turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/894/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จัดคนไม่เลือกหน้าอาทิผิด อักขระ เหมือนดาบที่เขาลับแล้ว
ปกปิดไว้ ฉะนั้น.
[๑๔๒๗] คนบางพวกในโลกนี้ คอยเพ่งโทษ
เข้าไปหาด้วยอุบายต่าง ๆ ด้วยคำพูดอันคมคาย
ซึ่งไม่ตรงกับน้ำใจ ด้วยสามารถแห่งคนเทียม
มิตร แม้คนเช่นนี้ก็ไม่ควรคุ้นเคย.
[๑๔๒๘] คนมีความคิดชั่วเช่นนั้น พบเห็นอามิส
หรือทรัพย์เข้า ณ ที่ใด ย่อมคิดประทุษร้าย
และครั้นได้แล้วก็ละสหายนั้นไป.
[๑๔๒๙] มีคนจำนวนมากที่ปลอมเป็นมิตรมาคบ
หา บุคคลพึงละบุรุษชั่วเหล่านั้นเสีย เหมือน
ไก่ละเหยี่ยว ฉะนั้น.
[๑๔๓๐] อนึ่ง บุคคลใดไม่รู้เท่าเหตุที่เกิดขึ้นได้
ฉับพลัน หลงไปตามอำนาจศัตรู บุคคลนั้น
ย่อมเดือดร้อนในภายหลัง.
[๑๔๓๑] ส่วนบุคคลใดรู้เท่าทันเหตุที่เกิดขึ้นได้
ฉับพลัน บุคคลนั้นย่อมพ้นจากการเบียดเบียน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 42/305/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/145/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถึงความที่สัตว์ทั้งหลายเป็นผู้มีอธิมุติต่าง ๆ กัน และมีอัธยาศัยต่าง ๆ กัน
และทรงทราบตลอดด้วยดีเพียงใด.
บัดนี้ เพื่อจะแสดงความที่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น ทรง
ทราบดีแล้ว ท่านจึงกล่าวคำว่า ก็สุปปิยปริพาชกนี้ ดังนี้เป็นต้น. มีคำ
อธิบายว่า ก็ความที่สัตว์ทั้งหลายมีอธิมุติต่างกัน มีอัธยาศัยต่างกัน มี
ทิฏฐิต่างกัน มีความพอใจต่างกัน มีความชอบใจต่างกัน นี้ใด อันพระ
ผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบด้วยพระสัพพัญญุตญาณอันเป็นเครื่องรู้ความที่
สัตว์ทั้งหลายมีอธิมุติต่างกัน ดุจทรงตวงด้วยทะนาน และดุจทรงชั่งด้วย
ตาชั่ง โดยพระบาลีอย่างนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ว่าโดยธาตุ สัตว์ทั้ง-
หลายย่อมเทียบเคียงกันเข้าได้ คือพวกที่มีอธิมุติเลวก็เทียบเคียงเข้ากันได้
กับพวกที่มีอธิมุติเลว พวกที่มีอธิมุติดีก็เทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มี
อธิมุติอาทิผิด สระดี ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย แม้อดีตกาล ว่าโดยธาตุ สัตว์ทั้งหลายก็
เทียบเคียงเข้ากันได้ คือพวกที่มีอธิมุติเลวก็เทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มี
อธิมุติเลว พวกที่มีอธิมุติดีก็เทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มีอธิมุติดี ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย แม้อนาคตกาล ว่าโดยธาตุ สัตว์ทั้งหลายจักเทียบเคียงเข้า
กันได้ คือพวกที่มีอธิมุติเลวก็จักเทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มีอธิมุติเลว
พวกที่มีอธิมุติดีก็จักเทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มีอธิมุติดี ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย แม้ปัจจุบันกาลเดี๋ยวนี้ ว่าโดยธาตุ สัตว์ทั้งหลายย่อมเทียบเคียง
เข้ากันได้ คือพวกที่มีอธิมุติเลวก็เทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มีอธิมุติเลว
พวกที่มีอธิมุติดีก็เทียบเคียงเข้ากันได้กับพวกที่มีอธิมุติดี ดังนี้ ความที่
สัตว์ทั้งหลายมีอธิมุติต่างกันนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบดีแล้ว
เพียงใด ขึ้นชื่อว่าสัตว์ถึงสองคนมีอัธยาศัยอย่างเดียวกัน หาได้ยากในโลก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 87/61/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โคตรภู
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่โวทาน
โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค
โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค
มรรค เป็นปัจจัยแก่ผล
ผล เป็นปัจจัยแก่ผล
อนุโลม เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ
เนวสัญญานาสัญญายตนะ ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่
ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๒] ๖. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ทัสสเนนปหาตัพพธรรม ฯลฯ
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
[๖๙๓] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพธรรม เป็นปัจจัย
แก่ภาวนายปหาตัพพธรรม ด้วยอำนาจอาทิผิด อักขระของอนันตรปัจจัย
คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นภาวนายปหาตัพพ-
ธรรม ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/181/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีสมุทรเป็นขอบเขตอาทิผิด อักขระนั้น โดยทำนองนั้นแหละ ก็พัดผันข้ามสมุทรด้านทิศปัจฉิม
ไปโดยวิธีนั่นแหละ เพื่อพิชิตอุตตรกุรุทวีป ซึ่งมีเนื้อที่ประมาณ ๘,๐๐๐ โยชน์
ครั้นมีชัยชนะอุตตรกุรุทวีป แม้นั้น ซึ่งมีสมุทรเป็นขอบเขตด้วยวิธีอย่างเดียวกัน
ก็พัดผันข้ามมาจากสมุทรด้านทิศอุดร. พระเจ้าจักรพรรดิทรงบรรลุความเป็นผู้
ยิ่งใหญ่ในแผ่นดิน มีสมุทร ๔ เป็นขอบเขต ด้วยประการดังพรรณนามานี้.
พระเจ้าจักรพรรดินั้นมีชัยชนะเด็ดขาดเช่นนี้แล้ว เพื่อจะทรงทอดพระ
เนตรสิริราชสมบัติของพระองค์ จึงทรงพร้อมด้วยบริษัทเหาะขึ้นสู่พื้นนภากาศ
ชั้นบน ตรวจดูทวีปใหญ่ทั้ง ๔ มีทวีปน้อย ๆ ทวีปละอาทิผิด อาณัติกะ ๕๐๐ เป็นบริวาร
ดุจชาตสระทั้ง ๔ ทิศงามไปด้วยหมู่ไม้ต่าง ๆ เช่น ปทุม อุบลและบุณฑริกที่
แย้มดอกบานสล้างฉะนั้น แล้วเสด็จกลับราชธานีเดิมของพระองค์ ตามลำดับ
โดยมรรคาอาทิผิด ที่แสดงไว้แล้วในจักกุทเทสอาทิผิด อักขระนั่นแล.
ครั้งนั้นจักรรัตนะนั้น ประดิษฐานอยู่เหมือนเป็นเครื่องเสริมความงาม
ให้ประตูพระราชวัง ก็เมื่อจักรรัตนะนั้นประดิษฐานอยู่เช่นนี้ กิจที่จะพึงกระทำ
เกี่ยวกับคบเพลิงก็ดี การตามประทีปก็ดี ไม่จำต้องมีในพระราชวัง แสงสว่าง
แห่งจักรรัตนะนั้นแหละกำจัด ความมืดในยามราตรีได้ ส่วนคนเหล่าใดต้องการ
ความมืด คนเหล่านั้นก็ได้ความมืด ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ทุกฺขิณสมุทฺทํ
อชฺโฌคาเหตฺวา ฯเปฯ เอวรูปํ จกฺกรตนํ ปาตุภวติ ดังนี้.
ก็อำมาตย์ของพระเจ้าจักรพรรดิ ผู้มีจักรรัตนะปรากฏแล้วอย่างนี้
สั่งให้ทำความสะอาดภูมิภาค อันเป็นที่อยู่ของมงคลหัตถีโดยปกติ ให้ลูบไล้
ด้วยของหอมที่ชวนดมมีจันทน์แดงเป็นต้น เบื้องล่างให้เกลื่อนกล่นไปด้วย
โกสุมที่ชวนชมมีวรรณะอันวิจิตร เบื้องบนตบแต่งด้วยดาวทอง มีเพดาน
ประดับไปด้วยพวงโกสุมน่าชินชม รวมอยู่เป็นกลุ่ม ในระหว่างดาวทอง แต่ง
ให้งดงามดุจเทพวิมานแล้วกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ ขอพระองค์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/4/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/286/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นางปรารถนาสมบัติ ๓ จึงถวายอาทิผิด อาณัติกะ เจ้าจักอาจเพื่อให้สมบัติอาทิผิด สระเหล่านั้นแก่นางได้
หรือไม่ คิดว่า เจ้ายังมีราคะ โทสะ โมหะอยู่ ไม่อาจรับบิณฑบาตนี้ได้
ดังนี้ แล้วจึงใส่บาตรไว้ในถุง ปลดรังดุม กลับไปยังถ้ำกสกะนั่นแล วางบาตร
ไว้ภายใต้เตียง พาดจีวรไว้ที่ราวจีวร นั่งตั้งใจมั่น ทำความเพียรว่า เราไม่
บรรลุพระอรหัตแล้ว จักไม่ออกไป ดังนี้. ภิกษุอยู่ไม่ประมาทตลอดกาลนาน
เจริญวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตก่อนภัตเป็นมหาขีณาสพ ทำการแย้มออกไป
ดุจปทุมกำลังแย้ม. เทพยดาสิงอยู่ที่ต้นไม้ใกล้ประตูถ้ำอาทิผิด อาณัติกะ เปล่งอุทานว่า
ข้าแต่บุรุษอาชาไนย ความนอบน้อม
จงมีแด่ท่าน ข้าแต่บุรุษผู้สูงสุด ความ
นอบน้อมจงมีแด่ท่าน ข้าแต่ท่านนฤทุกข์
ท่านเป็นทักขิไณยบุคคล ผู้มีอาสวะสิ้น
แล้ว ดังนี้
จึงเรียนว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ หญิงแก่ถวายภิกษาแก่พระอรหันต์เช่นท่าน ผู้เข้า
ไปบิณฑบาตอาทิผิด อักขระแล้ว จักพ้นจากทุกข์. พระเถระลุกขึ้นเปิดประตูมองดูเวลา รู้ว่า
ยังเช้าอยู่ จึงถือเอาบาตรและจีวรเข้าไปยังบ้าน. ฝ่ายนางทาริกา จัดภัตไว้
พร้อมแล้ว นั่งแลดูประตูอยู่ว่า พระพี่ชายของเราจักมาบัดนี้ พระพี่ชายของ
เราอาทิผิด สระจักมาบัดนี้ . เมื่อพระเถระถึงประตูเรือน นางรับบาตร บรรจุบาตรให้เต็ม
ด้วยบิณฑบาต น้ำนม ประกอบด้วยเนยใสและน้ำอ้อย วางไว้ในมือ. พระเถระ
ทำอนุโมทนาว่า จงมีความสุขเถิด เสร็จแล้วก็หลีกไป. แม้นางก็ยืนแลดู
พระเถระนั้นอยู่. เพราะว่าผิวพรรณของพระเถระในวันนั้นบริสุทธิ์ยิ่งนัก
อินทรีย์ก็ผ่องใส สีหน้าเปล่งปลั่งดังตาลสุกหลุดจากขั้ว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 7/1/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/229/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/2/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/434/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 81/37/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/200/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 75/129/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/135/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/441/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”