turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/186/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะสหชาตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯ ล ฯ.
เพราะอัญญมัญญปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯ ล ฯ.
เพราะนิสสยปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ฯ ล ฯ.
เพราะอุปนิสสยปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯ ล ฯ.
เพราะปุเรชาตปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ ฯ ล ฯ.
[๘๔] เพราะอาสเสวนปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ...ในอารัมมณ-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอนันตรปัจจัยอาทิผิด อักขระ
มี ๓ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๓
วาระ ในอัญญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ ในนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ
ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ วาระ ในปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
กัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาหารปัจจัย มี ๓ วาระ ในอินทริยปัจจัย
มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ ในมัคคปัจจัย มี ๓ วาระ
ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ ในวิคตปัจจัย
มี ๓ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
ใน อาเสวนมูลกนัย ไม่มีวิปากปัจจัย.
เพราะกัมมปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ.
[๘๕] เพราะวิปากปัจจัย ในเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ...ในอารัมมณ-
ปัจจัย มี ๑ วาระ ในอธิปติปัจจัย มี ๑ วาระ ในอนันตรปัจจัย
มี ๑ วาระ ในสมนันตรปัจจัย มี ๑ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๑
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/204/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ขึ้น. ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น, หทยวัตถุ อาศัย
ขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น, ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุเกิดขึ้น.
มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น, มหาภูตรูป ๑ อาศัย
มหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น, มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น, จิตต-
สมุฏฐานรูป และกฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย-
เกิดขึ้น.
พาหิรรูป อาหารสมุฏฐานรูป อุตุสมุฏฐานรูป ฯ ล ฯ...
สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น,
มหาภูตรูป ๑ อาศัยอาทิผิด อักขระมหาภูตรูป ๓ เกิดขึ้น, มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูต
รูป ๒ เกิดขึ้น, กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทารูป อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย
เกิดขึ้น.
[๘๘] ๑. อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะน-
อารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยกุศลขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น
๒. อัพยากตธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะน-
อารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์เกิดขึ้น.
๓. อัพยากตธรรม อาศัยอัพยากตธรรมเกิดขึ้น เพราะ
นอารัมมณปัจจัย
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัพยากตวิบากและ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/192/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วโนทยานนั้น ท่านจึงเรียกว่า ทางโค้ง. ในสาลวันของเจ้ามัลละอันเป็นทาง
โค้งนั้น. บทว่า อนฺตเรน ยมกสาลานํ ความว่า ในระหว่างแห่งต้นสาละ
ที่ยืนต้นเกี่ยวกันและกัน ทางรากลำต้นค่าคบและใบ. บทว่า อปฺปมาเทน
สมฺปาเทถ ความว่า ท่านทั้งหลายจงยังกิจทั้งปวงให้สำเร็จด้วยความไม่อยู่
ปราศจากสติ. ดังนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบรรทมเหนือพระแท่นปรินิพพานอาทิผิด อักขระ
จึงทรงใส่พระโอวาททั้งหมดที่ทรงประทานมา ๔๕ พรรษาลงในบทอัปปมาท-
ธรรมบทเดียวเท่านั้น เหมือนอย่างกุฏุมพีผู้มีทรัพย์มาก ผู้นอนบนเตียงเป็นที่
ตาย พึงบอกทรัพย์อันเป็นสาระแก่บุตรทั้งหลาย ฉะนั้น. ก็คำว่า อยํ
ตถาคตสฺส ปจฺฉิมวาจา นี้ เป็นคำของพระสังคีติกาจารย์.
เบื้องหน้าแต่นี้ เพื่อจะแสดงถึงบริกรรมแห่งปรินิพพานที่พระผู้มี
พระภาคเจ้าทรงทำแล้วปรินิพพาน พระสังคีติกาจารย์จึงกล่าวว่า อถโข ภควา
ปฐมฺฌานํ ดังนี้เป็นต้น. เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธ
สมาบัติ ในที่นั้น เทพดาและมนุษย์เห็นความไม่เป็นไปของลมอัสสาสปัสสาสะ
จึงได้ร้องขึ้นพร้อมกันด้วยเข้าใจว่า พระศาสดาปรินิพพานเสียแล้ว. ฝ่ายพระ
อานนทเถระ ถามพระอนุรุทธเถระว่า ท่านอนุรุทธะเจ้าข้า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ปรินิพพานแล้วหรือหนอ. พระอนุรุทธเถระ ตอบว่า อาวุโส อานนท์
พระตถาคตยังไม่ปรินิพพาน แต่พระองค์ทรงเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ.
ถามว่า ท่านพระอนุรุทธะอาทิผิด อักขระ รู้ได้อย่างไร. ตอบว่า เล่ากันมาว่า พระเถระเข้า
สมาบัตินั้น ๆ พร้อมกับพระศาสดาทีอาทิผิด อาณัติกะเดียว ไปจนถึงออกจากเนวสัญญานา-
สัญญายตนสมาบัติ ได้รู้ว่า บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเข้านิโรธสมาบัติ
และชื่อว่า การทำกาละภายในนิโรธสมาบัติ ย่อมไม่มี.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงเข้าปฐมฌานในฐานะ ๒๔ ในคำนี้ว่า ครั้ง
นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธสมาบัติ แล้วเข้า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 25/206/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๓. อสุรินทกสูตร
ว่าด้วยอสุรินทกพราหมณ์ด่าพระพุทธเจ้า
[๖๓๕] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระวิหารเวฬุวัน
อันเป็นที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต กรุงราชคฤห์.
อสุรินทกภารทวาชพราหมณ์ได้สดับมาว่า ได้ยินว่า พราหมณภาร-
ทวาชโคตร ออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิตในสำนักของพระสมณโคดม โกรธ
ขัดใจ เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นแล้วก็ ด่า บริภาษ
พระผู้มีพระภาคเจ้าด้วยวาจาอันหยาบคาย มิใช่ของสัตบุรุษ.
เมื่ออสุรินทกภารทวาชพราหมณ์กล่าวอย่างนี้แล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ทรงนิ่งเสีย.
ลำดับนั้นแล อสุรินทกภารทวาชพราหมณ์ได้กล่าวกะพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าว่า พระสมณะ เราชนะท่านแล้ว พระสมณะ เราชนะท่านแล้ว.
[๖๓๖] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
ชนพาลกล่าวคำหยาบด้วยวาจา ย่อม
สำคัญว่าชนะทีเดียว แต่ความอดกลั้นได้
เป็นความชนะของบัณฑิตผู้รู้แจ้งอยู่ ผู้ใด
โกรธตอบบุคคลผู้โกรธแล้ว ผู้นั้นเป็นผู้
ลามกกว่าบุคคลผู้โกรธแล้ว เพราะการ
โกรธตอบนั้น บุคคลไม่โกรธตอบบุคคล
ผู้โกรธแล้ว ย่อมชื่อว่าชนะสงครามอาทิผิด อักขระอัน
บุคคลชนะได้โดยยาก ผู้ใดรู้ว่า ผู้อื่น
โกรธแล้ว เป็นผู้มีสติสงบอยู่ได้ ผู้นั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/201/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก่อน อธิบายว่า เมื่อบรรลุไม่ได้ ก็จะบรรลุในมรณกาล บทว่า อถ
มรณกาเล ได้แก่ ย่อมอาทิผิด อาณัติกะบรรลุอรหัตผลในเวลาใกล้จะตาย
บทว่า อนฺตราปรินิพฺพายี ความว่า อันตราปรินิพพายีใด อายุ
ยังไม่ถึงกลางคน ปรินิพพานเสียก่อนอาทิผิด อาณัติกะ อันตราปรินิพพายีนั้นอาทิผิด อักขระ มีสามอย่าง คือ
ผู้หนึ่งเกิดในชั้นอวิหามีอายุพันกัป จะบรรลุพระอรหัตผล ครั้งแรกในวันที่ตน
เกิดนั่นเอง. ถ้าไม่บรรลุในวันที่ตนเกิด ก็จะบรรลุในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะร้อยกัปต้น
นี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่หนึ่ง อีกหนึ่ง เมื่อไม่อาจอย่างนี้ จะบรรลุในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะ
สองร้อยกัปนี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่สอง อีกหนึ่ง เมื่อไม่อาทิผิด อาณัติกะอาจอย่างนี้ จะบรรลุ
ในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะสี่ร้อยกัป นี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่สาม ก็พ้นร้อยกัปที่ห้าบรรลุ
อรหัตผลชื่อว่าอปหัจจปรินิพพายี แม้ในชั้นอตัปปา ก็มีนัยนี้เหมือนกัน
ก็เขาเกิดในที่แห่งใดแห่งหนึ่ง บรรลุอรหัตผลแล้ว ด้วยการประกอบร่วมกันมี
ปัจจัยปรุงแต่ง ชื่อว่า สสังขารปรินิพพายี. บรรลุอรหัตผลแล้ว ด้วยการ
ไม่ประกอบทั้งไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขารปรินิพพายี. ผู้เกิดแม้ใน
ชั้นอวิหาเป็นต้น ดำรงอยู่ในชั้นนั้นตลอดอายุแล้ว เกิดในชั้นสูง ๆ ขึ้นไป
ถึงอกนิฏฐพรหม ชื่อว่า อุทธังโสโตอกนิฏอาทิผิด อักขระฐคามี.
ส่วนอนาคามี ๔๘ ควรกล่าวไว้ในที่นี้ด้วย ก็ในชั้นอวิหา อันตรา-
ปรินิพพายีมีสาม อุปหัจจปรินิพพายีมีหนึ่ง อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีมีหนึ่ง
รวมเป็น ๕ อสังขารปรินิพพายีเหล่านั้น ๕ สสังขารปรินิพพายี ๕ รวมเป็น ๑๐.
ในชั้นอตัปปาเป็นต้นก็อย่างนั้น ส่วนในชั้นอกนิฏฐพรหม ไม่มีอุทธังโสโต.
เพราะฉะนั้น ในชั้นอกนิฏฐพรหมนั้น มีสสังขารปรินิพพายี ๔ มีอสังขาร
ปรินิพพายี ๔ รวมเป็น ๘ รวมอนาคามีได้ ๔๘ ด้วยประการฉะนี้ บรรดา
อนาคามีเหล่านั้น อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีย่อมเป็นผู้ใหญ่กว่าเขาทั้งหมด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/198/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทัณฑทายกเถราปทานที่ ๖ (๕๒๖)
ว่าด้วยผลแห่งการถวายไม้เท้า
[๑๑๖] ครั้งนั้น เราเข้าไปยังป่าใหญ่
ตัดอาทิผิด อักขระเอาไม้ไผ่มาทำเป็นไม้เท้า ถวายแด่พระสงฆ์
เรากราบไหว้ท่านผู้มีวัตรอันงามด้วยจิต
เลื่อมใสนั้น ถวายไม้เท้าแล้วเดินบ่ายหน้าไปทาง
ทิศอุดร
ในกัปที่ ๙๔ แต่กัปนี้ เราได้ถวายไม้เท้า
ใดในกาลนั้น ด้วยการถวายไม้เท้านั้น เราไม่
รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผลแห่งการถวายไม้เท้า
เราเผากิเลสทั้งหลายแล้ว...คำสอนของ
พระพุทธเจ้าเราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระทัณฑทายกเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วย
ประการฉะนี้แล.
จบทัณฑทายกอาทิผิด สระเถราปทาน
คิริเนลปูชกเถราปทานที่ ๗ (๕๒๗)
ว่าด้วยผลแห่งการบูชาด้วยดอกอัญชันเขียว
[๑๑๗ ] เมื่อก่อน เราเป็นพรานเนื้อเที่ยว
อยู่ในป่า ได้พบพระพุทธเจ้าผู้ปราศจากกิเลสธุลี
ทรงรู้จบธรรมทั้งปวง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 34/352/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อนั้น ท่านทั้งหลายควรเข้าถึงธรรมเหล่านั้นอยู่ ดูก่อนสาฬหะและโรหนะ
ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ความไม่โลภมีอยู่หรือ
สา. มี ขอรับ
น. ดูก่อนสาฬหะและโรหนะ ความข้อนี้เรากล่าวว่า อนภิชฌาบุคคล
ผู้ไม่โลภไม่มากด้วยความอยากได้นี้ ย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่คบชู้
ไม่พูดเท็จ สิ่งใดย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน
บุคคลผู้ไม่โลภย่อมชักชวนผู้อื่นเพื่อความเป็นอย่างนั้น
สา. จริงอย่างนั้น ขอรับ
น. ดูก่อนสาฬหะอาทิผิด อักขระและโรหนะ ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้น
เป็นไฉน ความไม่โกรธมีอยู่หรือ
สา. มี ขอรับ
น. ดูก่อนสาฬหะและโรหนะ ความข้อนี้เรากล่าวว่าความไม่พยาบาท
บุคคลผู้ไม่โกรธมีจิตใจไม่พยาบาทนี้ ย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่คบชู้
ไม่พูดเท็จ สิ่งใดย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน
บุคคลผู้ไม่โกรธย่อมชักชวนอาทิผิด อักขระผู้อื่นเพื่อความเป็นอย่างนั้น
สา. จริงอย่างนั้น ขอรับ
น. ดูก่อนสาฬหะและโรหนะ ท่านทั้งหลายจะสำคัญความข้อนั้น
เป็นไฉน ความไม่หลงมีอยู่หรือ
สา. มี ขอรับ
น. ดูก่อนสาฬหะและโรหนะ ความข้อนี้เรากล่าวว่า วิชชา บุคคล
ผู้ไม่หลงถึงความรู้แจ้งนี้ ย่อมไม่ฆ่าสัตว์ ไม่ลักทรัพย์ ไม่คบชู้ ไม่พูดเท็จ
สิ่งใดย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูล เพื่อความสุข สิ้นกาลนาน บุคคลผู้
ไม่หลง ย่อมชักชวนผู้อื่นเพื่อความเป็นอย่างนั้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/205/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ศุกลปักษ์ ๗
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบองค์ ๕ พึงให้อุปสมบท พึงให้
นิสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ:-
๑. รู้จักอาบัติ.
๒. รู้จักอนาบัติ.
๓. รู้จักอาบัติเบา.
๔. รู้จักอาบัติหนัก และ.
๕. เธอจำปาติโมกข์ทั้งสองได้ดีโดยพิสดาร จำแนกดี คล่องแคล่วดี
วินิจฉัยเรียบร้อย โดยสุตตะ โดยอนุพยัญชนะ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล พึงให้อุปสมบท
พึงให้นิสัย พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก.
กัณหปักษ์ ๘
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ แม้อื่นอีก ไม่พึงให้อาทิผิด สระ
อุปสมบท ไม่พึงให้นิสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก คือ:-
๑. ไม่รู้จักอาบัติ.
๒. ไม่รู้จักอนาบัติ.
๓. ไม่รู้จักอาบัติเบา.
๔. ไม่รู้จักอาบัติหนัก และ
๕. มีพรรษาหย่อน.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยองค์ ๕ นี้แล ไม่พึงให้อาทิผิด สระ
อุปสมบท ไม่พึงให้นิสัย ไม่พึงให้สามเณรอุปัฏฐาก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/218/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แต่ถ้าโดยปกติ ทราบไม่ได้ว่า เธอเป็นผู้มีศีลเป็นที่รัก พึงสังเกตสัก ๔- ๕
วันว่า ภิกษุนั้นจะเป็นสภาคกันหรือไม่ แล้ว ให้เธอทำโอกาส ขอนิสัย. แต่
ถ้าในวัดที่อยู่ ไม่มีภิกษุผู้ให้นิสัย ทั้งอุปัชฌาย์ได้สั่งว่า ฉันจักไปสัก ๒-๓ วัน
พวกคุณอย่าทุรนทุรายใจเลย ดังนี้จึงไป ได้ความคุ้มอาบัติจนกว่าท่านจะกลับ
มา. ถ้าแม้ชาวบ้านในที่นั้น เขานิมนต์ให้ท่านอยู่เกินกว่าเวลาที่กำหนดไว้บ้าง
๕ วันหรือ ๑๐ วันไซร้, อุปัชฌาย์นั้นพึงส่งข่าวไปวัดที่อยู่ว่า พวกภิกษุหนุ่ม
อย่าทุรนทุรายใจเลย ฉันจักกลับในวันโน้น. แม้อย่างนี้ ก็ได้ความคุ้มอาบัติ.
ภายหลังเมื่ออุปัชฌาย์กำลังกลับมา มีความติดขัดในระหว่างทาง ด้วยน้ำเต็ม
แม่น้ำ หรือด้วยโจรเป็นต้น พระเถระคอยน้ำลดหรือหาเพื่อน ถ้าพวกภิกษุ
หนุ่มทราบข่าวนั้น ได้ความคุ้มอาบัติจนกว่าท่านจะกลับมา. แต่ถ้าท่านส่งข่าว
มาว่า ฉันจักอยู่ที่นี้แหละ ดังนี้ คุ้มอาบัติไม่ได้. จะได้นิสัยในที่ใด พึงไปใน
ที่นั้น แต่เมื่ออุปัชฌาย์สึกหรือมรณภาพ หรือไปเข้ารีตเดียรถีย์เสีย แม้วัน
เดียว ก็คุ้มอาบัติไม่ได้. จะได้นิสัยในที่ใด พึงไปในที่นั้น.
บทว่า วิพฺภนฺโต ได้แก่ เคลื่อนจากศาสนา. การประณามนิสัย
ท่านเรียกว่า อาณัติ คือ สั่งบังคับ. เพราะเหตุนั้น ภิกษุใดถูกอุปัชฌาย์ผลัก
ออกด้วยประณามนิสัย โดยนัยพระบาลีนี้ว่า ฉันประณามเธอ หรือว่า อย่า
เข้ามา ณ ที่นี้ หรือว่า จงขนบาตรจีวรของเธอออกไปเสีย หรือว่า เธอไม่
ต้องอุปัฏฐากฉันดอกดังนี้ก็ดี โดยนัยพ้นจากบาลีเป็นต้นว่า เธออย่าบอกลาเข้า
บ้านกะฉันเลย ดังนี้ก็ดีอาทิผิด สระ ภิกษุนั้น พึงขอให้อุปัชฌาย์อดโทษ. ถ้าท่านไม่ยอม
อดโทษให้แต่แรก. พึงยอมรับทัณฑกรรมแล้ว ขอให้ท่านอดโทษด้วยตนเอง
๓ ครั้งก่อน, ถ้าท่านไม่ยอมอดโทษให้ พึงเชิญพระมหาเถระที่อยู่ในวัดนั้นให้
ช่วยขอโทษแทน. ถ้าท่านไม่ยอมอดโทษพึงวานภิกษุทั้งหลายที่อยู่ในวัดใกล้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/217/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/529/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กำหนด ๑๐๐ โยชน์.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงมีพระประสงค์จะเสด็จจาริกในมณฑลใหญ่
พระองค์ทรงปวารณาในวันมหาปวารณาแล้ว ในวันแรม ๑ ค่ำ จะพร้อม
ด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่เป็นบริวาร เสด็จออกไป ๑๐๐ โยชน์โดยรอบ
ก็จะเกิดการแตกตื่นกันเป็นการใหญ่. คนผู้มาถึงก่อน ๆ จึงจะได้นิมนต์
บรรดามณฑลทั้ง ๒ นอกจากนี้ สักการะก็จะมารวมลงเฉพาะในมหามณฑล
เท่านั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อเสด็จประทับอยู่ในหมู่บ้านและอำเภอ
นั้น ๆ สิ้น ๑ - ๒ วัน ทรงอนุเคราะห์มหาชนด้วยการทรงรับอามิสทาน
และเจริญกุศลอันเป็นส่วนพ้นวัฏฏสงสารแก่เขา ด้วยทรงประทานธรรม
ทรงให้การจาริกเสร็จสิ้นไปโดย ๙ เดือน.
แต่ถ้าภายในพรรษา สมถะอาทิผิด อักขระและวิปัสสนากรรมฐานของภิกษุทั้งหลาย
ยังอ่อนอยู่ พระองค์ก็จะไม่ทรงปวารณาในวันมหาปวารณา ทรงประทาน
เลื่อนวันปวารณาไป ทรงปวารณาในวันเพ็ญเดือน ๑๒ ต่อถึงวันแรม
๑ ค่ำ เดือนอ้าย จึงพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่เป็นบริวารเสด็จออก
แล้ว เสด็จเข้าไปในมณฑลขนาดกลาง พระองค์มีพระประสงค์จะเสด็จจาริก
ไปในมณฑลขนาดกลางด้วยเหตุอย่างอื่นก็มีบ้าง แต่จะเสด็จประทับอยู่
ตลอด ๔ เดือนเท่านั้น แล้วก็จะเสด็จออกไปตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแหละ.
บรรดามณฑลทั้ง ๒ นอกนี้ สักการะก็จะมารวมลงเฉพาะในมณฑลขนาด
กลางเท่านั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุเคราะห์สัตว์โลกโดยนัยก่อนนั่น
แหละ ทรงให้การจาริกเสร็จสิ้นไปโดย ๘ เดือน.
แต่ถ้าเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าแม้จะทรงจำพรรษาตลอด ๔ เดือนแล้ว
ก็ตาม เวไนยสัตว์ยังมีอินทรีย์ไม่แก่กล้า พระองค์ก็จะทรงรอคอยให้พวก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/191/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สองบทว่า เสยฺยา อุสฺสาทิยึสุ คือเมื่อให้ถือเอาอย่างนั้น ที่ตั้ง
เตียงได้เหลือมาก. แม้ในจำนวนวิหารเป็นต้น ก็มีนัยเหมือนกัน. วิหารนั้น
ประสงค์ห้องมีอุปจาร.
บทว่า อนุภาคํ มีความว่า เราอนุญาตเพื่อให้ส่วนแม้อื่นอีก, จริง
อยู่ เมื่อภิกษุมีน้อยนัก สมควรให้รูปละ ๒-๓ บริเวณ.
ข้อว่า น อกามา ทาตพฺโพ มีความว่า ส่วนเพิ่มนั้น ผู้แจกไม่
พึงให้ เพราะไม่ปรารถนาจะให้.
ในวันเข้าพรรษา ครั้นเมื่อส่วนเพิ่มอันภิกษุทั้งหลายถือเอาแล้ว ส่วน
เพิ่มนั้น ไม่ควรให้ภิกษุผู้มาภายหลัง เพราะคน (คือผู้ถือเอาแล้ว) ไม่พอใจ.
แต่ถ้าส่วนเพิ่มอันภิกษุใดไม่ถือแล้ว ภิกษุนั้นย่อมให้ส่วนเพิ่มนั้น หรือส่วน
แรก ด้วยความพอใจของตน เช่นนี้ ควรอยู่.
สองบทว่า นิสฺสีเม ฐิตสฺส ได้แก่ ผู้ตั้งอาทิผิด อยู่ภายนอกอุปจารสีมา.
แต่ว่า แม้ภิกษุผู้ตั้งอยู่ไกล แต่เป็นภายในอุปจารสีมา ย่อมได้แท้.
สองบทว่า เสนาสนํ คเหตฺวา ได้แก่ ถือในวัน เข้าพรรษา.
สองบทว่า สพฺพกาลํ ปฏิพาหนฺติ ได้แก่ หวงแม้ในฤดูกาลโดยอาทิผิด สระ
ล่วง ๔ เดือนไป.
[เสนาสนคาหวินิจฉัย]
บรรดาการถือเสนาสนะ ๓ อย่าง การถือ ๒ อย่าง เป็นการถือยั่งยืน
คือ ถือในวันเข้าพรรษาแรก ๑ ถือในวัน เข้าพรรษาหลัง ๑.
การถือเสนาสนะที่เป็นอันตราอาทิผิด สระมุตกะ คือพ้นจากนั้น มีวินิจฉัย ดังนี้ :-
ในวิหารหนึ่ง มีเสนาสนะซึ่งมีลาภมาก. เจ้าของเสนาสนะบำรุงภิกษุ
ผู้จำพรรษา ด้วยปัจจัยทั้งปวงโดยเอื้อเฟื้อ ถวายสมณบริขารมากในเวลา
ปวารณาแล้วจะไป.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/99/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๖. ภูมิชสูตร
[๔๐๕] ข้าพเจ้าได้สดับมาอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่พระวิหารเวฬุวัน อันเคย
เป็นสถานที่พระราชทานเหยื่อแก่กระแต กรุงราชคฤห์ ครั้งนั้นแล ท่านพระ-
ภูมิชะ นุ่งสบงอาทิผิด อักขระ ทรงบาตรจีวรเข้าไปยังวังของพระราชกุมารชยเสนะในเวลาเช้า
แล้วนั่งบนอาสนะที่เขาแต่งตั้งไว้ ต่อนั้น พระราชกุมารชยเสนะเข้าไปหาท่าน
พระภูมิชะ แล้วได้ตรัสทักทายปราศรัยกับท่านพระภูมิชะ ครั้นผ่านคำทักทาย
ปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้ว จึงประทับ นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
[๔๐๖] พระราชกุมารชยเสนะ ประทับ นั่งเรียบร้อยแล้ว ได้รับสั่ง
กะท่านพระภูมิชะดังนี้ว่า ข้าแต่ท่านภูมิชะ มีสมณพราหมณ์พวกหนึ่ง มีวาทะ
อย่างนี้ มีทิฐิอย่างนี้ว่า ถ้าแม้บุคคลทำความหวังแล้วประพฤติพรหมจรรย์
เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล ถ้าแม้ทำความไม่หวังแล้วประพฤติพรหมจรรย์
เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล ถ้าแม้ทำความหวังและความไม่หวังแล้วประพฤติอาทิผิด อักขระ
พรหมจรรย์ เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล ถ้าแม้ทำความหวังก็มิใช่ ความไม่
หวังก็มิใช่แล้วประพฤติพรหมจรรย์ เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล ในเรื่องนี้
ศาสดาของท่านภูมิชะมีวาทะอย่างไร มีความเห็นอย่างไร บอกไว้อย่างไร
[๔๐๗] ท่านภูมิชะกล่าวว่า ดูก่อนพระราชกุมาร เรื่องนี้อาตมภาพ
มิได้สดับรับมาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าเลย แต่อาทิผิด อักขระข้อที่เป็นฐานะมีได้
แล คือ พระผู้มีพระภาคเจ้าจะพึงทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ถ้าแม้บุคคลทำความ
หวัง แล้วประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่แยบคาย เขาก็ไม่สามารถจะบรรลุผล
ถ้าแม้ทำความไม่หวังแล้วประพฤติพรหมจรรย์โดยไม่แยบคาย เขาก็ไม่สามารถ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 27/214/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า วิปริณาโม ได้แก่ ความเสียหาย. อธิบายว่า พืชเหล่านั้น
ไม่ได้น้ำก็จะเหี่ยวแห้งเสียหายไป จะมีเหลืออยู่ก็แต่ซากเท่านั้น.
บทว่า อนุคฺคทิโต ความว่า ได้รับอนุเคราะห์แล้วด้วยการ
อนุเคราะห์ด้วยอามิส และการอนุเคราะห์ด้วยธรรม.
บทว่า อนุคฺคณฺเทยฺยํ ความว่า เราตถาคตพึงอนุเคราะห์ด้วย
การอนุเคราะห์ด้วยอามิส และการอนุเคราะห์ด้วยธรรมทั้งสองอย่างนั้น.
เพราะว่า สามเณรและภิกษุหนุ่มผู้บวชใหม่ เมื่อมีความขาดแคลน
ด้วยปัจจัยมีจีวรอาทิผิด เป็นต้น หรือเกิดเจ็บไข้ได้ป่วยขึ้น พระศาสดาหรือ
อุปัชฌาย์อาจารย์ยังมิได้อนุเคราะห์ด้วยการอนุเคราะห์ด้วยอามิส
ก็จะลำบาก ไม่สามารถทำการสาธยายหรือใส่ใจ (ถึงธรรมได้)
(เธอเหล่านั้น) อันพระศาสดาหรืออุปัชฌาย์อาจารย์ยังมิได้อนุเคราะห์
ด้วยการอนุเคราะห์ด้วยธรรม ก็จะเสื่อมจากอุเทศและจากโอวาทานุสาสนี
(การแนะนำพร่ำสอน) ไม่สามารถจะหลีกเว้นอกุศลมาเจริญกุศลได้.
แต่ (เธอเหล่านั้น) ได้รับอนุเคราะห์ด้วยการอนุเคราะห์ทั้งสองนี้แล้ว
ก็จะไม่ลำบากกาย ประพฤติในการสาธยายและใส่ใจ (ถึงธรรม)
ปฏิบัติตามที่พระศาสดาหรืออุปัชฌาย์อาจารย์พร่ำสอนอยู่ ต่อมา
แม้ไม่ได้รับการอนุเคราะห์นั้น (แต่) ก็ยังได้กำลัง เพราะการอนุเคราะห์
ครั้งแรกนั้นนั่นแล (จึงทำให้) มั่นคงอยู่ในศาสนาได้ เพราะฉะนั้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเกิดปริวิตกอย่างนี้ขึ้น.
พรหมมาเฝ้าพระพุทธเจ้า
บทว่า ภควโต ปุรโต ปาตุรโหสิ ความว่า ท้าวมหาพรหม
ได้ทราบพระดำริของพระศาสดาแล้วได้ (มา) ปรากฏ เฉพาะพระพักตร์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/210/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๓๙๙] ดูก่อนกุณฑลิยะ โพชฌงค์ ๗ อันบุคคลเจริญแล้ว กระทำ
ให้มากแล้วอย่างไร ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไป
ในการสละ ฯลฯ ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ดูก่อนกุณฑลิยะ โพชฌงค์ ๗ อันบุคคล
เจริญแล้ว กระทำให้มากแล้วอย่างนี้แล ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้สมบูรณ์
[๔๐๐] เมื่อพระผู้มีพระภาคตรัสอย่างนี้แล้ว กุณฑลิยปริพาชกได้
กราบทูลพระผู้มีพระภาคอาทิผิด สระเจ้าว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์
แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่พระโคคมผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก ท่าน
พระโคคมทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนบุคคลหงายของ
ที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือตามประทีปในที่มืดด้วย
หวังว่า ผู้มีจักษุจักเห็นรูปได้ ฉะนั้น ข้าพระองค์ขอถึงท่านพระโคดมกับทั้ง
พระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ ว่าเป็นสรณะ ขอท่านพระโคดม จงทรงจำ
ข้าพระองค์ว่า เป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะจนตลอดชีวิต จำเดิมแต่วันนี้เป็นต้น
ไป.
จบกุณฑลิยสูตรที่ ๖
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/183/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่
กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุอเหตุกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กาย
นี้ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๓. นเหตุอเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะอาทิผิด อักขระ และ ปุเรชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุ-
สเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนเหตุสเหตุกธรรม ด้วย
อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
๒๐. อัตถิปัจจัย
[๑๖๐] ๑. นเหตุสเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่นเหตุสเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย
พระปิฎกธรรม