คือนายหัตถาจารย์
ข่มช้างซับมัน คือตกมันไว้ด้วยขอฉะนั้น.
ในกาลจบเทศนา ธรรมาภิสมัยได้มีแก่เทวดาเป็นอันมาก ผู้เข้าไป
เพื่อสดับธรรมพร้อมกับพระสานุ. ก็ท่านผู้มีอายุนั้น เรียนพระพุทธวจนะอาทิผิด อักขระ
คือพระไตรปิฎกแล้ว ได้เป็นพระธรรมกถึกที่เชี่ยวชาญ ดำรง (ชีพ) อยู่
ตลอด ๑๒๐ ปี ยังชมพูทวีปทั้งสิ้นให้กระฉ่อนแล้วปรินิพพาน ดังนี้แล.
เรื่องสานุสามเณร จบ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/252/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดังได้สดับมา ในวันที่ ๑๔ พระนางรุจาราชธิดา ทรงผ้าสีต่าง ๆ แวด
ล้อมไปด้วยหมู่กุมารี ๕๐๐ พาหมู่พระพี่เลี้ยงนางนม ลงจากปราสาท ๗ ชั้น
ด้วยสิริวิลาสอันใหญ่ยิ่ง เสด็จไปยังจันทกปราสาท เพื่อเฝ้าพระชนกนาถ.
ลำดับนั้น พระเจ้าวิเทหราช ทอดพระเนตรเห็นพระธิดา ทรงมีพระทัยยินดี
ชื่นบาน ให้จัดมหาสักการะอาทิผิด อักขระต้อนรับ เมื่อจะส่งกลับ จึงได้พระราชทานทรัพย์
๑,๐๐๐ แล้วส่งไปด้วย ตรัสว่า นี่ลูก เจ้าจงให้ทาน พระนางรุจานั้นเสด็จ
กลับไปยังนิเวศน์ของตนแล้ว วันรุ่งขึ้นจึงทรงรักษาอุโบสถศีล ทรงให้ทาน
แก่คนกำพร้าคนเดินทางไกล ยาจกและวนิพกเป็นอันมาก.
ได้ยินว่า ชนบทหนึ่ง พระเจ้าวิเทหราช ได้พระราชทานแก่พระธิดา
พระนางรุจาได้ทรงกระทำกิจทั้งปวง ด้วยรายได้จากชนบทนั้น ก็ในกาลนั้น
เกิดลือกันขึ้นทั่วพระนครว่า พระราชาทรงอาศัยคุณาชีวก จึงทรงถือมิจฉา
ทิฏฐิ. พวกพระพี่เลี้ยงนางนม ได้ยินเขาลือกันดังนั้น จึงมาทูลพระนางรุจาว่า
ข้าแต่พระแม่เจ้า เขาลือกันว่า พระชนกของพระองค์ ทรงสดับถ้อยคำของ
อาชีวกแล้วทรงถือมิจฉาทิฏฐิ และได้ยินว่า พระราชานั้น ตรัสสั่งให้รื้อโรงทาน
ที่ประตูเมืองทั้ง ๔ และทรงข่มขืนหญิงและเด็กหญิงที่ผู้อื่นหวงห้าม มิได้ทรง
พิจารณาถึงพระราชกรณียกิจเลย ทรงมัวเมาอยู่แต่ในกามคุณ. พระนางรุจานั้น
ได้ทรงสดับคำของพระพี่เลี้ยงนางนมเหล่านั้น ก็ทรงสลดพระหฤทัย จึงทรง
พระดำริว่า เพราะเหตุอะไรหนอ พระชนกของเราจึงเสด็จเข้าถามปัญหากะ
คุณาชีวก ผู้ปราศจากคุณธรรม ไม่มีความละอาย ผู้เปลือยกายเช่นนั้น สมณ-
พราหมณ์ผู้มีธรรมเป็นกรรมวาที ควรที่จะเข้าไปถามมีอยู่มิใช่หรือ แต่เว้น
เราเสียแล้ว คนที่จะปลดเปลื้องมิจฉาทิฏฐิพระชนกของเรา ให้กลับตั้งอยู่ใน
สัมมาทิฏฐิอีก คงจะไม่มีใครสามารถ ก็เราระลึกถึงชาติได้ถึง ๑๔ ชาติ คือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/42/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นาง. ดีแล้วจ้ะพี่ท่าน แต่ขอให้พี่ท่านจงทำความประสงค์ของ
น้องอย่างหนึ่งให้บริบูรณ์ทีเถิด ขอพี่ท่านให้น้องได้สวมกอดพี่ทั้งด้านหน้า
และด้านหลังโดยทำนองที่แต่งตัวอยู่อย่างนี้นี่แหละ.
โจรก็รับปากว่า ได้สิจ๊ะ.
นางทราบว่า โจรรับปากแล้วก็สวมกอดข้างหน้าแล้วก็ทำเป็นที่สวม
กอดข้างหลัง จึงผลักเขาตกเหวไป. เขาเมื่อตกลงไปก็แหลกละเอียดไปใน
อากาศนั่นแหละ.
เทวดาผู้สิงสถิตอยู่ที่ภูเขา เห็นความที่นางทำให้โจรแหลกอาทิผิด สระละเอียด
ไป จึงได้กล่าวคาถาด้วยประสงค์จะสรรเสริญ มีดังนี้ว่า
น โส สพฺเพสุ ฐาเนสุ ปุริโส โหติ ปณฺฑิโต
อิตฺถี จ ปณฺฑิตา โหติ ตติถ ตตฺถ วิจกฺขณา
น โส สพฺเพสุ ฐาเนสุ ปุริโส โหติ ปณฺฑิโต
อิตฺถี จ ปณฺฑิตา โหติ มุหุตฺตมปิ จินฺตเย
ผู้ชายนั้นมิใช่จะเป็นบัณฑิตไปเสียในที่ทุกสถาน
แต่ผู้หญิงผู้มีวิจารณญาณในที่นั้นๆ ก็เป็นบัณฑิตได้
ผู้ชายนั้นนะมิใช่จะเป็นบัณฑิตไปเสียในที่ทุกสถาน
แต่ผู้หญิงคิดอ่านแม้ครู่เดียว ก็เป็นบัณฑิตได้.
ลำดับนั้น นางภัททาจึงคิดว่า เราไม่สามารถจะกลับไปบ้านโดย
ทำนองนี้ได้ เราไปจากที่นี้แล้วจักบวชสักอย่างหนึ่ง จึงได้ไปยังอาราม
ของพวกนิครนถ์ขอบรรพชากะพวกนิครนถ์. ทีนั้นพวกนิครนถ์เหล่านั้น
กล่าวกะนางว่า จะบวชโดยทำนองไหน.
สิ่งใดเป็นของสูงสุดในบรรพชาของท่าน ขอท่านจงกระทำอาทิผิด สระสิ่งนั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 86/266/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็น
ปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒
เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ ฯลฯ มหาภูตรูป เป็นปัจจัย
แก่จิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นอุปาทารูป ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
พาหิรรูป...อาหารสมุฏฐานรูป...อุตุสมุฏฐานรูป ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นรูป เสียง กลิ่น รส
โผฏฐัพพะที่เกิดก่อน ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม โดยความเป็นของไม่
เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภรูป
เป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.
เห็นรูปที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรมด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพ
โสตธาตุ.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่อนุปาทินนุปาทานิยธรรมที่เกิด
ภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ซึ่งเกิดก่อน ด้วย
อำนาจของอัตถิปัจจัย.
ที่เป็น อาหาระ ได้แก่กวฬีการาหารอาทิผิด สระ ที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิย-
ธรรม เป็นปัจจัยแก่กายที่เป็นอนุปาทินนุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิ
ปัจจัย.
[๑๖๑๑] ๖. อนุปาทินนุปาทานิยธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปาทิน-
นุปาทานิยธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/310/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๓๙๙] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ ควรทำ
หน้าที่ทูต องค์ ๘ เป็นไฉน คือ:-
๑. สารีบุตรเป็นผู้รับฟัง
๒. ให้ผู้อื่นฟัง
๓. กำหนด
๔. ทรงจำ
๕. เข้าใจความ
๖. ให้ผู้อื่นเข้าใจความ
๗. ฉลาดต่อประโยชน์และมิใช่ประโยชน์
๘. ไม่ก่อความทะเลาะ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สารีบุตรผู้ประกอบด้วยองค์ ๘ นี้แล ควรทำ
หน้าที่ทูต.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสประพันธคาถา ว่าดังนี้ :-
[๔๐๐] ภิกษุใด เข้าไปสู่บริษัทที่พูด
คำหยาบก็ไม่สะทกสะท้าน ไม่ยังคำพูดให้
เสีย ไม่ปกปิดข่าวสาส์นพูดจนหมดความ
สงสัย และถูกอาทิผิด อักขระถามก็ไม่โกรธ ภิกษุผู้เช่นนั้น
แล ย่อมควรทำหน้าที่ทูต.
พระเทวทัตจักเกิดในอบาย
[๔๐๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เทวทัตมีจิตอันอสัทธรรม ๘ ประการ
ครอบงำ ย่ำยีแล้ว จักเกิดในอบาย ตกนรกชั่วกัปช่วยเหลือไม่ได้ อสัทธรรม
๘ ประการ เป็นไฉน คือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/321/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ผู้ทำลายสงฆ์ต้องเกิดในอบาย
[๔๑๑] ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า มีหรือ พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุผู้
ทำลายสงฆ์ต้องเกิดในอบาย ตกนรก อยู่ชั่วกัป ช่วยเหลือไม่ได้
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า มี อุบาลี ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์ ต้องเกิดใน
อบาย ตกนรก อยู่ชั่วกัป ช่วยเหลือไม่ได้
อุ. และมีหรือ พระพุทธเจ้าข้า ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์ ไม่ต้องเกิดใน
อบาย ไม่ตกนรก ไม่ตั้งอยู่ชั่วกัป พอช่วยเหลือได้
พ. มี อุบาลี ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์ ไม่ต้องเกิดในอบาย ไม่ตกนรก
ไม่ตั้งอยู่ชั่วกัป พอช่วยเหลือได้
อุ. พระพุทธเจ้าข้า ก็ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์ ต้องเกิดในอบาย ตกนรก
อยู่ชั่วกัป ช่วยเหลือไม่ได้ เป็นไฉน
พ. ดูก่อนอุบาลี ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อมแสดงอธรรมว่า เป็นธรรม
มีความเห็นในธรรมนั้นว่าเป็นอธรรม มีความเห็นในความแตกกันว่าเป็นอธรรม
อำพรางความเห็น อำพรางความถูกใจ อำพรางความชอบใจ อำพรางความ
จริง ย่อมประกาศให้จับสลากว่า นี้ธรรม นี้วินัย นี้สัตถุศาสน์ ท่านทั้งหลาย
จงจับสลากนี้ จงชอบใจสลากนี้
ดูก่อนอุบาลี ภิกษุผู้ทำลายสงฆ์แม้นี้แล ต้องเกิดในอบาย ตกนรก
อยู่ชั่วกัป ช่วยเหลือไม่ได้
อนึ่ง อุบาลีอาทิผิด สระ ภิกษุย่อมแสดงอธรรมว่า เป็นธรรม มีความเห็นในธรรม
นั้นว่าเป็นอธรรม มีความเห็นในความแตกกันว่าเป็นธรรม อำพรางความเห็น
อำพรางความถูกใจ อำพรางความชอบใจ อำพรางความจริง ย่อมประกาศให้
จับสลากว่า นี้ธรรม นี้วินัย นี้สัตถุศาสน์ ท่านทั้งหลายจงจับสลากนี้ จงชอบ
ใจสลากนี้
พระปิฎกธรรม