Sakwa
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/362/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาชีวะ. ภิกษุนั้นแหละ ย่อมถูกครหา ในปัจจุบัน ทั้งในเบื้องหน้า ก็ชื่อว่า
เป็นผู้ขวนขวายในอบาย ภิกษุนั้น เมื่อให้ไม้ไผ่อันเป็นของเฉพาะตนย่อม
ต้องอาบัติทุกกฏ ชื่อว่า กุลทูสกะ (ผู้ประทุษร้ายตระกูล) เมื่อให้ไม้ไผ่อัน
เป็นของเฉพาะของคนอื่น ย่อมต้องอาบัติ ด้วยเถยยจิต (ขโมย) สงฆ์พึง
กระทำทัณฑกรรมแก่เธอตามราคาสิ่งของนั้น. แม้การให้ไม้ไผ่อันเป็นของสงฆ์
ก็นัยนี้เหมือนกัน. ก็ถ้าว่า ภิกษุย่อมให้ไม้ไผ่นั้น เพราะความที่ตนเป็นใหญ่
เธอก็จะต้องอาบัติ เพราะการสละครุภัณฑ์.
ไม้ไผ่ประเภทไหนเป็นครุภัณฑ์ ประเภทไหนไม่เป็น พึงทราบ
ความดังต่อไปนี้.
ไม้ไผ่ใด ที่ไม่ได้ปลูกไว้ เกิดขึ้นเองก่อน ไม้ไผ่นั้นเป็นครุภัณฑ์
ตามฐานะที่สงฆ์กำหนดเท่านั้น นอกนั้น ไม่เป็นครุภัณฑ์. ไม้ไผ่ทั้งปวง
เป็นครุภัณฑ์ โดยประการทั้งปวง ในอันที่สงฆ์ปลูกไว้แล้ว. ไม้ไผ่นั้น
ท่านกำหนดแล้วโดยประมาณ. จริงอยู่ มีประมาณหนึ่งทะนานตวงน้ำมัน
จัดเป็นครุภัณฑ์ ต่ำกว่านั้นไม่เป็น. อนึ่ง ภิกษุใด มีความต้องการด้วย
ทะนานตวงน้ำมัน หรือต้องการไม้เท้า สงฆ์พึงถือเอาสิ่งนั้นกระทำให้เป็น
ผาติกรรม๑ เถิด. ผาติกรรมเป็นของมีราคา หรือเป็นของมากกว่าของสงฆ์
ย่อมควร น้อยกว่า ไม่ควร. แม้หัตถกรรม ลักว่าอาทิผิด อักขระวัตถุเป็นเครื่องนำน้ำไป
หรือว่า วัตถุเป็นเครื่องดายหญ้าอันเล็กน้อย ก็เช่นเดียวกัน สงฆ์ควรทำ
ผาติกรรมนั้นให้ถาวร. เพราะฉะนั้น การที่ภิกษุโกยเลนขึ้นจากสระน้ำก็ดี
ใช้ให้บุคคลปูลาดพื้นที่บันไดเพื่อทำพื้นที่ไม่เสมอให้เสมอกันก็ดี ควรอยู่ แต่ไม่
ต้องถือเอาเครื่องผาติกรรม คือ เมื่อเธออาศัยอยู่ที่นั้นนั่นแหละพึงใช้สอย เมื่อ
๑. ผาติกรรม หมายถึงสิ่งของแลกเปลี่ยน ในทางพระวินัย หมายถึง การชดเชยของสงฆ์
ด้วยสิ่งอื่น
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论