星期三, 十一月 11, 2020

Chanthima

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/605/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้งนั้น ท่านพระโมคคัลลานะได้กราบทูลเรื่องนั้นถวายพระผู้มี-
พระภาคเจ้า ตามทำนองที่ตนและเทพบุตรพูดกัน พระศาสดาทรงภาษิต
เนื้อความแล้ว ทรงทำเรื่องนั้นให้เป็นอัตถุปปัตติเหตุเกิดเรื่อง ตรัส
พระพุทธพจน์ว่า ทิสฺวาน เทวํ ปฏิปุจฺฉิ ภิกฺขุ เป็นต้น เพื่อทรง
แสดงธรรมโปรดแด่บริษัทที่ประชุมกันอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เทวํ ได้แก่ โคปาลเทพบุตร. พระ-
ศาสดาตรัสว่า ภิกฺขุ ทรงหมายถึงท่านพระมหาโมคคัลลานะ ด้วยว่า
ท่านพระโมคคัลลานะนั้น ชื่อว่า ภิกษุ เพราะทำลายกิเลสโดยประการ
ทั้งปวง. ตรัสว่า จิรฏฺฐิติเก เพราะวิมานตั้งมั่นตลอดกาลเป็นอันมาก
หรือตั้งอยู่ชั่วกัปทีเดียว. บางท่านกล่าวว่า จิรฏฺฐิติกํ ก็มี. บทว่า
จิรฏฺฐิติกํ นั้น พึงเชื่อมกับบท เทวํ นี้ ความจริง เทวบุตรแม้นั้น
ควรจะเรียกได้ว่า จิรฏฺฐิติเก เพราะดำรงอยู่ในวิมานนั้นถึงสามโกฏิหก
ล้านปี. บทว่า ยถาปี จนฺทิมาอาทิผิด อักขระ ความว่า เหมือนจันทเทพบุตรไพโรจน์
อยู่ในทิพยวิมานของตน ซึ่งรุ่งเรืองด้วยข่ายรัศมีที่น่ารักเย็นและเป็นที่จับ
ใจ. พึงประกอบคำที่เหลือว่า ไพโรจน์อยู่ฉันนั้น.
บทว่า อลงฺกโต เป็นต้น เป็นบทแสดงอาการที่เทพบุตรนั้นถูก
พระเถระถาม. บทนั้นมีนัยดังกล่าวแล้วแม้ในหนหลังนั่นแล.
บทว่า สงฺคมฺมอาทิผิด อักขระ ได้แก่ เกี่ยวข้อง. อีกอย่างหนึ่ง บทว่า สงฺคมฺน
ได้แก่ สงเคราะห์ แม้จะมีอรรถว่าเหตุในที่นี้ท่านทำไว้ภายใน อธิบายว่า
หลายคนร่วมกัน. บทว่า อาคา แปลว่า มาแล้ว. บทว่า มาเส ได้
แก่ กล้าถั่วราชมาษ.
 
พระปิฎกธรรม

1 条评论:

Niruttisabha. 说...

๘๖/๒๘๕ ... เป็นธรรมค้ำจุนเท่านั้น ไม่เป็นธรรมให้เกิด