turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
星期三, 七月 22, 2020
星期一, 七月 20, 2020
Battha Mun
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 55/4/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期六, 七月 18, 2020
Yot
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 56/459/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期五, 七月 17, 2020
Khayum
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/907/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期四, 七月 16, 2020
Maeo
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/263/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อ่อนหวานหรือหยาบคายก็ตาม จะกล่าวถ้อยคำประกอบด้วยประโยชน์หรือไม่
ประกอบด้วยประโยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม
แม้ในข้อนั้น พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจัก
ไม่เปล่งวาจาที่ชั่ว เราจักอนุเคราะห์ด้วยประโยชน์ เราจักมีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ
ในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราจักแผ่เมตตาจิตอันเสมอ
ด้วยแม่น้ำคงคาไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท
ไปตลอดโลกทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.
[๒๗๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนกระสอบหนัง แมวอาทิผิด อักขระ ที่นาย
ช่างหนังฟอกดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี เป็นกระสอบที่ ตีอาทิผิด อักขระ ได้
ไม่ดังก้อง ถ้ามีบุรุษถือเอาไม้หรือกระเบื้องมาพูดขึ้นอย่างนี้ว่า เราจักทำกระสอบ
หนังแมว ที่เขาฟอกไว้ดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำสี ที่ตีได้ไม่ดัง
ก้องนี้ให้เป็นของมีเสียงดังก้อง ด้วยไม้หรือกระเบื้องดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะทำกระสอบหนังแมวที่เขา
ฟอกไว้ดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี ที่ตีได้ไม่ดังก้องนี้
ให้กลับมีเสียงดังก้องขึ้น ด้วยไม้หรือกระเบื้องได้หรือไม่. ไม่ได้
พระเจ้าข้า ข้อนั้นเพราะเหตุไร. เพราะเหตุว่า กระสอบหนังแมวนี้
เขาฟอกดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี ซึ่งเป็นของที่ตีได้ไม่
ดังก้อง เขาจะทำกระสอบหนังแมวนั้น ให้กลับเป็นของมีเสียงดังก้องขึ้นด้วย
ไม้หรือกระเบื้องไม่ได้ง่ายเลย บุรุษคนนั้น จะต้องเหน็ดเหนื่อยลำบาก
เสียเปล่าเป็นแน่แท้ ดังนี้ แม้ฉันใด ภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคล
อื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการคือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร
๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อนหวานหรือหยาบคาย ๑
กล่าวด้วยคำมีประโยชน์หรือไร้ประโยชน์ ๑ มีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายใน
ประกอบด้วยประโยชน์ก็ตาม จะมีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายในกล่าวก็ตาม
แม้ในข้อนั้น พวกเธอพึงศึกษาอย่างนี้ว่า จิตของเราจักไม่แปรปรวน เราจัก
ไม่เปล่งวาจาที่ชั่ว เราจักอนุเคราะห์ด้วยประโยชน์ เราจักมีเมตตาจิต ไม่มีโทสะ
ในภายใน เราจักแผ่เมตตาจิตไปถึงบุคคลนั้น และเราจักแผ่เมตตาจิตอันเสมอ
ด้วยแม่น้ำคงคาไพบูลย์ ใหญ่ยิ่ง หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีพยาบาท
ไปตลอดโลกทุกทิศทุกทาง ซึ่งเป็นอารมณ์ของจิตนั้น ดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย
เธอทั้งหลายพึงศึกษาด้วยอาการดังที่กล่าวมานี้แล.
[๒๗๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเหมือนกระสอบ
ช่างหนังฟอกดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี เป็นกระสอบ
ไม่ดังก้อง ถ้ามีบุรุษถือเอาไม้หรือกระเบื้องมาพูดขึ้นอย่างนี้ว่า เราจักทำกระสอบ
หนังแมว ที่เขาฟอกไว้ดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำสี ที่ตีได้ไม่ดัง
ก้องนี้ให้เป็นของมีเสียงดังก้อง ด้วยไม้หรือกระเบื้องดังนี้ ภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นจะทำกระสอบหนังแมวที่เขา
ฟอกไว้ดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี ที่ตีได้ไม่ดังก้องนี้
ให้กลับมีเสียงดังก้องขึ้น ด้วยไม้หรือกระเบื้องได้หรือไม่. ไม่ได้
พระเจ้าข้า ข้อนั้นเพราะเหตุไร. เพราะเหตุว่า กระสอบหนังแมวนี้
เขาฟอกดีเรียบร้อยแล้ว อ่อนนุ่มดังปุยนุ่นและสำลี ซึ่งเป็นของที่ตีได้ไม่
ดังก้อง เขาจะทำกระสอบหนังแมวนั้น ให้กลับเป็นของมีเสียงดังก้องขึ้นด้วย
ไม้หรือกระเบื้องไม่ได้ง่ายเลย บุรุษคนนั้น จะต้องเหน็ดเหนื่อยลำบาก
เสียเปล่าเป็นแน่แท้ ดังนี้ แม้ฉันใด ภิกษุทั้งหลาย ทางแห่งถ้อยคำที่บุคคล
อื่นจะพึงกล่าวกะท่านมีอยู่ ๕ ประการคือ กล่าวโดยกาลอันสมควรหรือไม่สมควร
๑ กล่าวด้วยเรื่องจริงหรือไม่จริง ๑ กล่าวด้วยคำอ่อนหวานหรือหยาบคาย ๑
กล่าวด้วยคำมีประโยชน์หรือไร้ประโยชน์ ๑ มีจิตเมตตาหรือมีโทสะในภายใน
พระปิฎกธรรม
星期三, 七月 15, 2020
Khaphachao
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/58/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
星期二, 七月 14, 2020
Satsana
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 5/54/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาสังฆาทิเสสสิกขาบทที่ ๒
ในสิกขาบทที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
แก้อรรถบางปาฐะ เรื่องภิกษุณีให้บวชหญิงโจร
บทว่า วรภณฺฑํ ได้แก่ ภัณฑะที่มีค่ามาก เช่น แก้วมุกดา แก้วมณี
และแก้วไพฑูรย์เป็นต้น.
บทว่า อปโลเกตฺวา แปลว่า ไม่บอกกล่าว.
บทว่า คณํ วา ได้แก่ คณะ มีมัลลคณะและภัททิปุตตคณะ๑
เป็นต้น.
บทว่า ปูคํ ได้แก่ ธรรมคณะ๒.
บทว่า เสนึ ได้แก่ หมู่ชนผู้เป็นช่างทำของหอมและหมู่ชนผู้เป็น
ช่างหูกเป็นต้น.
จริงอยู่ พระราชาทั้งหลาย ย่อมพระราชทานมอบบ้านและนิคมแก่
หมู่ชนมีคณะเป็นต้น ในสถานที่ใด ๆ ว่า พวกท่านเท่านั้น จงปกครองใน
บ้านและนิคมนี้. ชนพวกนั้นนั่นแหละ ย่อมเป็นใหญ่ในบ้านและนิคมนั้น ๆ.
เพราะเหตุนั้น คำว่า คณํ วา เป็นต้นนี้ตรัสหมายเอาชนพวกนั้น.
ก็บรรดาอิสรชนมีพระราชาเป็นต้น นี้ ภิกษุณีแม้ทูลขอพระบรม-
ราชานุญาต หรือบอกกล่าวพวกชนมีคณะเป็นต้นแล้ว ต้องบอกกล่าวภิกษุณี
สงฆ์ด้วย.
๑-๒. สารตฺถทีปนี ๓/๔๐๑ ให้อรรถาธิบายว่า คณะผู้บำเพ็ญบุญกรรม มีจัดตั้งน้ำดื่มและขุด
สระน้ำเป็นต้นไว้ในที่นั้น ๆ ซึ่งเป็นผู้มีความภักดี ( นับถือ) พระนารายณ์ ชื่อว่ามัลลคณะ. คณะ
ผู้มีความภักดี (นับถือ) พระกุมาร (พระบุตร) ชื่อว่า ภัททิปุตตคณะ. คณะผู้บำเพ็ญบุญกรรม
มีประการต่าง ๆ ซึ่งมีความภักดีต่อพระศาสนาอาทิผิด อักขระ เรียกว่าธรรมคณะ.
ในสิกขาบทที่ ๒ มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
แก้อรรถบางปาฐะ เรื่องภิกษุณีให้บวชหญิงโจร
บทว่า วรภณฺฑํ ได้แก่ ภัณฑะที่มีค่ามาก เช่น แก้วมุกดา แก้วมณี
และแก้วไพฑูรย์เป็นต้น.
บทว่า อปโลเกตฺวา แปลว่า ไม่บอกกล่าว.
บทว่า คณํ วา ได้แก่ คณะ มีมัลลคณะและภัททิปุตตคณะ๑
เป็นต้น.
บทว่า ปูคํ ได้แก่ ธรรมคณะ๒.
บทว่า เสนึ ได้แก่ หมู่ชนผู้เป็นช่างทำของหอมและหมู่ชนผู้เป็น
ช่างหูกเป็นต้น.
จริงอยู่ พระราชาทั้งหลาย ย่อมพระราชทานมอบบ้านและนิคมแก่
หมู่ชนมีคณะเป็นต้น ในสถานที่ใด ๆ ว่า พวกท่านเท่านั้น จงปกครองใน
บ้านและนิคมนี้. ชนพวกนั้นนั่นแหละ ย่อมเป็นใหญ่ในบ้านและนิคมนั้น ๆ.
เพราะเหตุนั้น คำว่า คณํ วา เป็นต้นนี้ตรัสหมายเอาชนพวกนั้น.
ก็บรรดาอิสรชนมีพระราชาเป็นต้น นี้ ภิกษุณีแม้ทูลขอพระบรม-
ราชานุญาต หรือบอกกล่าวพวกชนมีคณะเป็นต้นแล้ว ต้องบอกกล่าวภิกษุณี
สงฆ์ด้วย.
๑-๒. สารตฺถทีปนี ๓/๔๐๑ ให้อรรถาธิบายว่า คณะผู้บำเพ็ญบุญกรรม มีจัดตั้งน้ำดื่มและขุด
สระน้ำเป็นต้นไว้ในที่นั้น ๆ ซึ่งเป็นผู้มีความภักดี ( นับถือ) พระนารายณ์ ชื่อว่ามัลลคณะ. คณะ
ผู้มีความภักดี (นับถือ) พระกุมาร (พระบุตร) ชื่อว่า ภัททิปุตตคณะ. คณะผู้บำเพ็ญบุญกรรม
มีประการต่าง ๆ ซึ่งมีความภักดีต่อพระ
พระปิฎกธรรม
星期一, 七月 13, 2020
Tuen
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 65/20/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สมควร ความปฏิบัติไม่เป็นข้าศึก ความปฏิบัติเป็นไปตามประโยชน์ ความ
ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ความทำให้บริบูรณ์ในศีล ความเป็นผู้มี
ทวารอันคุ้มครองในอินทรีย์ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในโภชนะ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในความเป็นผู้ ตื่นอาทิผิด อักขระ มีสติสัมปชัญญะ ความประกอบเนือง ๆ
ในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญสัมมัปปธาน ๔
ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญอิทธิบาท๔ ความประกอบเนือง ๆ ใน
อันเจริญอินทรีย์ ๕ ความประกอบเนือง ๆในอันเจริญพละ ๕ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญ โพชฌงค์ ๗ ความประกอบเนือง ๆ ในอัน
เจริญมรรคมีองค์ ๘ อันตรายเหล่านั้นย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อม เพื่อ
อันตรธานไปแห่งกุศลธรรมเหล่านี้ เพราะอรรถว่าเป็นไปเพื่อความเสื่อม
จึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
เพราะอรรถว่า เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงชื่อว่า
อันตราย อย่างไร ? อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้นย่อมเกิดขึ้นในอัตภาพนั้น
ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ เปรียบเหมือนเหล่าสัตว์ที่อาศัยรู ย่อมอยู่
ในรู ที่อาศัยน้ำ ย่อมอยู่ในน้ำ ที่อาศัยป่า ย่อมอยู่ในป่า ที่อาศัยต้นไม้
ย่อมอยู่ที่ต้นไม้ ฉันใด อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้น ย่อมเกิดขึ้นใน
อัตภาพนั้น ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ ฉันนั้น เพราะอรรถว่า
เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลายจึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า :-
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้อยู่ร่วมกับกิเลสอันอยู่อาศัยในภายใน ผู้
อยู่ร่วมกับกิเลสที่ฟุ้งซ่าน ย่อมอยู่ลำบาก ไม่ผาสุก. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ปฏิบัติธรรมสมควรแก่ธรรม ความทำให้บริบูรณ์ในศีล ความเป็นผู้มี
ทวารอันคุ้มครองในอินทรีย์ ความเป็นผู้รู้จักประมาณในโภชนะ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในความเป็น
ในอันเจริญสติปัฏฐาน ๔ ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญสัมมัปปธาน ๔
ความประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญอิทธิบาท
อันเจริญอินทรีย์ ๕ ความประกอบเนือง ๆในอันเจริญพละ ๕ ความ
ประกอบเนือง ๆ ในอันเจริญ โพชฌงค์ ๗ ความประกอบเนือง ๆ ในอัน
เจริญมรรคมีองค์ ๘ อันตรายเหล่านั้นย่อมเป็นไปเพื่อความเสื่อม เพื่อ
อันตรธานไปแห่งกุศลธรรมเหล่านี้ เพราะอรรถว่าเป็นไปเพื่อความเสื่อม
จึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
เพราะอรรถว่า เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลาย จึงชื่อว่า
อันตราย อย่างไร ? อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้นย่อมเกิดขึ้นในอัตภาพนั้น
ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ เปรียบเหมือนเหล่าสัตว์ที่อาศัยรู ย่อมอยู่
ในรู ที่อาศัยน้ำ ย่อมอยู่ในน้ำ ที่อาศัยป่า ย่อมอยู่ในป่า ที่อาศัยต้นไม้
ย่อมอยู่ที่ต้นไม้ ฉันใด อกุศลธรรมอันลามกเหล่านั้น ย่อมเกิดขึ้นใน
อัตภาพนั้น ย่อมเป็นธรรมอยู่อาศัยในอัตภาพ ฉันนั้น เพราะอรรถว่า
เป็นที่อยู่แห่งอกุศลธรรมทั้งหลายจึงชื่อว่า อันตราย อย่างนี้.
สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า :-
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้อยู่ร่วมกับกิเลสอันอยู่อาศัยในภายใน ผู้
อยู่ร่วมกับกิเลสที่ฟุ้งซ่าน ย่อมอยู่ลำบาก ไม่ผาสุก. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พระปิฎกธรรม
星期日, 七月 12, 2020
Tumhu
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/32/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๓. อุปกิเลสสูตร
ว่าด้วยเรื่องอุปกิเลส ๕
[๒๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งเศร้าหมองแห่งทอง ซึ่งเป็นเหตุให้
ทองมัวหมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่สุกใส เสียเร็ว จะทำเป็นเครื่อง
ประดับไม่ได้ มี ๕ ประการ ๕ ประการเป็นไฉน คือ เหล็ก ๑ โลหะ ๑ ดีบุก ๑
ตะกั่ว ๑ เงิน ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งเศร้าหมองแห่งทอง ๕ ประการ
นี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ทองมัวหมองแล้ว ย่อมไม่อาทิผิด อาณัติกะ อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่สุกใส
เสียเร็ว จะทำเป็นเครื่องประดับไม่ได้ เมื่อใด ทองพ้นจากสิ่งเศร้าหมอง ๕
ประการนี้ ย่อมอ่อน ใช้การได้ สุกใส ทนทาน จะทำเป็นเครื่องประดับก็ได้
คือ ช่างทองต้องการเครื่องประดับชนิดใด ๆ เช่น แหวนตุ้มหูอาทิผิด lit สร้อยคอ
สังวาล ก็ทำได้ตามต้องการ ฉันใด อุปกิเลสแห่งจิต ซึ่งเป็นเหตุให้จิตเศร้า
หมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่ผ่องไส เสียเร็ว ไม่ตั้งมั่นโดยชอบ
เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็มี ๕ ประการ ฉันนั้นเหมือนกัน อุปกิเลส
๕ ประการเป็นไฉน คือ กามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ ถีนมิทธะ ๑
อุทธัจจกุกกุจจะ ๑ วิจิกิจฉา ๑ อุปกิเลสแห่งจิต ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็น
เหตุให้จิตเศร้าหมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่ผ่องใส เสียเร็ว
ไม่ตั้งมั่นโดยชอบ เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ แต่เมื่อใด จิตพ้นจาก
อุปกิเลส ๕ ประการนี้ ย่อมอ่อน ใช้การได้ ผ่องใส ทนทาน ตั้งมั่นโดยชอบ
เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ และภิกษุ จะน้อมจิตไปเพื่อทำให้แจ้งด้วย
ปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมที่จะพึงทำให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันยิ่งใด ๆ เมื่อธรรม
เครื่องสืบต่อมีอยู่ไม่ขาดสาย เธอก็จะบรรลุผลสำเร็จในธรรมนั้น ๆ โดยแน่
นอน.
ว่าด้วยเรื่องอุปกิเลส ๕
[๒๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งเศร้าหมองแห่งทอง ซึ่งเป็นเหตุให้
ทองมัวหมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่สุกใส เสียเร็ว จะทำเป็นเครื่อง
ประดับไม่ได้ มี ๕ ประการ ๕ ประการเป็นไฉน คือ เหล็ก ๑ โลหะ ๑ ดีบุก ๑
ตะกั่ว ๑ เงิน ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สิ่งเศร้าหมองแห่งทอง ๕ ประการ
นี้แล ซึ่งเป็นเหตุให้ทองมัวหมองแล้ว ย่อม
เสียเร็ว จะทำเป็นเครื่องประดับไม่ได้ เมื่อใด ทองพ้นจากสิ่งเศร้าหมอง ๕
ประการนี้ ย่อมอ่อน ใช้การได้ สุกใส ทนทาน จะทำเป็นเครื่องประดับก็ได้
คือ ช่างทองต้องการเครื่องประดับชนิดใด ๆ เช่น แหวน
สังวาล ก็ทำได้ตามต้องการ ฉันใด อุปกิเลสแห่งจิต ซึ่งเป็นเหตุให้จิตเศร้า
หมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่ผ่องไส เสียเร็ว ไม่ตั้งมั่นโดยชอบ
เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ ก็มี ๕ ประการ ฉันนั้นเหมือนกัน อุปกิเลส
๕ ประการเป็นไฉน คือ กามฉันทะ ๑ พยาบาท ๑ ถีนมิทธะ ๑
อุทธัจจกุกกุจจะ ๑ วิจิกิจฉา ๑ อุปกิเลสแห่งจิต ๕ ประการนี้แล ซึ่งเป็น
เหตุให้จิตเศร้าหมองแล้ว ย่อมไม่อ่อน ใช้การไม่ได้ ไม่ผ่องใส เสียเร็ว
ไม่ตั้งมั่นโดยชอบ เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ แต่เมื่อใด จิตพ้นจาก
อุปกิเลส ๕ ประการนี้ ย่อมอ่อน ใช้การได้ ผ่องใส ทนทาน ตั้งมั่นโดยชอบ
เพื่อความหมดสิ้นไปแห่งอาสวะ และภิกษุ จะน้อมจิตไปเพื่อทำให้แจ้งด้วย
ปัญญาอันยิ่ง ซึ่งธรรมที่จะพึงทำให้แจ้งได้ด้วยปัญญาอันยิ่งใด ๆ เมื่อธรรม
เครื่องสืบต่อมีอยู่ไม่ขาดสาย เธอก็จะบรรลุผลสำเร็จในธรรมนั้น ๆ โดยแน่
นอน.
พระปิฎกธรรม
星期六, 七月 11, 2020
Thudong
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 20/582/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ธรณีประตู ดังได้กล่าวแล้วในพรหมายุสูตร. ในที่นี้ท่านประสงค์ตั้งแต่ เสา
เขื่อน. ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ไม่ควรกล่าวว่า พระศาสดาไม่ทรงสันโดษ ด้วย
บิณฑบาตสันโดษ. ทั้งหมดพึงพิสดารโดยทำนองเดียวกับที่กล่าวแล้ว เพราะ
ความเป็นผู้มีอาหารน้อย. แม้ในที่นี้พระองค์ก็ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราไม่
ยินดีรับนิมนต์ในเวลาเดียวเท่านั้น. แต่สาวกทั้งหลายของเรา ไม่ทำลายธุดงค์
ตลอดชีวิต ตั้งแต่สมาทานธุดงค์.
บทว่า รุกฺขมูลิกา ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร คือ ปฏิเสธที่มุงบัง
สมาทานรุกขมูลิกังคธุดงค์. บทว่า อพฺโภกาสิกา ถืออยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
คือ ปฏิเสธที่มุงบังและโคนไม้แล้วสมาทานอัพโภกาสิกังคธุดงค์. บทว่า อฏฺฐ-
มาเส ตลอด ๘ เดือน คือ ตลอดเดือนในฤดูเหมันต์และคิมหันต์. แต่ในภาย
ในฤดูฝนเข้าไปสู่ที่มุงบังเพื่อรักษาจีวร. ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ไม่ควรกล่าวว่าพระ-
ศาสดาไม่ทรงสันโดษด้วยเสนาสนสันโดษ. แต่พึงแสดงเสนาสนสันโดษของ
พระองค์ ด้วยมหาปธานตลอด ๖ ปี และด้วยปาริไลยกไพรสณฑ์อาทิผิด อักขระ แต่ในที่นี้
พระองค์ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราไม่เข้าไปสู่ที่มุงบังในกาลหนึ่งเท่านั้น. แต่
สาวกของเราไม่ทำลายธุดงค์ตลอดชีวิตตั้งแต่สมาทานธุดงค์.
บทว่า อารญฺญิกา ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร คือปฏิเสธเสนาสนะท้าย
บ้านแล้วสมาทานอารัญญิกังคธุดงค์อาทิผิด . บทว่า สงฺฆมชฺเฌ โอสรนฺติ ย่อม
ประชุมในท่ามกลางสงฆ์ ท่านกล่าวถึงใน อพัทธสีมา (สีมาที่ยังมิได้ผูก).
แต่ สาวกผู้อยู่ในพัทธสีมา ย่อมทำอุโบสถในที่อยู่ของตน. ด้วยเหตุเพียง
เท่านี้ ไม่ควรกล่าวว่าพระศาสดา ไม่ทรงสงัด เพราะความสงัดย่อมปรากฏแก่
พระองค์อย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราปรารถนาเพื่อหลีกเร้นอยู่ตลอด ๘
เดือน. แต่ในที่นี้พระองค์ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราหลีกเร้นอยู่ในกาลเห็น
เขื่อน. ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ไม่ควรกล่าวว่า พระศาสดาไม่ทรงสันโดษ ด้วย
บิณฑบาตสันโดษ. ทั้งหมดพึงพิสดารโดยทำนองเดียวกับที่กล่าวแล้ว เพราะ
ความเป็นผู้มีอาหารน้อย. แม้ในที่นี้พระองค์ก็ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราไม่
ยินดีรับนิมนต์ในเวลาเดียวเท่านั้น. แต่สาวกทั้งหลายของเรา ไม่ทำลายธุดงค์
ตลอดชีวิต ตั้งแต่สมาทานธุดงค์.
บทว่า รุกฺขมูลิกา ถือการอยู่โคนไม้เป็นวัตร คือ ปฏิเสธที่มุงบัง
สมาทานรุกขมูลิกังคธุดงค์. บทว่า อพฺโภกาสิกา ถืออยู่กลางแจ้งเป็นวัตร
คือ ปฏิเสธที่มุงบังและโคนไม้แล้วสมาทานอัพโภกาสิกังคธุดงค์. บทว่า อฏฺฐ-
มาเส ตลอด ๘ เดือน คือ ตลอดเดือนในฤดูเหมันต์และคิมหันต์. แต่ในภาย
ในฤดูฝนเข้าไปสู่ที่มุงบังเพื่อรักษาจีวร. ด้วยเหตุเพียงเท่านี้ไม่ควรกล่าวว่าพระ-
ศาสดาไม่ทรงสันโดษด้วยเสนาสนสันโดษ. แต่พึงแสดงเสนาสนสันโดษของ
พระองค์ ด้วยมหาปธานตลอด ๖ ปี และด้วยปาริไลยก
พระองค์ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราไม่เข้าไปสู่ที่มุงบังในกาลหนึ่งเท่านั้น. แต่
สาวกของเราไม่ทำลายธุดงค์ตลอดชีวิตตั้งแต่สมาทานธุดงค์.
บทว่า อารญฺญิกา ถือการอยู่ป่าเป็นวัตร คือปฏิเสธเสนาสนะท้าย
บ้านแล้วสมาทานอารัญญิกังค
ประชุมในท่ามกลางสงฆ์ ท่านกล่าวถึงใน อพัทธสีมา (สีมาที่ยังมิได้ผูก).
แต่ สาวกผู้อยู่ในพัทธสีมา ย่อมทำอุโบสถในที่อยู่ของตน. ด้วยเหตุเพียง
เท่านี้ ไม่ควรกล่าวว่าพระศาสดา ไม่ทรงสงัด เพราะความสงัดย่อมปรากฏแก่
พระองค์อย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราปรารถนาเพื่อหลีกเร้นอยู่ตลอด ๘
เดือน. แต่ในที่นี้พระองค์ทรงแสดงความนี้ไว้ว่า เราหลีกเร้นอยู่ในกาลเห็น
พระปิฎกธรรม
星期五, 七月 10, 2020
Phra Phuttha Chao Kha
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/599/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์แห่งพระราชาผู้สูง-
ศักดิ์ บัญญัติไว้ใน ๖ พระนคร รวม ๕๖
สิกขาบท ในพระนครสาวัตถี พระโคดมผู้
มียศ บัญญัติไว้ทั้งหมดรวม ๒๙๔ สิกขาบท.
ทรงพยากรณ์อาบัติหนักและอาบัติเบาเป็นต้น
[๑,๐๑๙] อุ. ข้าพระพุทธเจ้า ได้ทูล
ถามปัญหาข้อใดกะพระองค์ พระองค์ได้
ทรงแก้ปัญหาข้อนั้นแก่ข้าพระพุทธเจ้า ได้
ทรงแก้ปัญหานั้น ๆ โดยมิได้เป็นอย่างอื่น
ข้าพระพุทธเจ้า ขอทูลถามปัญหาข้ออื่นกะ
พระองค์ ขอพระองค์ทรงโปรดตอบปัญหา
นั้นต่อไป คือ อาบัติหนัก ๑ อาบัติเบา ๑
อาบัติมีส่วนเหลือ ๑ อาบัติไม่มีส่วนเหลือ ๑
อาบัติชั่วหยาบ ๑ อาบัติไม่ชั่วหยาบ ๑
สิกขาบทเป็นยาวตติยกะ ๑ สิกขาบททั่วไป ๑
สิกขาบทไม่ทั่วไป ๑ สิกขาบทที่จำแนก
ไว้ ระงับด้วยสมถะเหล่าใด ๑ ขอพระองค์
ได้โปรดชี้แจงสิกขาบทนี้แม้ทั้งมวลพระ-อาทิผิด
พุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าจะฟังพระดำรัส
ของพระองค์
ศักดิ์ บัญญัติไว้ใน ๖ พระนคร รวม ๕๖
สิกขาบท ในพระนครสาวัตถี พระโคดมผู้
มียศ บัญญัติไว้ทั้งหมดรวม ๒๙๔ สิกขาบท.
ทรงพยากรณ์อาบัติหนักและอาบัติเบาเป็นต้น
[๑,๐๑๙] อุ. ข้าพระพุทธเจ้า ได้ทูล
ถามปัญหาข้อใดกะพระองค์ พระองค์ได้
ทรงแก้ปัญหาข้อนั้นแก่ข้าพระพุทธเจ้า ได้
ทรงแก้ปัญหานั้น ๆ โดยมิได้เป็นอย่างอื่น
ข้าพระพุทธเจ้า ขอทูลถามปัญหาข้ออื่นกะ
พระองค์ ขอพระองค์ทรงโปรดตอบปัญหา
นั้นต่อไป คือ อาบัติหนัก ๑ อาบัติเบา ๑
อาบัติมีส่วนเหลือ ๑ อาบัติไม่มีส่วนเหลือ ๑
อาบัติชั่วหยาบ ๑ อาบัติไม่ชั่วหยาบ ๑
สิกขาบทเป็นยาวตติยกะ ๑ สิกขาบททั่วไป ๑
สิกขาบทไม่ทั่วไป ๑ สิกขาบทที่จำแนก
ไว้ ระงับด้วยสมถะเหล่าใด ๑ ขอพระองค์
ได้โปรดชี้แจงสิกขาบทนี้แม้ทั้งมวล
พุทธเจ้าข้า ข้าพระพุทธเจ้าจะฟังพระดำรัส
ของพระองค์
พระปิฎกธรรม
星期三, 七月 08, 2020
Thukkot
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/615/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั่วถึงกัน อันตรายแก่พรหมจรรย์นี้จักเกิดเสียก่อน ถ้าความพร้อม
พรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงปวารณา ๒ หน. . .หนเดียว. . .มี
พรรษาเท่ากัน.
ภิกษุมีอาบัติห้ามปวารณา
[๒๔๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์มีอาบัติติดตัวได้ปวารณา
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสห้ามแก่ภิกษุทั้ง
หลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีอาบัติติดตัวไม่พึงปวารณา รูปใดปวารณา
ต้องอาบัติทุก กฏอาทิผิด สระ . ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้ภิกษุผู้มีอาบัติติดตัว
ปวารณา รูปนั้นทำโอกาส โจทด้วยอาบัติ.
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์อันสงฆ์ให้ทำโอกาส ก็ไม่ปรารถนาจะทำ
โอกาส ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสอนุญาต
แก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้งดปวารณาของภิกษุผู้
ไม่ยอมทำโอกาส.
วิธีงดปวารณา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล สงฆ์พึงงดปวารณาอย่างนี้:-
เมื่อถึงวันปวารณา ๑๔ ค่ำ หรือ ๑๕ ค่ำ เมื่อบุคคลนั้นอยู่พร้อมหน้า
ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศในท่ามกลางสงฆ์ ว่าดังนี้:-
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า บุคคลชื่อนี่ มีอาบัติติด
ตัวปวารณา ข้าพเจ้าขอ งดอาทิผิด อักขระ ปวารณาของเธอเสีย เมื่อเธอยังอยู่พร้อม
หน้า สงฆ์ไม่พึงปวารณา.
เท่านี้ เป็นอันงดปวารณาแล้ว.
พรั่งของสงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงปวารณา ๒ หน. . .หนเดียว. . .มี
พรรษาเท่ากัน.
ภิกษุมีอาบัติห้ามปวารณา
[๒๔๕] ก็โดยสมัยนั้นแล พระฉัพพัคคีย์มีอาบัติติดตัวได้ปวารณา
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสห้ามแก่ภิกษุทั้ง
หลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุมีอาบัติติดตัวไม่พึงปวารณา รูปใดปวารณา
ต้องอาบัติ
ปวารณา รูปนั้นทำโอกาส โจทด้วยอาบัติ.
สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์อันสงฆ์ให้ทำโอกาส ก็ไม่ปรารถนาจะทำ
โอกาส ภิกษุทั้งหลายกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสอนุญาต
แก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตให้งดปวารณาของภิกษุผู้
ไม่ยอมทำโอกาส.
วิธีงดปวารณา
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แล สงฆ์พึงงดปวารณาอย่างนี้:-
เมื่อถึงวันปวารณา ๑๔ ค่ำ หรือ ๑๕ ค่ำ เมื่อบุคคลนั้นอยู่พร้อมหน้า
ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศในท่ามกลางสงฆ์ ว่าดังนี้:-
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า บุคคลชื่อนี่ มีอาบัติติด
ตัวปวารณา ข้าพเจ้า
หน้า สงฆ์ไม่พึงปวารณา.
เท่านี้ เป็นอันงดปวารณาแล้ว.
พระปิฎกธรรม
星期二, 七月 07, 2020
Adit
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 55/362/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เป็นฝ่ายตรงข้ามต่อพระเถระ พระเถระไม่รู้อัธยาศัยของภิกษุนั้น พระเถระ
เที่ยวจาริกไปในทักขิณาคีรีชนบทนั้น หวนกลับมายังพระเชตวันวิหารอีก ภิกษุ
นั้นก็เป็นเช่นนั้นนั่นแลอีก จำเดิมแต่พระเถระมายังพระ
จึงกราบ
ข้าพระองค์ ในที่แห่งหนึ่งได้เป็นเหมือนทาสที่ไถ่มาด้วยทรัพย์หนึ่งร้อย
ในที่แห่งหนึ่ง เป็นผู้ถือตัวจัด เมื่อข้าพระองค์บอกว่า จงกระทำสิ่งชื่อนี้
กลับทำตรงกันข้าม พระศาสดาตรัสว่า สารีบุตร ภิกษุนี้เป็นผู้มีปกติอย่างนี้
ในบัดนี้เท่านั้น หามิได้ แม้ในกาลก่อนภิกษุนี้ไปยังที่หนึ่ง เป็นเหมือนทาสที่
ไถ่มาด้วยทรัพย์ตั้งร้อย แต่ไปยังอีกที่หนึ่งกลับเป็นฝ่ายตรงข้าม เป็นศัตรู
อันพระเถระทูลอ้อนวอนแล้วจึงทรงนำ
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์ถือปฏิสนธิในตระกูลกุฎุมพีตระกูลหนึ่ง กุฎุมพีผู้สหาย
พระโพธิสัตว์นั้นตนเองเป็นคนแก่ แต่ภรรยาของกุฎุมพีนั้นเป็นหญิงสาว นาง
อาศัยกุฎุมพีนั้นจึงได้บุตรชาย กุฎุมพีนั้นคิดว่า หญิงนี้ เมื่อเราล่วงไปแล้วก็จะ
ได้บุรุษไร ๆ นั่นแหละ (เป็นสามี) เพราะยังสาวอยู่ จะทำทรัพย์ของเรานี้ให้
พินาศ จะไม่ให้แก่บุตรของเรา ถ้ากระไร เราจะฝังทรัพย์นี้ไว้ในแผ่นดิน
เขาจึงพาทาสในเรือนชื่อว่า นายนันทะ ไปป่า ฝังทรัพย์นี้ไว้ในที่แห่งหนึ่ง
แล้วบอกแก่นายนันทะนั้น โอวาทว่า พ่อนันทะ ทรัพย์นี้ เมื่อเราล่วงไป
แล้ว เธอพึงบอกแก่บุตรของเรา อย่าบริจาคทรัพย์ของเรา ดังนี้ แล้วได้
ตายไป บุตรของกุฎุมพีนั้นเป็นผู้เจริญโดยลำดับ. ลำดับนั้น มารดากล่าวกะ
บุตรชายนั้นว่า ดูก่อนพ่อ บิดาของเจ้าพานายนันททาสไปฝังทรัพย์ เจ้าจงให้
นำทรัพย์นั้นมารวบรวมทรัพย์สมบัติไว้
พระปิฎกธรรม
星期一, 七月 06, 2020
Chan
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/337/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ฌาน ๔ เป็นวิปากะก็มี เป็นวิปากธัมมธรรมก็มี เป็นเนววิปากน-
วิปากธัมมธรรมก็มี.
ฌาน ๔ เป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะก็มี
เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะก็มี.
ฌาน ๔ เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะก็มี เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกะก็มี.
ปฐมฌาน เว้นวิตกวิจารที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นสวิตักกสวิจาระ,
ฌาน ๓ เป็นอวิตักกอวิจาระ.
ฌาน ๒ เว้นปีติที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นปีติสหคตะ. ฌาน ๓
เว้นสุขที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นสุขสหคตะ จตุตถฌาน เว้นอุเบกขาที่เกิด
ขึ้นในฌานอาทิผิด อักขระ นี้เสีย เป็นอุเบกขาสหคตะ.
ฌาน ๔ เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพะ ฌาน ๔ เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกะ.
ฌาน ๔ เป็นอาจยคามีก็มี เป็นอปจยคามีก็มี เป็นเนวาจยคามินา-
ปจยคามีก็มี.
ฌาน ๔ เป็นเสกขะก็ มีอาทิผิด สระ เป็นอเสกขะก็มี เป็นเนวเสกขานาเสกขะก็มี
ฌาน ๔ เป็นมหัคคตะก็มี เป็นอัปปมาณะก็มี.
ฌาน ๓ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นปริตตารัมมณะ แม้เป็นมหัคคตา-
รัมมณะ, เป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี กล่าวไม่ได้ว่าเป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี,
จตุตถฌาน เป็นปริตตารัมมณะก็มี เป็นมหัคคตารัมมณะก็มี เป็นอัปปมาณา-
รัมมณะก็มี กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นปริตตารัมมณะก็มี แม้เป็นมหัคคตารัมมณะก็มี
แม้เป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี.
ฌาน ๔ เป็นมัชฌิมะก็มี เป็นปณีตะก็มี.
วิปากธัมมธรรมก็มี.
ฌาน ๔ เป็นอุปาทินนุปาทานิยะก็มี เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะก็มี
เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะก็มี.
ฌาน ๔ เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะก็มี เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกะก็มี.
ปฐมฌาน เว้นวิตกวิจารที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นสวิตักกสวิจาระ,
ฌาน ๓ เป็นอวิตักกอวิจาระ.
ฌาน ๒ เว้นปีติที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นปีติสหคตะ. ฌาน ๓
เว้นสุขที่เกิดขึ้นในฌานนี้เสีย เป็นสุขสหคตะ จตุตถฌาน เว้นอุเบกขาที่เกิด
ขึ้นใน
ฌาน ๔ เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพะ ฌาน ๔ เป็นเนวทัสส-
เนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกะ.
ฌาน ๔ เป็นอาจยคามีก็มี เป็นอปจยคามีก็มี เป็นเนวาจยคามินา-
ปจยคามีก็มี.
ฌาน ๔ เป็นเสกขะ
ฌาน ๔ เป็นมหัคคตะก็มี เป็นอัปปมาณะก็มี.
ฌาน ๓ กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นปริตตารัมมณะ แม้เป็นมหัคคตา-
รัมมณะ, เป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี กล่าวไม่ได้ว่าเป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี,
จตุตถฌาน เป็นปริตตารัมมณะก็มี เป็นมหัคคตารัมมณะก็มี เป็นอัปปมาณา-
รัมมณะก็มี กล่าวไม่ได้ว่า แม้เป็นปริตตารัมมณะก็มี แม้เป็นมหัคคตารัมมณะก็มี
แม้เป็นอัปปมาณารัมมณะก็มี.
ฌาน ๔ เป็นมัชฌิมะก็มี เป็นปณีตะก็มี.
พระปิฎกธรรม
星期五, 七月 03, 2020
Klai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/435/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระมหาสัตว์ เมื่อจะทรงรับพระดำรัสของพระนาง จึงตรัสคาถา
นี้ว่า :-
ดูก่อนพระธิดาของพระเจ้าโกศลผู้เลอ-
โฉม เรานั้นจักประพฤติตามทางที่พระอริยเจ้า
ทั้งหลายประพฤติมาแล้ว เสมอ ๆ นั้นนั่นเอง
พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นที่พอใจของเรา เรา
ต้องการจะได้เห็นท่าน.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วตุมํ ได้แก่ ทาง. บทว่า อริยาจริตํ
ความว่า ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ประพฤติมาแล้ว.
บทว่า สุโกสเล มีเนื้อความว่า ดูก่อนพระธิดา คนดีของพระเจ้า
โกศลผู้เลอโฉม. บทว่า อรหนฺโต ได้แก่ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้ได้พระนามอย่างนี้ เพราะเป็นผู้ไกลอาทิผิด จากกิเลสทั้งหลาย เพราะเป็นผู้
หักกำแห่งสังสารจักร์ เพราะเป็นผู้ทำลายข้าศึกทั้งหลาย และเพราะเป็น
ผู้ควรแก่ปัจจัยทั้งหลาย. มีคำอธิบายไว้ว่า ดูก่อนพระธิดาของพระเจ้า-
ปัสเสนผู้เจริญ เรานั้น ไม่ทำความอิ่มใจว่า เราถวายทานแล้ว จัก
ประพฤติตามทาง คือทาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายประพฤติแล้ว บ่อย ๆ
นั้นนั่นเอง. ด้วยว่าพระอรหันต์ทั้งหลายเป็นที่ชอบใจ คือน่าทัศนาของ
เรา เพราะเป็นทักขิไณยบุคคลผู้ล้ำเลิศ เราประสงค์จะเห็นท่านเหล่านั้น
นั่นแหละ เพราะต้องการจะถวายจีวรเป็นต้น.
นี้ว่า :-
ดูก่อนพระธิดาของพระเจ้าโกศลผู้เลอ-
โฉม เรานั้นจักประพฤติตามทางที่พระอริยเจ้า
ทั้งหลายประพฤติมาแล้ว เสมอ ๆ นั้นนั่นเอง
พระอรหันต์ทั้งหลาย เป็นที่พอใจของเรา เรา
ต้องการจะได้เห็นท่าน.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วตุมํ ได้แก่ ทาง. บทว่า อริยาจริตํ
ความว่า ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายมีพระพุทธเจ้าเป็นต้น ประพฤติมาแล้ว.
บทว่า สุโกสเล มีเนื้อความว่า ดูก่อนพระธิดา คนดีของพระเจ้า
โกศลผู้เลอโฉม. บทว่า อรหนฺโต ได้แก่ พระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย
ผู้ได้พระนามอย่างนี้ เพราะเป็นผู้
หักกำแห่งสังสารจักร์ เพราะเป็นผู้ทำลายข้าศึกทั้งหลาย และเพราะเป็น
ผู้ควรแก่ปัจจัยทั้งหลาย. มีคำอธิบายไว้ว่า ดูก่อนพระธิดาของพระเจ้า-
ปัสเสนผู้เจริญ เรานั้น ไม่ทำความอิ่มใจว่า เราถวายทานแล้ว จัก
ประพฤติตามทาง คือทาน ที่พระอริยเจ้าทั้งหลายประพฤติแล้ว บ่อย ๆ
นั้นนั่นเอง. ด้วยว่าพระอรหันต์ทั้งหลายเป็นที่ชอบใจ คือน่าทัศนาของ
เรา เพราะเป็นทักขิไณยบุคคลผู้ล้ำเลิศ เราประสงค์จะเห็นท่านเหล่านั้น
นั่นแหละ เพราะต้องการจะถวายจีวรเป็นต้น.
พระปิฎกธรรม
星期三, 七月 01, 2020
Khae Khai
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/346/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แกงถั่ว ความเป็นผู้พูดประจบ ความเป็นผู้พูดแคะไค้อาทิผิด อักขระ (ดุจกินเนื้อหลัง
ผู้อื่น) ความเป็นผู้พูดอ่อนหวาน ความเป็นผู้พูดไพเราะ ความเป็นผู้พูด
ด้วยไมตรี ความเป็นผู้พูดไม่หยาบคายแก่ชนเหล่าอื่น แห่งภิกษุผู้มั่นหมาย
ลาภสักการะและความสรรเสริญ มีความปรารถนาลามก อันความปรารถนา
ครอบงำ เป็นผู้เห็นแก่อามิส หนักอยู่ในโลกธรรม กิริยานี้เรียกว่า
การพูดเลียบเคียง.
อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุพูดเลียบเคียงกะชนด้วยเหตุ ๒ อย่าง คือตั้งตนต่ำ
ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียงกะชน ๑ ยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียง
กะชน ๑.
ภิกษุตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียงกะชนอย่างไร ภิกษุ
ตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดกะชนอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายมีอุปการะมาก
แก่ฉัน ฉันได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร
เพราะอาศัยท่านทั้งหลาย แม้คนอื่น ๆ ย่อมสำคัญเพื่อจะให้หรือเพื่อจะทำ
แก่ฉัน คนเหล่านั้น อาศัยท่านทั้งหลาย เห็นแก่ท่านทั้งหลาย จึงให้
จึงทำแก่ฉัน แม้ชื่อเก่าเป็นของมารดาและบิดา ชื่อแม้นั้นของฉันหายลับ
ไป ฉันย่อมปรากฏเพราะท่านทั้งหลายว่า เป็นกุลุปกะของอุบาสกโน้น
เป็นกุลุปกะของอุบาสิกาโน้น ภิกษุตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียง
กะชนอย่างนี้.
ภิกษุยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียงกะชนอย่างไร ภิกษุ
ยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียงกะชนแม้อย่างนี้ว่า ฉันมีอุปการะมาก
แก่พวกท่าน พวกท่านอาศัยฉันจึงถึงพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ถึงพระ-
ธรรมเป็นสรณะ ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ เว้นขาดจากปาณาติบาต เว้น
ผู้อื่น) ความเป็นผู้พูดอ่อนหวาน ความเป็นผู้พูดไพเราะ ความเป็นผู้พูด
ด้วยไมตรี ความเป็นผู้พูดไม่หยาบคายแก่ชนเหล่าอื่น แห่งภิกษุผู้มั่นหมาย
ลาภสักการะและความสรรเสริญ มีความปรารถนาลามก อันความปรารถนา
ครอบงำ เป็นผู้เห็นแก่อามิส หนักอยู่ในโลกธรรม กิริยานี้เรียกว่า
การพูดเลียบเคียง.
อีกอย่างหนึ่ง ภิกษุพูดเลียบเคียงกะชนด้วยเหตุ ๒ อย่าง คือตั้งตนต่ำ
ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียงกะชน ๑ ยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียง
กะชน ๑.
ภิกษุตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียงกะชนอย่างไร ภิกษุ
ตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดกะชนอย่างนี้ว่า ท่านทั้งหลายมีอุปการะมาก
แก่ฉัน ฉันได้จีวร บิณฑบาต เสนาสนะและคิลานปัจจัยเภสัชบริขาร
เพราะอาศัยท่านทั้งหลาย แม้คนอื่น ๆ ย่อมสำคัญเพื่อจะให้หรือเพื่อจะทำ
แก่ฉัน คนเหล่านั้น อาศัยท่านทั้งหลาย เห็นแก่ท่านทั้งหลาย จึงให้
จึงทำแก่ฉัน แม้ชื่อเก่าเป็นของมารดาและบิดา ชื่อแม้นั้นของฉันหายลับ
ไป ฉันย่อมปรากฏเพราะท่านทั้งหลายว่า เป็นกุลุปกะของอุบาสกโน้น
เป็นกุลุปกะของอุบาสิกาโน้น ภิกษุตั้งตนต่ำ ยกผู้อื่นสูง พูดเลียบเคียง
กะชนอย่างนี้.
ภิกษุยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียงกะชนอย่างไร ภิกษุ
ยกตนสูง ตั้งผู้อื่นต่ำ พูดเลียบเคียงกะชนแม้อย่างนี้ว่า ฉันมีอุปการะมาก
แก่พวกท่าน พวกท่านอาศัยฉันจึงถึงพระพุทธเจ้า เป็นสรณะ ถึงพระ-
ธรรมเป็นสรณะ ถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ เว้นขาดจากปาณาติบาต เว้น
พระปิฎกธรรม
订阅:
博文 (Atom)