星期一, 十一月 30, 2020

Anyan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/592/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อย่างนี้ว่า โลกเที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์หลังจากตายแล้วย่อมเกิดอีกก็หามิได้
ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้บ้าง ดูก่อนวัจฉะ ข้อนี้แลเป็นเหตุ เป็นปัจจัย
ให้ทิฏฐิหลายอย่างเกิดขึ้นในโลกว่า โลกเที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์หลังจาก
ตายแล้วย่อมเกิดอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้บ้าง.

๔. สังขารอัญญาณสูตร

[๕๕๘] กรุงสาวัตถี. วัจฉโคตรปริพาชกนั่ง ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่ง แล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่ท่านพระโคดม
อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้ทิฏฐิหลายอย่างเหล่านี้เกิดขึ้นในโลกว่า
โลกเที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์หลังจากตายแล้วย่อมเกิดอีกก็หามิได้ ย่อม
ไม่เกิดอีกก็หามิได้บ้าง ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนวัจฉะ เพราะความไม่รู้ใน
สังขารทั้งหลาย ในเหตุเกิดแห่งสังขาร ในความดับแห่งสังขาร
ในปฏิปทาที่จะให้ถึงความดับแห่งสังขาร จึงเกิดทิฏฐิหลายอย่าง
เหล่านี้ขึ้นในโลกอย่างนี้ว่า โลกเที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์หลังจากตายแล้ว
ย่อมเกิดอีกก็หามิได้ ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้บ้าง ดูก่อนวัจฉะ ข้อนี้แล
เป็นเหตุ เป็นปัจจัย ให้ทิฏฐิหลายอย่างเหล่านี้เกิดขึ้นในโลกว่า
โลกเที่ยงบ้าง ฯลฯ สัตว์หลังจากตายแล้วย่อมเกิดอีกก็หามิได้
ย่อมไม่เกิดอีกก็หามิได้บ้าง.

๕. วิญญาณอัญญาณอาทิผิด อักขระสูตร

[๕๕๙] กรุงสาวัตถี. วัจฉโคตรปริพาชกนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
แล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่ท่านพระโคดม อะไรหนอ
เป็นเหตุเป็นปัจจัย ให้ทิฏฐิหลายอย่างเหล่านี้เกิดขึ้นในโลกว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 27, 2020

Chop Chai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 62/313/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ถ้อยคำของเธอ จึงมีจิตยินดีเกิดความเลื่อมใสในเธอ กล่าวว่า นันทะน้องเอ๋ย
บัดนี้พี่ยกโทษให้แก่เธอแล้ว และเธอจักได้ปฏิบัติมารดาบิดา เมื่อจะประกาศ
คุณของนันทบัณฑิตนั้น จึงกล่าวว่า
ดูก่อนนันทะ เธอรู้แจ้งสัทธรรมที่สัตบุรุษ
ทั้งหลายแสดงแล้วเป็นแน่ เธอเป็นคนดี มีมารยาท
อันงดงาม พี่ชอบอาทิผิด อักขระใจเป็นยิ่งนัก พี่จะกล่าวกะมารดา
บิดาว่า ขอท่านทั้งสองจงฟังคำของข้าพเจ้า ภาระนี้
หาใช่เป็นภาระเพียงชั่วครั้งชั่วคราวของข้าพเจ้าไม่
การบำรุงที่ข้าพเจ้าบำรุงแล้วนี้ ย่อมนำความสุขมาให้
แก่มารดาบิดาได้ แต่นันทะย่อมทำการขอร้องอ้อนวอน
เพื่อบำรุงท่านทั้งสองบ้าง บรรดาท่านทั้งสองผู้สงบ
ระงับ ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ หากว่าท่านใดปรารถนา
ข้าพเจ้าจะบอกกะท่านนั้น ขอให้ท่านทั้งสองผู้หนึ่งจง
เลือกนันทะตามความปรารถนาเถิด นันทะจะบำรุง
ใครในท่านทั้งสอง.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า อริโย ได้แก่ เป็นคนดี. บทว่า
อริยสมาจาโร ได้แก่ เธอเป็นผู้มีความประพฤติเรียบร้อย. บทว่า พาฬฺหํ
ความว่า บัดนี้เธอย่อมเป็นที่ชอบใจแก่พี่ยิ่งนัก. บทว่า สุณาถ ความว่า
ข้าแต่มารดาและบิดา ขอท่านจงฟังคำของข้าพเจ้า. บทว่า นายํ ภาโร ความว่า
ภาระคือการปฏิบัติมารดาบิดานี้ จะว่าเป็นเพียงภาระของข้าพเจ้า ในกาลบาง-
ครั้งบางคราวก็หาไม่. บทว่า ตํ มํ ความว่า ท่านทั้งหลาย ได้สำคัญว่าการ
บำรุงมารดาบิดานั้นเป็นภาระข้าพเจ้าคนเดียว ก็เลี้ยงดูท่านทั้งหลายได้. บทว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十一月 26, 2020

Winitchai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/182/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในที่มืดด้วยหวังว่า คนมีจักษุจักเห็นรูป ฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ข้าพระองค์นี้ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้ากับทั้งพระธรรมและภิกษุอาทิผิด สระสงฆ์ว่าเป็น
สรณะ ข้าพระองค์พึงได้บรรพชาอุปสมบท ในสำนักของพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้า นายนฏคามณีนามว่าตาลบุตรได้บรรพชา ได้อุปสมบทในสำนัก
พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ท่านพระตาลบุตรอุปสมบทไม่นาน หลีกออกจาก
หมู่อยู่ผู้เดียว ไม่ประมาท มีความเพียร มีใจแน่วแน่ ฯลฯ ก็แลท่าน
พระตาลบุตรเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่ง ในจำนวนพระอรหันต์ทั้งหลาย.
จบ ตาลปุตตสูตรที่ ๒

อรรถกถาตาลปุตตสูตรที่ ๒

ในตาลปุตตสูตรที่ ๒ พึงทราบวินิจฉัยอาทิผิด ดังต่อไปนี้.
บทว่า ตาลปุตฺโต คือเขามีชื่ออย่างนั้น. เล่ากันมาว่า นายบ้าน
นักฟ้อนรำคนนั้น มีผิวพรรณผ่องใสเหมือนลูกตาลสุกที่หลุดจากขั้ว. ด้วย
เหตุนั้น คนทั้งหลายจึงตั้งชื่อเขาว่า ตาลบุตร. นายตาลบุตรผู้นี้นั้น
เขาถึงพร้อมด้วยอภินิหาร ( บุญเก่า ) เป็นบุคคลเกิดในภพสุดท้าย (ไม่ต้อง
เกิดอีก ). แต่เพราะธรรมดาปฏิสนธิ เอาแน่นอนไม่ได้ เหมือนท่อนไม้
ที่ขว้างไปในอากาศ ฉะนั้น นายตาลบุตรนี้จึงบังเกิดในตระกูลนักฟ้อนรำ
พอเจริญวัยก็เป็นยอดทางนาฏศิลป ศิลปฟ้อนรำ มีชื่อกระฉ่อนไปทั่วชมพู-
ทวีป. เขามีเกวียน ๕๐๐ เล่ม มีหญิงแม่บ้าน ๕๐๐ คนเป็นบริวาร
แม้เขาก็มีภรรยาจำนวนเท่านั้น ดังนั้นเขาจึงพร้อมด้วยหญิง ๑,๐๐๐ คน
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十一月 24, 2020

Pajjote

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/396/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ย่อมไม่มี ถ้าพระองค์ให้เรียกมโหสถมาให้กล่าวแก้ปัญหานั้น นั่นแหละจะเป็น
การดี ถ้าไม่เรียกมโหสถมาให้กล่าวแก้ปัญหาเหล่านั้น ข้าพเจ้าจักทำลายเศียร
ของพระองค์ด้วยค้อนเหล็กอันลุกโพลงนี้ กล่าวขู่ฉะนี้แล้วทูลเตือนว่า แน่ะ
มหาราช เมื่อต้องการไฟ ไม่ควรจะเป่าหิงห้อย หรือเมื่อต้องการน้ำนม ไม่
ควรจะรีดเขาโค ชักขัชโชปนกปัญหาในปัญจกนิบาตนี้มากล่าวคาถาว่า
ใครเล่าเมื่อไฟลุกโพลงนี้อยู่ ยังเที่ยวหาไฟอีก
โดยมิใช่เหตุ บุคคลเห็นหิงห้อยในราตรีก็สำคัญว่าไฟ
เอาจุรณโคมัยอันละเอียดหรือหญ้าทำเชื้อบนหิงห้อย
แล้วเอามือสีให้เกิดไฟ ก็ไม่สามารถให้ไฟลุกโพลง
ด้วยสำคัญวิปริต ฉันใด คนอันธพาลดุจคนใบ้ แม้
แสวงหาสิ่งที่ต้องประสงค์โดยไม่ใช่อุบาย ก็ไม่ได้สิ่ง
ที่ต้องประสงค์นั้น ฉันนั้น นมโคไม่มีที่เขาโค บุคคล
รีดนมอาทิผิด อักขระโคที่เขาโค ก็ไม่ได้นมโค ฉันใด บุคคลแสวง
หาสิ่งที่ต้องการในที่ไม่ใช่ที่จะหาได้ ก็ไม่ได้สิ่งที่
ต้องการ ฉันนั้น ชนทั้งหลายลุถึงสิ่งที่ต้องการด้วย
อุบายต่าง ๆ พระเจ้าแผ่นดินทั้งหลายครองแผ่นดินอัน
ชื่อพสุนธร เพราะทรงไว้ซึ่งรัตนะคือแก้ว ก็ด้วย
นิคคทะเหล่าอมิตร ปัคคหะเหล่ามิตร ได้เหล่าอมาตย์
มีเสนีเป็นประมุข และความแนะนำของอมาตย์ผู้
คุ้นเคยเป็นที่รักเป็นที่เจริญใจ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สนฺตมฺหิ ปชฺโชเตอาทิผิด อักขระ ความว่า เมื่อไฟ
มีอยู่. บทว่า อคฺคิปริเยสนํ จรํ ความว่า เที่ยวโดยมิใช่อุบาย. บทว่า
อทฺทกฺขิ แปลว่า เห็นแล้ว ครั้น เห็นแล้วก็สำคัญหิงห้อยนั้นอย่างนี้ว่า นี้จัก
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 22, 2020

Nirutti

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 16/63/5  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พละ โพชฌงค์ อริยมรรค สามัญญผล อภิญญา นิพพาน อันมีคุณมาก.
ปุถุปัญญา เป็นไฉน ปุถุปัญญา คือ ญาณ ย่อมเป็นไปในขันธ์
ต่าง ๆ มาก ย่อมเป็นไปในญาณธาตุต่าง ๆ มาก ในอายตนะต่าง ๆ มาก
ในปฏิจจสมุปบาทมาก ในการได้รับสุญญตะต่าง ๆ มาก ในอรรถต่าง ๆ มาก
ในธรรมทั้งหลาย ในนิรุตติอาทิผิด อักขระทั้งหลาย ในปฏิภาณทั้งหลาย ในสีลขันธ์ต่าง ๆ
มาก ในสมาธิปัญญา วิมุตติ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์ต่าง ๆ มาก ในฐานะ
และอฐานะต่าง ๆ มาก ในวิหารสมาบัติต่าง ๆ มาก ในอริยสัจต่าง ๆ มาก
ในสติปัฏฐานต่าง ๆ มาก ในสัมมัปปธานทั้งหลาย ในอิทธิบาททั้งหลาย
ในอินทรีย์ทั้งหลาย ในพละทั้งหลาย ในโพชฌงค์ทั้งหลาย ในอริยมรรค
ต่างๆ มาก ในสามัญญผลทั้งหลาย ในอภิญญาทั้งหลาย ในพระนิพพาน
อันเป็นปรมัตถ์ ล่วงธรรมอันสาธารณ์แก่ปุถุชน.
ทาสปัญญา เป็นไฉน ทาสปัญญา คือ บุคคลบางพวกในโลกนี้
เป็นผู้มากด้วยความรื่นเริง มากด้วยเวท มากด้วยความยินดี มากด้วยความ
บันเทิงอาทิผิด ย่อมบำเพ็ญศีลบริบูรณ์ บำเพ็ญอินทรียสังวรบริบูรณ์ บำเพ็ญ
โภชเนมัตตัญญู ชาคริยานุโยค สีลขันธ์ สมาธิขันธ์ ปัญญาขันธ์
วิมุตติขันธ์ วิมุตติญาณทัสสนขันธ์ ให้บริบูรณ์ บุคคลเป็นผู้มากด้วยความ
รื่นเริง มากด้วยเวท มากด้วยความยินดี มากด้วยความบันเทิงอาทิผิด สระ ย่อมแทง
ตลอดฐานะและอฐานะ บุคคลผู้มากด้วยความรื่นเริง ย่อมบำเพ็ญ วิหาร
สมาบัติให้บริบูรณ์ บุคคลมากด้วยความรื่นเริง ย่อมแทงตลอดอริยสัจ
บุคคลย่อมเจริญสติปัฏฐาน สัมมัปปธาน อิทธิบาท อินทรีย์ พละ โพชฌงค์
อริยมรรค บุคคลผู้มากด้วยความรื่นเริง ย่อมทำให้แจ้งซึ่งสามัญญผล
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十一月 21, 2020

Ruea

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/100/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระราชา ทรงรับสั่งว่า ดูก่อนพนาย ! ถ้าเช่นนั้น พวกท่านจง
ผูกเรืออาทิผิด อักขระขนาน แล้วอาราธนาให้พระเถระนั่งบนเรืออาทิผิด อักขระขนานนั้นนั่นแล จัดการ
อารักขาที่ฝั่งทั้ง ๒ ด้าน นำพระเถระมาเถิด. พวกภิกษุและเหล่าอำมาตย์
ไปถึงสำนักของพระเถระแล้ว ได้เรียนให้ทราบตามพระราชสาสน์.
พระเถระได้สดับ (พระราชสาสน์นั้น) แล้วคิดว่า เพราะเหตุที่เรา
บวชมาก็ด้วยตั้งใจว่า จักเชิดชูพระศาสนา ตั้งแต่ต้นฉะนั้น กาลนี้นั้นก็มาถึง
แก่เราแล้ว จึงได้ถือเอาท่อนหนังลุกขึ้น.
[พระเจ้าอโศกมหาราชทรงพระสุบินเห็นช้างเผือกล้วน]
ครั้งนั้น พระราชาทรงใฝ่พระราชหฤทัยอยู่แล้วว่า พรุ่งนี้ พระเถระ
จักมาถึงพระนครปาตลีบุตร ดังนี้ ก็ทรงเห็นพระสุบิน ในส่วนราตรี ได้มี
พระสุบินเห็นปานนี้ คือพญาช้างเผือกปลอดมาลูบคลำพระราชา จำเดิมแต่
พระเศียร แล้วได้จับพระราชาที่พระหัตถ์ข้างขวา. ในวันรุ่งขึ้น พระราชาได้
ตรัสถามพวกโหรผู้ทำนายสุบินว่า เราฝันเห็นสุบิน เห็นปานนี้ จักมีอะไร
แก่เรา ? โหรทำนายสุบินคนหนึ่ง ทูลถวายความเห็นว่า ขอเดชะใต้ฝ่าละออง
ธุลีพระบาทปกเกล้า พระสมณะผู้ประเสริฐ จักจับใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทที่
พระหัตถ์ข้างขวา. คราวนั้น พระราชาก็ได้ทรงทราบข่าวว่า พระเถระมาแล้ว
ในขณะนั้นนั่นเอง จึงเสด็จไปยังริมฝั่งแม่น้ำคงคา แล้วเสด็จลงลุยแม่อาทิผิด อาณัติกะน้ำท่อง
ขึ้นไป จนถึงพระเถระ ในน้ำมีประมาณเพียงชานุ แล้วได้ถวายพระหัตถ์แก่
พระเถระผู้กำลังลงจากเรือ. พระเถระได้จับพระราชาที่พระหัตถ์ข้างขวาแล้ว.
[ราชบุรุษถือดาบจะตัดศีรษะพระโมคคลีบุตรติสสเถระ]
พวกราชบุรุษถือดาบ เห็นกิริยานั้นแล้ว ก็ชักดาบออกจากฝัก ด้วย
คิดว่า พวกเราจักตัดศีรษะของพระเถระให้ตกไป ดังนี้. ถามว่า เพราะเหตุไร ?
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 20, 2020

Awitakka

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 86/387/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยวิจาร เกิดขึ้น, ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ
เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
[๑๐๑] สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกอาทิผิด สระอวิจารธรรม อาศัย
อวิตักกอาทิผิด อวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น. จิตต-
สมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิติกกอวิจารธรรม อาศัยอวิ-
ตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัย
วิจารเกิดขึ้น, ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น, วิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น,
จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม อาศัย
อวิตักกอวิจารธรรม เกิดขึ้น ฯลฯ
คือ ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และวิตก อาศัยหทยวัตถุ เกิดขึ้น.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十一月 18, 2020

Wichan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 86/432/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๑๘๑] ๙. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่
เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
มรรคที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักก-
วิจารมัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ผลที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ผลที่เป็นอวิตักกวิจาร-
มัตตธรรม และวิจาร ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๑๘๒] ๑๐. อวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่สวิตักก-
สวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม ด้วยอำนาจของอนันตร-
ปัจจัย
คือ วิตกที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสวิตักกสวิจารอาทิผิด ธรรมที่
เกิดหลัง ๆ และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
จุติจิต ที่เป็นวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อุปปัตติจิตที่เป็น
สวิตักกสวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ภวังคจิต ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ และ
วิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
ขันธ์ที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十一月 15, 2020

Sutthawat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 82/526/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็หรือว่า ธัมมายตนะไม่ใช่จักเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, รูปา-
ยตนะก็ไม่ใช่เคยเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
เมื่อปัจฉิมภวิกบุคคลเหล่านั้นเกิดอยู่ในปัญจโวการภูมิ ธัมมา-
ยตนะไม่ใช่จักเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่รูปายตนะเคยเกิด
แก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลที่เกิดอยู่ในสุทธาวาสภูมิก็ดี ปัจ-
ฉิมภวิกบุคคลเกิดอยู่ในอรูปภูมิก็ดี ธัมมายตนะไม่ใช่จักเกิด และรูปา-
ยตนะก็ไม่ใช่เคยเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น.
จบ รูปายตนมูละ ธัมมายตนะมูลี
รูปายตนมูล จบ
มนายตนมูล
มนายตนมูละ ธัมมายตนมูลี :-
[๕๒๐] มนายตนะไม่ใช่เคยเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, ธัมมา-
ยตนะก็ไม่ใช่จักเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
เมื่อบุคคลเหล่านั้นเกิดอยู่ในอสัญญสัตตภูมิ มนายตนะไม่ใช่
เคยเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่ธัมมายตนะจักเกิดแก่บุคคล
เหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลที่เกิดอยู่ในสุทธาวาสอาทิผิด สระภูมิ มนายตนะไม่ใช่
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 13, 2020

Sawaeng Ha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 60/523/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดูก่อนวิธูระ ชนเหล่านั้นปราศจากคุณเครื่อง
ความเป็นพราหมณ์ จะเรียกว่าเป็นพราหมณ์ไม่ได้
ท่านจงแสวงหาพราหมณ์เหล่าอื่นผู้มีศีล เป็นพหูสูต
งดเว้นจากเมถุนธรรม ซึ่งสมควรบริโภคโภชนาหาร
ของฉัน ดูก่อนสหาย ฉันจักให้ทักษิณาในพวก
พราหมณ์ที่ให้ทานแล้วจักมีผลมาก.
อีกพวกหนึ่งย่อมนอนใต้เตียง เพราะปรารถนา
ทรัพย์ พระราชาทั้งหลายสรงสนานอยู่ข้างบน ใน
คราวมีพิธีโสมยาคะ ข้าแต่พระราชา ชนพวกนั้น
แม้จะเหมือนกับคนกวาดมลทิน ก็ยังเรียกกันว่าเป็น
พราหมณ์ ข้าแต่พระมหาราชา ข้าพระพุทธเจ้ากราบ
ทูลถึงพราหมณ์พวกนั้นแก่พระองค์แล้ว เราจักต้อง
การพราหมณ์เช่นนั้นหรือหาไม่ พระเจ้าข้า.
ดูก่อนวิธูระ ชนเหล่านั้นปราศจากคุณเครื่อง
ความเป็นพราหมณ์ จะเรียกเป็นพราหมณ์ก็ไม่ได้
ท่านจงแสวงหาอาทิผิด อักขระพราหมณ์เหล่าอื่นผู้มีศีล เป็นพหูสูต
งดเว้นจากเมถุนธรรม ซึ่งสมควรจะบริโภคโภชนาหาร
ของฉัน ดูก่อนสหาย ฉันจักให้ทักษิณาในพวก
พราหมณ์ที่ให้ทานแล้วจักมีผลมาก.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สีลวนฺเต ได้แก่ ท่านผู้มีศีลที่มากับ
มรรค. บทว่า พหุสฺสุเต ได้แก่ ท่านผู้เป็นพหูสูตด้วยปฏิเวธ. บทว่า
ทกฺขิณํ ได้แก่ทาน. บทว่า เย ได้แก่หมู่สมณะและพราหมณ์ผู้ทรงธรรมเหล่าใด
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十一月 11, 2020

Chanthima

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/605/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้งนั้น ท่านพระโมคคัลลานะได้กราบทูลเรื่องนั้นถวายพระผู้มี-
พระภาคเจ้า ตามทำนองที่ตนและเทพบุตรพูดกัน พระศาสดาทรงภาษิต
เนื้อความแล้ว ทรงทำเรื่องนั้นให้เป็นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อง ตรัส
พระพุทธพจน์ว่า ทิสฺวาน เทวํ ปฏิปุจฺฉิ ภิกฺขุ เป็นต้น เพื่อทรง
แสดงธรรมโปรดแด่บริษัทที่ประชุมกันอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เทวํ ได้แก่ โคปาลเทพบุตร. พระ-
ศาสดาตรัสว่า ภิกฺขุ ทรงหมายถึงท่านพระมหาโมคคัลลานะ ด้วยว่า
ท่านพระโมคคัลลานะนั้น ชื่อว่า ภิกษุ เพราะทำลายกิเลสโดยประการ
ทั้งปวง. ตรัสว่า จิรฏฺฐิติเก เพราะวิมานตั้งมั่นตลอดกาลเป็นอันมาก
หรือตั้งอยู่ชั่วกัปทีเดียว. บางท่านกล่าวว่า จิรฏฺฐิติกํ ก็มี. บทว่า
จิรฏฺฐิติกํ นั้น พึงเชื่อมกับบท เทวํ นี้ ความจริง เทวบุตรแม้นั้น
ควรจะเรียกได้ว่า จิรฏฺฐิติเก เพราะดำรงอยู่ในวิมานนั้นถึงสามโกฏิหก
ล้านปี. บทว่า ยถาปี จนฺทิมาอาทิผิด อักขระ ความว่า เหมือนจันทเทพบุตรไพโรจน์
อยู่ในทิพยวิมานของตน ซึ่งรุ่งเรืองด้วยข่ายรัศมีที่น่ารักเย็นและเป็นที่จับ
ใจ. พึงประกอบคำที่เหลือว่า ไพโรจน์อยู่ฉันนั้น.
บทว่า อลงฺกโต เป็นต้น เป็นบทแสดงอาการที่เทพบุตรนั้นถูก
พระเถระถาม. บทนั้นมีนัยดังกล่าวแล้วแม้ในหนหลังนั่นแล.
บทว่า สงฺคมฺมอาทิผิด อักขระ ได้แก่ เกี่ยวข้อง. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สงฺคมฺน
ได้แก่ สงเคราะห์ แม้จะมีอรรถว่าเหตุในที่นี้ท่านทำไว้ภายใน อธิบายว่า
หลายคนร่วมกัน. บทว่า อาคา แปลว่า มาแล้ว. บทว่า มาเส ได้
แก่ กล้าถั่วราชมาษ.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十一月 10, 2020

Yueang Krai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/342/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดังนี้ ชื่อว่าพึงกล่าวชอบ คือพึงนับว่ากล่าวความจริง ก็เหตุนั้น
เป็นไฉน ? ดูก่อนพราหมณ์ ความยินดีในรูป ฯลฯ ความยินดีใน
โผฏฐัพพะ. ตถาคตละได้แล้ว. มีอธิบายอย่างไร ? มีอธิบายว่า
ความยินดีในรูป ความยินดีในเสียง ความยินดีในกลิ่น ความยินดี
ในรส ความยินดีในโผฏฐัพพะ อันใด กล่าวคือความพอใจในกามสุข
ย่อมเกิดแก่พวกปุถุชน แม้ที่เขาสมมติกันว่าเป็นผู้ประเสริฐด้วย
ชาติกำเนิด หรือด้วยอุบัติ ผู้พอใจ เพลิดเพลิน กำหนัด
ในรูปารมณ์เป็นต้น รสเหล่าใด ย่อมดึงโลกนี้ไว้เหมือนผูกไว้ที่คอ
หรือเรียกว่าสามัคคีรส เพราะเกิดขึ้นด้วยความพร้อมเพรียงของ
วัตถุและอารมณ์เป็นต้น รสแม้ทั้งหมดนั้น ตถาคตละได้แล้ว. แม้
เมื่อควรจะตรัสว่า เราละเสียแล้ว ก็ไม่ทรงยกพระองค์ด้วยมมังการ
แสดงธรรมอีกอย่างหนึ่ง นั่นเป็นเทศนาวิลาสความเยื้องกรายอาทิผิด อักขระ
แห่งเทศนาของพระตถาคต.
ในบทเหล่านั้น บทว่า ปหีนา แปลว่า ไปปราศ หรือขาด
จากจิตสันดาน. ก็ในอรรถนี้ พึงเป็นฉัฏฐีวิภัติ ใช้ในอรรถแห่ง
ตติยาวิภัติ. ชื่อว่ามีรากตัดขาดแล้ว เพราะรากล้วนแล้วด้วยตัณหา
และอวิชชาของรสเหล่านั้น อันตถาคตตัดขาดแล้วด้วยตัณหา
คือ อริยมรรค ชื่อว่ากระทำให้เหมือนวัตถุพื้นที่ตั้งของต้นตาล
เพราะกระทำให้เป็นวัตถุที่ตั้งของความยินดีในรูปเป็นต้น เหล่านั้น
เหมือนวัตถุพื้นที่ตั้งของต้นตาล. เหมือนอย่างว่า เมื่อถอนต้นตาล
พร้อมทั้งราก กระทำประเทศคือพื้นที่ตรงนั้นให้เป็นเพียงพื้นที่ตั้ง
ของต้นตาลนั้น ต้นตาลนั้นย่อมไม่ปรากฏว่าเกิดขึ้นอีก ฉันใด เมื่อ
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十一月 07, 2020

Trat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 42/407/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในเวลาเสร็จภัตกิจ พระศาสดาตรัสถามว่า “ อนิตถิคันธกุมารไป
ไหน ? ”
มารดาบิดา. พระเจ้าข้า อนิตถิคันธกุมารนั่น อดอาหารนอนอยู่
ในห้อง.
พระศาสดา. จงเรียกเธอมา.
อนิตถิคันธกุมารนั้น มาถวายบังคมพระศาสดาแล้ว นั่ง ณ ส่วน
ข้างหนึ่ง. เมื่อพระศาสดาตรัสถามว่า “ กุมาร ความโศกมีกำลังเกิดขึ้น
แล้วแก่เธอหรือ ? ” จึงกราบทูลว่า “ ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า.
ความโศกมีกำลังเกิดขึ้นแก่ข้าพระองค์ เพราะได้ยินว่าหญิงชื่อเห็นปานนี้
ทำกาละในระหว่างทางเสียแล้ว แม้ภัต ข้าพระองค์ก็ไม่หิว.”
ลำดับนั้น พระศาสดาตรัสกะเขาว่า “ กุมาร ก็เธอรู้ไหมว่าความ
โศกเกิดแก่เธอ เพราะอาศัยอะไร ? ”
อนิตถิคันธกุมาร. ไม่ทราบ พระเจ้าข้า.
พระศาสดาตรัสว่า “ กุมาร ความโศกมีกำลังเกิดขึ้นแก่เธอ เพราะ
อาศัยกาม. เพราะความโศกก็ดี ภัยก็ดี ย่อมเกิดขึ้นเพราะอาศัยกาม ”
ดังนี้แล้ว ตรัสอาทิผิด อีกขระพระคาถานี้ว่า :-
๕. กามโต ชายตี โสโก กามโต ชายตี ภยํ
กามโต วิปฺปมุตฺตสฺส นตฺถิ โสโก กุโต ภยํ.
“ ความโศกย่อมเกิดแต่กาม ภัยย่อมเกิดแต่
กาม; ความโศกย่อมไม่มีแก่บุคคลผู้พ้นวิเศษแล้ว
จากกาม, ภัยจักมีแต่ไหน. ”
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十一月 06, 2020

Nai Bot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/445/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ที่พึ่ง คือ มีธรรมเป็นเกาะ มีธรรมเป็นที่พึ่ง ไม่มีสิ่งอื่นเป็นที่พึ่งอยู่. ภิกษุ
เหล่านี้นั้นเป็นผู้ใคร่ต่อการศึกษา จักเป็นผู้เลิศ.
จบเจลสูตรที่ ๔

อรรถกถาเจลสูตร

พึงทราบอธิบายใน เจลสูตรที่ ๔.
บทว่า เมื่อพระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ปรินิพพาน
แล้วไม่นาน ความว่า เมื่อพระอัครสาวกทั้งสองปรินิพพานนานแล้วหามิได้
ก็บรรดาพระอัครสาวกทั้งสองนั้น พระธรรมเสนาบดี ปรินิพพานในวันเพ็ญ
เดือนสิบสอง จากนั้นล่วงมาครึ่งเดือน ในวันอุโบสถแห่งกาฬปักข์กึ่งเดือน
นั้น พระมหาโมคคัลลานะจึงปรินิพพาน พระศาสดา เมื่อพระอัครสาวกทั้ง
สองปรินิพพานแล้ว มีหมู่ภิกษุใหญ่แวดล้อมเสด็จจาริกไปในมหามณฑลชนบท
เสด็จถึงอุกกเจลนครโดยลำดับอาทิผิด อักขระ เสด็จไปบิณฑบาตในอุกกเจลนครนั้น แล้ว
ประทับอยู่บนหาดทรายมีสีดุจแผ่นเงิน ที่ฝั่งแม่น้ำคงคา เพราะเหตุนั้น ท่านจึง
กล่าวว่า เมื่อพระสารีบุตร และพระโมคคัลลานะ ปรินิพพานแล้วไม่นาน.
แม้ในอาทิผิด บทว่า ลำต้นที่ใหญ่กว่าเหล่านั้นใด พึงทำลาย มีอธิบายว่า หมู่
ภิกษุเปรียบเหมือนต้นหว้าใหญ่สูงร้อยโยชน์ พระอัครสาวกทั้งสองเปรียบเหมือน
ลำต้น ที่ใหญ่ทั้ง ๒ ประมาณห้าสิบโยชน์ที่แผ่ไปทั้งเบื้องขวา และเบื้องซ้ายแห่ง
ต้นไม้นั้น. คำที่เหลือ ควรประกอบในนัยก่อนนั่นเทียว.
จบอรรถกถาเจลสูตรที่ ๔
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十一月 04, 2020

Bangkhom

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/569/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไม่สามารถจะเฉี่ยวเอาไปได้. นาคธตรฐ เป็นนาคราชา แม้นาค
ธตรฐเหล่านั้น ครุฑตัวไหนก็ไม่สามารถจะเฉี่ยวเอาไปได้.
ส่วนนาคเหล่าใด อยู่ในมหาสมุทร สัตตสีทันดร ครุฑตัวไหน
ก็ไม่สามารถจะเฉี่ยวเอานาคเหล่านั้นไปได้ เพราะเหตุที่ใคร ๆ
ไม่สามารถจะทำให้หวั่นไหวได้ในที่ไหน ๆ (ในมหาสมุทรสัตตสีทันดรนั้น).
สำหรับพวกนาคที่อยู่ตามพื้นดินเป็นต้น จะมีโอกาสที่หลบซ่อน
อยู่ ฉะนั้นครุฑจึงไม่สามารถจะเฉี่ยวเอานาคแม้เหล่านั้นไปได้.
ส่วนนาคเหล่าใดอยู่บนหลังละลอกคลื่นในมหาสมุทร ครุฑลางตัว
ที่ทัดเทียมกันหรือประณีตกว่า จะไม่สามารถเฉี่ยวเอานาคเหล่านั้นไปได้.
บทที่เหลือ มีนัย (ความหมาย) ดังกล่าวแล้วในนาคสังยุตนั่นแล.
จบ อรรถกถาหรติสูตรที่ ๒
จบ อรรถกถาสุปัณณสังยุต

๓. ทวยการีสูตรที่ ๑

[๕๓๓] กรุงสาวัตถี. ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
ถึงที่ประทับ ถวายบังคมอาทิผิด พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วน
ข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อะไรหนอเป็นเหตุเป็นปัจจัยให้บุคคลบางคนในโลกนี้ เมื่อตายไป ย่อม
เข้าถึงความเป็นสหายของพวกครุฑที่เป็นอัณฑชะ พระเจ้าข้า ?
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ บุคคลบางคนในโลกนี้
เป็นผู้กระทำกรรมทั้งสองด้วยกาย ด้วยวาจา ด้วยใจ เขาได้สดับมาว่า
๑. สูตรที่ ๓ เป็นต้นไป ไม่มีอรรถกถาแก้ไว้
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 十一月 02, 2020

Evam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/550/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ประการทั้งปวงอยู่ อาวุโส เรามิได้คิดอย่างนี้ว่า เราเข้าสัญญา-
เวทยิตนิโรธอยู่ หรือว่าเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว หรือว่าออกจาก
สัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว แท้จริง ท่านพระสารีบุตร ถอนอหังการ
มมังการ และมานานุสัยออกได้นานแล้ว ฉะนั้น ท่านพระสารีบุตรจึง
มิได้คิดอย่างนี้ว่า เราเข้าสัญญาเวทยิตนิโรธอยู่ หรือว่าเข้าสัญญา-
เวทยิตนิโรธแล้ว หรือว่าออกจากสัญญาเวทยิตนิโรธแล้ว.
จบ สัญญาเวทยิตนิโรธสูตรที่ ๙

๗. อรรถกถาสารีปุตตสังยุต

อรรถกถาสูตรที่ ๑-๙
พึงทราบวินิจฉัยในสูตรที่ ๑ แห่งสารีปุตตสังยุต ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า น เอวํอาทิผิด สระ โหติ ความว่า เพราะท่านละอหังการ
(ความสำคัญว่าเรา) และมมังการ (ความสำคัญว่าของเรา) ได้แล้ว
จึงไม่มีความคิดอย่างนี้.
แม้ในสูตรที่ ๒ เป็นต้น (จนถึงสูตรที่ ๙) ก็มีนัย (ความหมาย
อย่างเดียวกัน) นี้.
จบ อรรถกถาสูตรที่ ๑-๙
 
พระปิฎกธรรม