NIRUTTI SAPHA 88N C6 700


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 601

๒.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ   และ    สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น  โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม       เป็น

ปัจจัยแก่โลภะ  และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโทมนัส   เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ  และจิตตสมุฏ-

ฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น  ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม

และโลภะ   ย่อมเกิดขึ้น.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 602

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม       เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,  โลภะ    และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.

อธิปติธรรมที่สหรคตด้วยโทมนัส เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

ปฏิฆะ   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ   และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

บุคคลให้ทาน  ฯลฯ  ศีล ฯลฯ   อุโบสถกรรมแล้ว  ฯลฯ   กระทำกุศล

กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว   พิจารณา.

บุคคลกระทำกุศลกรรมทั้งหลาย  ที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อนให้เป็น

อารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว   พิจารณา.

บุคคลออกจากฌาน      กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว

พิจารณา.

พระอริยะทั้งหลาย   ออกจากมรรค   กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่นแล้วพิจารณากระทำผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา,

กระทำนิพพานให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น   แล้วพิจารณา.

นิพพาน   เป็นปัจจัยแก่โคตรภู,   แก่โวทาน,    แก่มรรค,   แก่ผล,  ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 603

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม และโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น   ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว    ราคะที่เป็น

คันถวิปปยุตตธรรม   ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม      เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

๕.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว   คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

ทาน ฯลฯ  ศีล ฯลฯ  อุโบสถกรรม ฯลฯ

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน   พิจารณาฌาน ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม    และโลภะ   ให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่น    ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว     ราคะ

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   ย่อมเกิดขึ้น  ทิฏฐิ   ย่อมเกิดขึ้น.

๖.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว   คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ  ได้แก่


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 604

เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ   ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตต-

ธรรม   และโลภะ   ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และโลภะ   ย่อมเกิดขึ้น.

๗.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว  คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

ธรรม  และโลภะ  ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัม-

ปยุตตธรรม   ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๘)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

ธรรม   และโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น   โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

ธรรม   ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๙)

เพราะกระทำขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

ธรรม    และโลภะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น    ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วย

โลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และโลภะ   ย่อมเกิดขึ้น.

 

๔.  อนันตรปัจจัย

[๕๔๙] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 605

คือ  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     ที่เกิดก่อน ๆ    เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๒)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ     ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่

เกิดก่อน ๆ    เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม      ที่เกิดหลัง ๆ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ

ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ   ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่เกิด

ก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตต-

ธรรม  ที่เกิดหลัง ๆ   และโลภะ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   ที่เกิดก่อน ๆ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    ที่เกิดหลัง ๆ    และปฏิฆะ     ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 606

คือ   โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   ที่เกิดก่อน ๆ   เป็นปัจจัยแก่

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปฏิฆะที่สหรคตด้วยโทมนัส  ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ ที่เกิด

หลัง ๆ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม   ที่เกิดก่อน ๆ   เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม  ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

อนุโลม   เป็นปัจจัยแก่โคตรภู   แก่ผลสมาบัติ  ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

๕.   คันถวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่คัยถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ  โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่เกิดก่อน ๆ   เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   ที่เกิดหลัง ๆ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปฏิฆะ  ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส

ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๖.  คันถวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 607

คือ  โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และ

โลภะ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ปฏิฆะ  ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส

ที่เกิดหลัง ๆ   และปฏิฆะ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ    ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  และโลภะ   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และ

ปฏิฆะ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕.  คันถสัมปยุตตธรรม     และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ  ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่

เกิดก่อน ๆ  และโลภะ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส  ที่เกิดก่อน ๆ  และปฏิฆะ   เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    ที่เกิดหลัง ๆ    ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๗)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกิด

ก่อน ๆ   และโลภะ    เป็นปัจจัยแก่โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   ที่เกิด

หลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 608

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    ที่เกิดก่อน ๆ  และปฏิฆะ   เป็น

ปัจจัยแก่ปฏิฆะ  ที่เกิดหลัง ๆ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ   ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ,   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส  และปฏิฆะ   เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  ที่เกิด

ก่อน ๆ    และโลภะ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ    ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม ที่เกิดหลัง ๆ และโลภะ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    ที่เกิดก่อนๆ  และปฏิฆะ   เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   ที่เกิดหลัง ๆ   และปฏิฆะ   ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

๕.  สมนันตรปัจจัย  ฯลฯ  ๘.  นิสสยปัจจัย

๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

 

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 609

๙.  อุปนิสสยปัจจัย

[๕๕๐] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ   อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๒)

พึงกระทำอุปนิสสยปัจจัย  ทั้ง ๓ นัย

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

เป็นคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๓)

พึงกระทำอุปนิสสยปัจจัย  ทั้ง ๓ นัย

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

สหรคตด้วยโลภะ   ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และโลภะ   ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย,    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    และปฏิฆะ

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔.   คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 610

มี  ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ    อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว    ให้ทาน ฯลฯ    ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น

ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ  ราคะ  โทสะ  โมหะ  มานะ  ความปรารถนา

สุขทางกาย   ทุกข์ทางกาย   อุตุ   โภชนะ  ฯลฯ    เสนาสนะ   แล้วให้ทาน  ฯลฯ

ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น  ฆ่าสัตว์ ฯลฯ  ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ  ปัญญา  ราคะ ฯลฯ  ความปรารถนา  เสนาสนะ  เป็น

ปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ    แก่ปัญญา   แก่ราคะ   แก่โทสะ   แก่โมหะ   แก่มานะ

แก่ความปรารถนา  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ   อนันตรูปนิสสยะ   และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว   ก่อมานะ   ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล  ฯลฯ   ปัญญา   ราคะ  ฯลฯ    มานะ   ความ

ปรารถนา ฯลฯ   เสนาสนะแล้ว   ฆ่าสัตว์ ฯลฯ  ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ   เสนาสนะ   เป็นปัจจัยแก่   ราคะ   แก่โทสะ   แก่โมหะ

แก่มานะ   แก่ทิฏฐิ   แก่ความปรารถนา  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 611

๖.  คันถวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม     และคันถวิปปยุตตธรรม     ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มีอุปนิสสยะทั้ง ๓ นัย.

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว   ก่อมานะ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ   ปัญญา   ราคะ   โทสะ   โมหะ  มานะ.

ความปรารถนา  สุขทางกาย ฯลฯ   เสนาสนะแล้ว  ฆ่าสัตว์  ฯลฯ  ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ  ปัญญา ราคะ โทสะ โมหะ  ความปรารถนา  เสนาสนะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ    ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม

และโลภะ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะ   ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗.  คันถสัมปยุตตธรรม     และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม   ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ   อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ   ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  และ

โลภะ,  ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๘)


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 612

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ   และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม  แก่โลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  และ

ปฏิฆะ  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๙)

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ  และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะ    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์

ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ    ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และโลภะ    เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส     และปฏิฆะ     ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

 

๑๐.  ปุเรชาตปัจจัย

[๕๕๑] ๑.  คันถวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น   อารัมมณปุเรชาตะ   และ   วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ   หทยวัตถุ   โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ    ย่อมยินดี    ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง    เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   ราคะ

ที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม  ย่อมเกิดขึ้น  วิจิกิจฉา ฯลฯ  อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส

ย่อมเกิดขึ้น.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 613

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ,   ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ   เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ   โผฏฐัพพายตนะ  เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น  วัตถุปุเรชาตะ  ได้แก่

จักขายตนะ  เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ  กายายตนะ  เป็นปัจจัย

แก่กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  และปฏิฆะ  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๒.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น   อารัมมณปุเรชาตะ   และ   วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  ซึ่งจักษุ  ฯลฯ  หทยวัตถุ  เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   ราคะที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น  ทิฏฐิ ฯลฯ

โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  วัตถุปุเรชาตะ  ได้แก่

หทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๓.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 614

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น   อารัมมณปุเรชาตะ   และ  วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ   หทยวัตถุ   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ

ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม,   โลภะ,  ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส  และ

ปฏิฆะ  ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  วัตถุปุเรชาตะ  ได้แก่

หทยวัตถุ    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ     ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม,  โลภะ,   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส และปฏิฆะ

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

 

๑๑.  ปัจฉาชาตปัจจัย

[๕๕๒] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย   มี ๑ วาระ.

๒.  คันถวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม   ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย  มี ๑ วาระ.

๓.  คันถสัมปยุตตธรรม     และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ   ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม

ที่เกิดภายหลัง    และโลภะ,     ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส     และปฏิฆะ

เป็นปัจจัยแก่กายนี้    ที่เกิดก่อน  ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 615

๑๒.  อาเสวนปัจจัย

[๕๕๓] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม   ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย

เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

อาวัชชนะก็ดี  วุฏฐานะก็ดี  ไม่มี.

 

๑๓. กัมมปัจจัย

[๕๕๔] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ    เจตนาที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๒.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ  และ  นานาขณิกะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

เจตนาที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่    จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะ   ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัย

แก่โลภะ   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 616

เจตนาที่สหรคตด้วยโทมนัส  เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ และจิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น  นานาขณิกะ  ได้แก่

เจตนาที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์     และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

คือ    เจตนาที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,  โลภะ    และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของ

กัมมปัจจัย.

เจตนาที่สหรคตด้วยโทมนัส      เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

ปฏิฆะ   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ   และ    นานาขณิกะ

ที่เป็น   สหชาตะ   ได้แก่

เจตนาที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์  และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

ที่เป็น  นานาขณิกะ  ได้แก่


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 617

เจตนาที่เป็นคันถวิปปยุตตธรรม     เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์     และ

กฏัตตารูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 

๑๔.  วิปากปัจจัย

[๕๕๕] ๑.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย   มี ๑ วาระ.

 

๑๕.  อาหารปัจจัย   ฯลฯ      ๑๙.  สัมปยุตตปัจจัย

[๕๕๖] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย  มี ๔ วาระ.

ฯลฯ    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย  มี ๔ วาระ

ฯลฯ    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย  มี ๔ วาระ

ฯลฯ    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย   มี ๖ วาระ

ฯลฯ    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย   มี ๖ วาระ

 

๒๐.  วิปปยุตตปัจจัย

[๕๕๗]  ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น   สหชาตะ   และ   ปัจฉาชาตะ ฯลฯ

พึงจำแนก.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 618

๒.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

๓.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว   คือที่เป็น   ปุเรชาตะ  ได้แก่

หทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   ด้วย

อำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มีอย่างเดียว   คือที่เป็น   ปุเรชาตะ  ได้แก่

หทยวัตถุ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ     ที่เป็น

ทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรมและ  โลภะแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส  และ

ปฏิฆะ  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  สหชาตะ  ปุเรชาตะ  และ  ปัจฉาชาตะ  ฯลฯ

๕.  คันถสัมปยุตตธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรมเป็น

ปัจจัยแก่คันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น  สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย    ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 619

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส    และปฏิฆะ    เป็นปัจจัยแก่จิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และ

โลภะ   และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะที่เกิดภายหลัง   เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน  ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.

 

๒๑.  อัตถิปัจจัย

[๕๕๘] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย   มี ๑ วาระ  เหมือนกับปฏิจจวาระ.

๒.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ และ ปัจฉาชาตะ ฯลฯ  พึงจำแนก.

๓.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม   โดยอัตถิปัจจัย   มี ๑ วาระ   เหมือน

กับปฏิจจวาระ.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง   คือที่เป็น   สหชาตะ  ปุเรชาตะ  ปัจฉาชาตะ  อาหาระ

และ   อินทริยะ  ฯลฯ   พึงจำแนก.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 620

๕.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น  สหชาตะ   และ   ปุเรชาตะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม       เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง

หลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ปฏิฆะที่สหรคตด้วยโทมนัส       เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น   ปุเรชาตะ  ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี   ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง   ซึ่งจักษุ ฯลฯ   หทยวัตถุ เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น      ราคะที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ฯลฯ    ทิฏฐิ  ฯลฯ

โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

หทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

๖. คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น   สหชาตะ และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น   สหชาตะ   ได้แก่

โลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม     ที่เกิดพร้อมกัน    เป็นปัจจัยแก่

สัมปยุตตขันธ์   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 621

ปฏิฆะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น   ปุเรชาตะ   ได้แก่

เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ   ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่

เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม และ โลภะ  และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส

และปฏิฆะ   ย่อมเกิดขึ้น

หทยวัตถุ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิ-

คตวิปปยุตตธรรม   และ   โลภะ,    แก่ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และ

ปฏิฆะ    ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๗.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม  ด้วยอานาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือ   สหชาตะ และ สหชาตะ  รวมกับ ปุเรชาตะ

ที่เป็น  สหชาตะ รวมกับ ปุเรชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑    ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดพร้อมกัน     และหทยวัตถุ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑  ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม    และโลภะ

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ   ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ขันธ์ ๑   ที่สหรคตด้วยโทมนัส     และปฏิฆะ    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ  ขันธ์ ๒.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 622

๘.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ,   ปัจฉาชาตะ   รวมกับ    ปุเรชาตะ

ปัจฉาชาตะ  และ ปัจฉาชาตะ  รวมกับ  อาหาระ และรวมกับ  อินทริยะ

ที่เป็น  สหชาตะ ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   ที่เกิดภายหลัง   และมหาภูต-

รูปทั้งหลาย   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  สหชาตะ   ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม      และ

โลภะ  เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น   สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัสที่เกิดพร้อมกัน    และปฏิฆะ   เป็น

ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  สหชาตะ  รวมกับ  ปุเรชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม       และ

หทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่โลภะ   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส  และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ปฏิฆะ

ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  ได้แก่


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 623

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโลภะ  ที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม  และ

โลภะ  และขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะที่เกิดภายหลัง,   เป็น

ปัจจัยแก่กายนี้    ที่เกิดก่อน  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดภายหลัง   และกวฬีการา-

หาร   เป็นปัจจัยแก่กายนี้   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรมที่เกิดภายหลัง   และรูปชีวิติน-

ทรีย์   เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม และคันถวิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจ

ของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือ   สหชาตะ   และ   ปัจฉาชาตะ   รวมกับ  ปุเรชาตะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑   ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรมที่เกิดพร้อม

กัน   และโลภะ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย      ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑    ที่สหรคตด้วยโทมนัส   และปฏิฆะ    เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ   ขันธ์  ๒ ฯลฯ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 624

ที่เป็น  สหชาตะ  รวมกัน  ปุเรชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑  ที่สหรคตด้วยโลภะที่เป็นทิฏฐิคตวิปปยุตตธรรม   และหทย-

วัตถุ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓   และโลภะ  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒

ฯลฯ

ที่เป็น  สหชาตะ  รวมกับ  ปุเรชาตะ  ได้แก่

ขันธ์ ๑  ที่สหรคตด้วยโทมนัส  และหทยวัตถุ   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓

และปฏิฆะ  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ

 

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๕๕๙]   ในเหตุปัจจัย   มี ๙ วาระ    ในอารัมมณปัจจัย   มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ    ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ  ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ  ในอัญญมัญญปัจจัย  มี ๙ วาระ ใน

นิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอุปนิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในปุเรชาตปัจจัย มี

๓ วาระ  ในปัจฉาชาตปัจจัย   มี ๓ วาระ   ในอาเสวนปัจจัย   มี ๙ วาระ   ใน

กัมมปัจจัย  มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ในอาหารปัจจัย  มี ๔ วาระ

ในอินทริยปัจจัย  มี ๔ วาระ   ในฌานปัจจัย   มี ๔ วาระ   ในมัคคปัจจัย  มี

๔ วาระ  ในสัมปยุตตปัจจัย  มี ๖ วาระ   ในวิปปยุตตปัจจัย   มี ๕ วาระ  ใน

อัตถิปัจจัย   มี ๙ วาระ   ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ    ในวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในอวิคตปัจจัย  มี ๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 625

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยในปัจจนียะ

[๕๖๐] ๑.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม     ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,   เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

๒.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม     ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,   เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัยเป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๓.  คันถสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม  และคันถวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,  เป็น

ปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,     เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุป-

นิสสยปัจจัย.

๔.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตต-

ธรรม    ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,    เป็นปัจจัย

ด้วยอานาจของปุเรชาตปัจจัย,     เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต

ปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอานาจของกัมมปัจจัย,   เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ

ของอาหารปัจจัย,  เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 626

๕.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม    ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,    เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖.  คันถวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตต-

ธรรม    และคันถวิปปยุตตธรรม     ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,     เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย,  เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม      ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,      เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๘.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถวิปปยุตตธรรม      ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย,  เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๙.  คันถสัมปยุตตธรรม      และคันถวิปปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่คันถสัมปยุตตธรรม    และวิปปยุตตธรรม   ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,   เป็น

ปัจจัย  ด้วยอานาจของอุปนิสสยปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 627

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๖๑]  ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ  ในนอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ  ในโนอวิคตปัจจัย  มี ๙ วาระ.

 

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๖๒]  เพราะเหตุปัจจัย  ในนอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ...  ใน

นอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ ฯลฯ  ในนสมนันตรปัจจัย มี ๙ วาระ  ในนอัญญ-

มัญญปัจจัย  มี  ๓ วาระ   ในนนิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๙ วาระ ฯลฯ  ในนมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ   ในนสัมปยุตตปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๖ วาระ  ในโนนัตถิปัจจัย  มี๙ วาระ  ในโนวิคตปัจจัย

มี  ๙ วาระ.

 

ปัจจนียานุโลม

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๖๓]  เพราะนเหตุปัจจัย  ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ....   ใน

อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ   พึงกระทำอนุโลมมาติกาให้พิสดาร   ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

คันถสัมปยุตตทุกะ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 628

๒๙.  คันถคันถนิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๖๔]  ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม  เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ  อภิชฌากายคันถะ   อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ,   สีลัพพต-

ปรามาสกายคันถะ  อาศัยอภิชฌากายคันถะ,  อภิชฌากายคันถะ อาศัยอิทังสัจจา-

ภินิเวสกายคันถะ,   อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ   อาศัยอภิชฌากายคันถะ.

๒.  ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม      แต่ไม่ใช่คันถธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม   เกิดขึ้น  เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ   สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   และจิตตสมุฏฐานรูป   อาศัยคันถธรรม

ทั้งหลาย.

๓.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม  และ

ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    อาศัยธรรมที่เป็น

คันถธรรมและคันถนิยธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

ปฏิจจวาระก็ดี สหชาตวาระก็ดี ปัจจยวาระก็ดี นิสสยวาระก็ดี

สังสัฏฐวาระก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี เหมือนกับ คันถทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 629

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๖๕] ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถนิยธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถนิยธรรม ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถธรรม  เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตต-

ธรรมทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๙ วาระ   พึงให้พิสดารอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

 

๒.  อารัมมณปัจจัย

[๕๖๖] ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถนิยธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม และคันถนิยธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย

คือ  เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย     ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถนิยธรรม

แต่ไม่ใช่คันถธรรม   ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๓)


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 630

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมและสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ย่อมเกิดขึ้น.

๔.  ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม     แต่ไม่ใช่คันถธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    ด้วย

อานาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ  อุโบสถกกรรม ฯลฯ  แล้วพิจารณา

ซึ่งกุศลกรรมนั้น.

กุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ  ฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลาย  พิจารณาโคตรภู,  พิจารณาโวทาน,  พิจารณากิเลส

ที่ละแล้ว  ฯลฯ   พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว,     รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้ว

ในกาลก่อน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถนิย-

ธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ   โทมนัส   ย่อม

เกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ,  ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

ทั้งหมด  พึงให้พิสดาร.

ฯลฯ  เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนะ  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕.  ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม     แต่ไม่ใช่คันถธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม   ด้วยอำนาจ

ของอารัมมณปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 631

คือ  บุคคลให้ทาน ฯลฯ  ศีล ฯลฯ   กระทำอุโบสถกรรม ฯลฯ  แล้ว

ย่อมยินดี    ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น      เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น

ราคะ  ย่อมเกิดขึ้น  ทิฏฐิ ฯลฯ  วิจิกิจฉา ฯลฯ  อุทธัจจะ ฯลฯ  โทมนัส  ย่อม

เกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌานแล้ว   พิจารณาฌาน.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ ฯลฯ  ขันธ์ทั้งหลาย  ที่เป็น

คันถนิยธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    ย่อมยินดี    ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง   เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   ราคะ  ย่อมเกิดขึ้น  ทิฏฐิ ฯลฯ  โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

๖.  ธรรมที่เป็นคันถนิยธรรม       แต่ไม่ใช่คันถธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถนิยธรรม    และธรรม

ที่เป็นคันถนิยธรรม   แต่ไม่ใช่คันถธรรม   ด้วยอำนาจของอารัมมณ-

ปัจจัย

คือ  บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ  อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว   พิจารณาฌาน ฯลฯ

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ ฯลฯ  ขันธ์ทั้งหลาย  ที่เป็น

คันถนิยธรรม   แต่ไม่ใช่คันถธรรม    ย่อมยินดี   ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง   เพราะ

ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   คันถธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ย่อมเกิดขึ้น.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 632

๓ วาระ   แม้นอกนี้    (วาระที่  ๗-๘-๙)    พึงให้พิสดารอย่างที่กล่าว

มาแล้ว     พึงกระทำ   เพราะปรารภ.

ในทุกะนี้  โลกุตตระไม่มี  เหมือนกับคันถทุกะ ไม่มีแตกต่างกัน  พึง

กาหนดคำว่า  คันถนิยะ.

ในมัคคปัจจัย  พึงกระทำ ๙ วาระ.

คันถคันถนิยทุกะ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 633

๓๐.  คันถคันถสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๖๗] ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม   และคันถสัมปยุตตธรรม   เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ  อภิชฌากายคันถะ   อาศัยสีลัพพตปรามาสกายคันถะ,   สีลัพพต-

ปรามาสกายคันถะ    อาศัยอภิชฌากายคันถะ,      อภิชฌากายคันถะ    อาศัย

อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ,  อิทังสัจจาภินิเวสกายคันถะ  อาศัยอภิชฌากายคันถะ.

๒.  ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ  สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  อาศัยคันถธรรมทั้งหลาย.

๓.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     แต่ไม่ใช่คันถธรรม    อาศัย

ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ   อภิชฌากายคันถะ   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   อาศัยสีลัพพต-

ปรามาสกายคันถะ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 634

พึงผูกจักรนัย

๔.  ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม   อาศัยธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ   ขันธ์ ๓   อาศัยขันธ์ ๑   ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   แต่ไม่ใช่

คันถธรรม ฯลฯ  ขันธ์ ๒.

๕.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   แต่ไม่ใช่คันถธรรม   เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ  คันถธรรมทั้งหลาย  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม

แต่ไม่ใช่คันถธรรม.

๖.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรม

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุ

ปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓   และคันถธรรมทั้งหลาย    อาศัยขันธ์ ๑   ที่เป็นคันถ-

สัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม ฯลฯ  ขันธ์ ๒.

๗.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม  และธรรม

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุ

ปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 635

คือ คันถธรรมทั้งหลาย  อาศัยคันถธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

๘.  ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม  อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม   และ

ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เกิดขึ้น  เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓   อาศัยขันธ์ ๑   ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   แต่ไม่ใช่

คันถธรรม  และคันถธรรมทั้งหลาย ฯลฯ  ขันธ์ ๒.

๙.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรม  เป็นคันถสัมปยุตตธรรม แต่ไม่ใช่คันถธรรม อาศัยธรรม

ที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม  และธรรมที่เป็นคันถ-

สัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ    ขันธ์ ๓    และอภิชฌากายคันถะ   อาศัยขันธ์ ๑    ที่เป็นคันถ-

สัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    และสีลัพพตปรามาสกายคันถะ ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

พึงผูกจักรนัย

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๖๘]   ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง   มี  ๙ วาระ   ในกัมมปัจจัย   มี  ๙  วาระ    ในอาหารปัจจัย

มี ๙   วาระ  ฯลฯ  ในอวิคตปัจจัย  มี๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 636

ปัจจนียนัย

๑.  นอธิปติปัจจัย

[๕๖๙]  ๑.  ธรรมที่ เป็นทั้งคันถธรรม   และคันถสัมปยุตตธรรม

อาศัยธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม    เกิดขึ้น

เพราะนอธิปติปัจจัย  ฯลฯ

ในที่นี้  นเหตุปัจจัย  ไม่มี.

[๕๗๐]  ในนอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนปัจฉาชาตปัจจัย   มี ๙ วาระ  ในนอาเสวนปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในนกัมม-

ปัจจัย มี ๓ วาระ  ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ   ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ.

การนับทั้งสองนัยแม้นอกนี้ก็ดี    สหชาตวาระก็ดี   ปัจจยวาระก็ดี

นิสสยวาระก็ดี  สังสัฏฐวาระก็ดี  สัมปยุตตวาระก็ดี   เหมือนกับปฏิจจ-

วาระอย่างที่กล่าวมาแล้ว.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 637

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๗๑] ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม   ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม   เป็น

ปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม      แต่ไม่ใช่คันถธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม  และ

ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  ด้วยอำนาจของ

เหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม   เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์   และคันถธรรมทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 638

๔.   ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม      เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม     แต่ไม่ใช่

คันถธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๕.   ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม  เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่คันถะที่เป็นสัมปยุตตธรรมทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๖.  ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์   และคันถธรรมทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๗.  ธรรมที่เป็นคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม   และคันถสัมปยุตตธรรม    ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 639

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม   และ

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    เป็นปัจจัยแก่คันถะที่เป็น

สัมปยุตตธรรมทั้งหลาย  ด้วยอานาจของเหตุปัจจัย.

๘.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม   ด้วยอำนาจ

ของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตตธรรม  และ

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๙.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

และธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม  เป็นปัจจัย

แก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม      และธรรมที่

เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   แต่ไม่ใช่คันถธรรม   ด้วยอำนาจของเหตุ

ปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นทั้งคันถธรรม   และคันถสัมปยุตตธรรม  และ

ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และคันถธรรมทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 640

๒.  อารัมมณปัจจัย

[๕๗๒] ๑.  ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรม  และคันถสัมปยุตต-

ธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นทั้งคันถธรรมและคันถสัมปยุตตธรรม

ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย คันถธรรมทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล  (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตต-

ธรรม  แต่ไม่ใช่คันถธรรม   ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล  (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภคันถธรรมทั้งหลาย    คันถธรรมทั้งหลาย     และขันธ์ทั้ง

หลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ย่อมเกิดขึ้น.

๔.  ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม  เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม   แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ   เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย   ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่

ใช่คันถธรรม    ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม    แต่ไม่ใช่คันถธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล  (วาระที่ ๕)

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย  ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  แต่ไม่ใช่คันถ-

ธรรม  คันถธรรมทั้งหลาย  ย่อมเกิดขึ้น.

พึงกระทำมูล  (วาระที่ ๖)


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 641

เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลาย     ที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม      แต่ไม่ใช่

คันถธรรม คันถธรรมและขันธ์ทั้งหลายที่เป็นคันถสัมปยุตตธรรม  ย่อมเกิดขึ้น.

๓ วาระ   แม้นอกนี้   ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

 

๓.  อธิปติปัจจัย  ฯลฯ   ๒๐.  อวิคตปัจจัย

ในอธิปติปัจจัยก็ดี  ในอนันตรปัจจัยก็ดี ในอุปนิสสยปัจจัยก็ดี เหมือน

กับอารัมมณปัจจัย   วิภังค์ไม่มี.

 

การนับจานวนวาระในอนุโลม

[๕๗๓]  ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในอารัมมณปัจจัย   มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอนันตรปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ    ในสหชาตปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในอัญญมัญญปัจจัย   มี ๙ วาระ

ในนิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอุปนิสสยปัจจัย   มี ๙ วาระ   ในอาเสวนปัจจัย

มี ๙ วาระ   ในกัมมปัจจัย  มี ๓ วาระ     ในอาหารปัจจัย   มี ๓ วาระ   ใน

อินทริยปัจจัย   มี ๓ วาระ  ในฌานปัจจัย  มี ๓ วาระ   ในมัคคปัจจัย  มี ๙

วาระ    ในสัมปยุตตปัจจัย   มี ๙ วาระ  ในอัตถิปัจจัย   มี ๙ วาระ   ในนัตถิ

ปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในวิคตปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.

อรูปธรรมเท่านั้นเป็นปัจจัย.     แต่ละอย่างพึงกระทำอย่างละ  ๓  นัย

ในอารัมมณะ  สหชาตะ   อุปนิสสยะ   พึงเปลี่ยนแปลงทั้ง ๙ วาระ  แม้ในปัญหา

วาระ   ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้วทั้งหมด.

คันถคันถสัมปยุตตทุกะ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 642

๓๑.  คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๗๔] ๑.  ธรรมที่เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยธรรม     อาศัย

ธรรมที่เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ ๑   ที่เป็นคันถวิปป-

ยุตตคันถนิยธรรม  ฯลฯ  ขันธ์ ๒  ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ  มหาภูตรูป ๑  ฯลฯ

โลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ   ฉันใด   พึงให้พิสดารฉันนั้น     ไม่มีแตก

ต่างกัน.

คันถวิปปยุตตคันถนิยทุกะ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 643

๓๒.  โอฆและโยคโคจฉกทุกะ

ปฏิจจวาระ

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๗๕]  โอฆธรรม อาศัยโอฆธรรม เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย.

โยคธรรม  อาศัยโยคธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

โคจฉกะทั้ง ๒  เหมือนกับ  อาสวโคจฉกะ  ไม่มีแตกต่างกัน.

โอฆและโยคโคจฉกทุกะ จบ

๑.  โอฆโคจฉกทุกะ  มี ๖ ทุกะ  (ทุกะที่  ๓๒ ถึง ๓๗).  โยคโคจฉกทุกะ  มี ๖ ทุกะ  (ทุกะที่

๓๘ ถึง  ๔๓)  ทุกะต่อไปคือนีวรณทุกะ  จึงเป็นทุกะที่ ๔๔


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 644

๔๔. นีวรณทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๗๖] ๑.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันท-

นิวรณ์.

อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันทนิวรณ์.

ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์  อาศัยพยาบาทนิวรณ์.

อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยพยาบาทนิวรณ์.

ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัย

พยาบาทนิวรณ์.

อุทธัจจนิวรณ์  กุกกุจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยพยาบาทนิวรณ์.

อุทธัจจนิวรณ์  อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยอุทธัจจนิวรณ์.

๒.  ธรรม ณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม

ทั้งหลาย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 645

๓.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัย

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์   อวิชชานิวรณ์   สัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยกามฉันทนิวรณ์.

พึงผูกจักรนัย

๔.   ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม      อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป     อาศัยขันธ์ ๑   ที่ไม่ใช่นีวรณ-

ธรรม  ฯลฯ  อาศัยขันธ์ ๒.

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ

๕.  นีวรณธรรม      อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  นีวรณธรรมทั้งหลาย  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม.

๖.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓,  นีวรณธรรม  และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ ๑ ที่

ไม่ใช่นีวรณธรรม  ฯลฯ  อาศัยขันธ์ ๒.

๗.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรรณธรรม  และธรรมที่ไม่

ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 646

คือ  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันท-

นิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

๘.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม  และ

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

และนีวรณธรรม ฯลฯ  อาศัยขันธ์ ๒.

๙.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัย

นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัย

ขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  และกามฉันทนิวรณ์ ฯลฯ  อาศัยขันธ์ ๒.

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๗๗]  ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอนันตรปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ  ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ  ในวิปากปัจจัย  มี ๑  วาระ  ในอาหาร

ปัจจัย  มี ๙ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย  มี ๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 647

ปัจจนียนัย

๑.  นเหตุปัจจัย

[๕๗๘] ๑.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ   อวิชชานิวรณ์    อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์,   อวิชชานิวรณ์   อาศัย

อุทธัจจนิวรณ์.

๒.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ  อาศัยขันธ์ ๒.

ในอเหตุกปฏิสนธิขณะ  ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓.  นีวรณธรรม  อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ   อวิชชานิวรณ์   อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา   ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๔.  นีวรณธรรมอาศัยนีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยอุทธัจจนิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 648

๒.  นอารัมมณปัจจัย

[๕๗๙] ๑.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย.

๒.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม.

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ  ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

๓.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนอารัมมณปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ฯลฯ

 

๓.   นอธิปติปัจจัย ฯลฯ  ๗.  นอุปนิสสยปัจจัย

ฯลฯ   เพราะนอธิปติปัจจัย

ฯลฯ   เพราะนอนันตรปัจจัย

ฯลฯ   เพราะนสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ   เพราะนอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ  เพราะนอุปนิสสยปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 649

๘.  นปุเรชาตปัจจัย

[๕๘๐]  ๑.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม   เกิดขึ้น  เพราะ

นปุเรชาตปัจจัย

คือ  ในอรูปภูมิ  ถีนมิทธนิวรณ์ อุทธัจจนิวรณ์ อวิชชานิวรณ์ อาศัย

กามฉันทนิวรณ์.

ในอรูปภูมิ  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันทนิวรณ์.

ในอรูปภูมิ  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์.

ในอรูปภูมิ  อวิชชานิวรณ์  อาศัยอุทธัจจนิวรณ์.

๒.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ  ในอรูปภูมิ  สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย.

วาระที่เหลือทั้งหมด  (คือวาระที่ ๓-๖)  พึงให้พิสดาร.

อรูปภูมิ   พึงกระทำก่อน  ส่วนรูปภูมิ   พึงกระทำภายหลัง    ตามที่จะ

พึงกระทำได้.

๗.  นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ  ในอรูปภูมิ  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อาศัยขันธ์ทั้งหลาย

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  และกามฉันทนิวรณ์.

พึงผูกจักรนัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 650

๘.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรน  อาศัยนีวรณธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนปุเรชาตปัจจัย

คือ  ในอรูปภูมิ   ขันธ์ ๓  อาศัยขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  และ

นีวรณธรรมทั้งหลาย  ฯลฯ   ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม  และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙.  นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัย

นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น  เพราะนปุเรชาต

ปัจจัย

คือ  ในอรูปภูมิ  ขันธ์ ๓  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชา-

นิวรณ์  อาศัยขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  และกามฉันทนิวรณ์ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๘๑]  ในนเหตุปัจจัย  มี ๔ วาระ  ในนอารัมมณปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในนอนันตรปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในนสมนันตร-

ปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในนอัญญปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในอุปนิสสปัจจัย

มี ๓ วาระ   ในนปุเรชาตปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ  ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย



พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 651

มี ๙ วาระ    ในนอาหารปัจจัย  มี ๑ วาระ    ในนอินทริยปัจจัย   มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย  มี ๑ วาระ  ในนมัคคปัจจัย   มี ๑ วาระ   ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ   ในนวิปปยุตตปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในในนัตถิปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๘๒]  เพราะเหตุปัจจัย  ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...  ใน

นอธิปติปัจจัย   มี ๙ วาระ.

ฯลฯ

 

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจานียานุโลม

[๕๘๓]  เพราะนเหตุปัจจัย   ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...  ใน

มัคคปัจจัย มี ๓ วาระ  ฯลฯ  ในอวิคตปัจจัย  มี ๔ วาระ.

แม้สหชาตวาระ   ก็พึงให้พิสดารอย่างนี้.

ปฏิจจวาระ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 652

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๘๔] ๑.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรรณธรรม   เกิดขึ้น  เพราะ

เหตุปัจจัย  มี ๓ วาระ  (วาระที่ ๑-๓)

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

ฯลฯ  ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัยหทยวัตถุ.

๕.  นีวรณธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ    นีวรณธรรมทั้งหลาย    อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

นีวรณธรรมทั้งหลาย  อาศัยหทยวัตถุ.

๖.  นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัย

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ   ขันธ์ ๓   นีวรณธรรม  และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์  ๑  ที่

ไม่ใช่นีวรณธรรม ฯลฯ   ขันธ์ ๒ ฯลฯ

นีวรณธรรมทั้งหลาย  อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยมหาภูตรูป.

๑. ๒.  มีใน  ม.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 653

นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  อาศัยหทยวัตถุ.

๗.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรมและธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันท-

นิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

พึงผูกจักรนัย.

ถีนมิทธนีวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัยกามฉันทนิวรณ์

และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย.

๘.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม อาศัยนีวรณธรรม และ

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

และนีวรณธรรมทั้งหลาย ฯลฯ  ขันธ์  ๒  ฯลฯ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  อาศัยนีวรณธรรมทั้งหลาย  และหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยนีวรณธรรม   และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๙.  นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  อาศัย

นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย

คือ   ขันธ์ ๓  ถีนมิทธนิวรณ์  อุทธัจจนิวรณ์  อวิชชานิวรณ์  อาศัย

ขันธ์ ๑  ที่ ไม่ใช่นีวรณธรรม  และกามฉันทนิวรณ์   ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ

พึงผูกจักรนัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 654

ถีนมิทธนิวรณ์   อุทธัจจนิวรณ์   อวิชชานิวรณ์    และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย   อาศัยกามฉันทนิวรณ์   และหทยวัตถุ.

พึงผูกจักรนัย.

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๘๕]   ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ  ในวิปากปัจจัย  มี ๑ วาระ ฯลฯ  ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

 

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๘๖] ๑.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะ

นเหตุปัจจัย

คือ  อวิชชานิวรณ์  อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยอุทธัจจนิวรณ์.

๒.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     อาศัยธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์  ๑  ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 655

ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ  อาศัยจักขายตนะ  ฯลฯ  กายวิญญาณอาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ซึ่งเป็นอเหตุกะ  อาศัยหทยวัตถุ.

๓.  นีวรณธรรม  อาศัยธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เกิด

ขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ    อวิชชานิวรณ์    อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิกิจฉา   ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยหทยวัตถุ.

๔.  นีวรณธรรม  อาศัยนีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  อวิชชานิวรณ์ อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์  และสัมปุยุตตขันธ์ที่หลาย.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยอุทธัจจนิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

อวิชชานิวรณ์  อาศัยวิจิกิจฉานิวรณ์  และหทยวัตถุ.

อวิชชานิวรณ์   อาศัยอุทธัจจนิวรณ์  และหทยวัตถุ.

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๘๗]  ในนเหตุปัจจัย มี ๔  วาระ  ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในนอนันตรปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในนสมนันตร-

ปัจจัย  มี ๓ วาระ   ในนอัญญมัญญปัจจัย   มี ๓ วาระ   ในนอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ   ในนปุเรชาตปัจจัย   มี ๙ วาระ  ในนปัจฉาชาตปัจจัย  มี ๙ วาระ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 656

ในนอาเสวนปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในนกัมมปัจจัย  มี ๓ วาระ   ในนวิปากปัจจัย

มี ๙ วาระ    ในนอาหารปัจจัย  มี ๑ วาระ    ในนอินทริยปัจจัย   มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัย  มี ๑ วาระ   ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ  ในนสัมปยุตตปัจจัย

มี ๓ วาระ   ในนวิปปยุตตปัจจัย   มี ๙ วาระ   ในโนนัตถิปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในโนวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.

 

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๕๘๘]  เพราะเหตุปัจจัย  ในนอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...    ใน

นอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ.

ฯลฯ

 

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๕๘๙]  เพราะนเหตุปัจจัย  ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...  ใน

อนันตรปัจจัย  มี ๔ วาระ  ในสมนันตรปัจจัย  มี ๔ วาระ ฯลฯ ในมัคคปัจจัย

มี ๓ วาระ  ฯลฯ  ในอวิคตปัจจัย  มี  ๔  วาระ.

ปัจจยวาระ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 657

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๕๙๐] ๑.  นีวรณธรรม  เจือกับนีวรณธรรม  เกิดขึ้น เพราะ

เหตุปัจจัย

คือ  ถีนมิทธนิวรณ์    อุทธัจจนิวรณ์    อวิชชานิวรณ์   เจือกับกาม-

ฉันทนิวรณ์.

พึงผูกจักรนัย

นิวรณ์ทั้งปวง  พึงให้พิสดาร.

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๕๙๑]  ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ     ในอารัมมณปัจจัย   มี ๙ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง  มี ๙ วาระ  ในวิปากปัจจัย  มี ๑ วาระ  ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

 

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๕๙๒] ๒.  นีวรณธรรม  เจือกับนีวรณธรรม เกิดขึ้น เพราะ

นเหตุปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 658

คือ  อวิชชานิวรณ์    เจือกับวิจิกิจฉานิวรณ์,    อวิชชานิวรณ์เจือกับ

อุทธัจจนิวรณ์.

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๕๙๓]  ในนเหตุปัจจัย  มี ๔ วาระ     ในนอธิปติปัจจัย มี ๙  วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย ๙ วาระ  ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ  ในนอาเสวน-

ปัจจัย มี ๙ วาระ     ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ  ในนวิปากปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในนฌานปัจจัย มี ๑ วาระ  ในนมัคคปัจจัย  มี ๑ วาระ  ในนวิปปยุตตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

การนับจำนวนวาระในสองวาระนอกนี้ก็ดี     สัมปยุตตวาระก็ดี    พึง

กระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.

สังสัฏฐวาระ จบ

 


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 659

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๕๙๔] ๑.  นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์ที่เป็นสัม-

ปยุตตธรรมทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม       เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม  และ

ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้ง

หลาย,  นีวรณธรรม   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่

ใช่นีวรรณธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

 


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 660

คือ  เหตุทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม       เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ.

 

๒.  อารัมมณปัจจัย

[๕๙๕] ๑.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ   เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย   นีวรณธรรมทั้งหลาย   ย่อม

เกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล.   (วาระที่ ๒)

เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย    ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

ย่อมเกิดขึ้น.

พึงถามถึงมูล.   (วาระที่ ๓)

เพราะปรารภนีวรณธรรมทั้งหลาย    นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย   ย่อมเกิดขึ้น.

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ    บุคคลให้ทาน   ฯลฯ  ศีล   ฯลฯ   อุโบสถกรรม  ฯลฯ    แล้ว

พิจารณาซึ่งกุศลกรรมนั้น      ย่อมยินดี     ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งกุศลกรรมนั้น

เพราะปรารภกุศลกรรมนั้น  ทิฏฐิ  ย่อมเกิดขึ้น  โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 661

ออกจากฌานแล้วพิจารณา  ฌาน.

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค    พิจารณามรรค  ฯลฯ  ผล  ฯลฯ

นิพพาน.

นิพพาน    เป็นปัจจัยแก่โคตรภู,    แก่โวทาน,    แก่มรรค,     แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ   ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว    ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ฯลฯ

กิเลสที่ข่มแล้ว  ฯลฯ   กิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน ฯลฯ

บุคคลพิจารณา   เห็นจักษุ  ฯลฯ  หทยวัตถุ   ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ  โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ,   ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    ด้วย

เจโตปริยญาณ.

อากาสานัญจายตนะ   เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะอากิญจัญญาย-

ตนะ  เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.

รูปายตนะ    เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ    เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ     แก่

เจโตปริยญาณ      แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ      แก่ยถากัมมูปคญาณ      แก่

อนาคตังสญาณ  แก่อาวัชชนะ  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๕.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 662

คือ  บุคคลให้ทาน  ฯลฯ  ศีล  ฯลฯ  อุโบสถกรรม ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน  ฯลฯ

ออกจากฌาณ  ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  ซึ่งจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ  ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เพราะปรารภจักษุ  เป็นต้นนั้น  ราคะ  ย่อมเกิดขึ้น

ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา  ฯลฯ  อุทธัจจะ  ฯลฯ  โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

๖.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  บุคคลให้ทาน  ฯลฯ  ศีล  ฯลฯ  อุโบสถกรรม  ฯลฯ.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน.  ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี   ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  ซึ่งจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ   ขันธ์

ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม   เพราะปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   นีวรณธรรม และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ย่อมเกิดขึ้น.

๗.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ (วาระ

ที่ ๕- ๖- ๗)   พึงกระทำว่า   เพราะปรารภ.

 

๓. อธิปติปัจจัย

[๕๙๖] ๑.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม     ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 663

มีอย่างเดียว  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

เพราะกระทำ   นีวรณธรรมทั้งหลาย   ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

นีวรณธรรมทั้งหลาย    ย่อมเกิดขึ้น.   มี ๓ วาระ    เหมือนกับอารัมมณปัจจัย.

(วาระที่ ๑-๒-๓)

๒.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ   และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ   ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ ศีล  ฯลฯ  บุคคลกระทำอุโบสถกรรมแล้ว   ย่อม

ยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  เพราะกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนัก

แน่น  ครั้นกระทำกุศลกรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น  ราคะ  ย่อมเกิด

ขึ้น  ทิฏฐิ  ย่อมเกิดขึ้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน  ฯลฯ

ออกจากฌานแล้ว   ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค ฯลฯ มรรค ฯลฯ ผล ฯลฯ นิพพาน

ฯลฯ.

นิพพาน    เป็นปัจจัยแก่โคตรภู,    แก่โวทาน,     แก่มรรค,     แก่ผล,

ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น   ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว   ราคะ   ย่อมเกิดขึ้น   ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 664

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ

จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๓.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

บุคคลให้ทาน  ฯลฯ  ศีล  ฯลฯ  อุโบสถกรรม  ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน  ฯลฯ

ออกจากฌาน  ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น   ครั้นกระทำ

จักษุเป็นต้นนั้น  ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว    ราคะ  ย่อมเกิดขึ้น   ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตนีวรณธรรม

ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 665

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

ให้ทาน  ฯลฯ  ศีล  ฯลฯ  อุโบสถกรรม  ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน  ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  เพราะกระทำ จักษุ ฯลฯ หทย-

วัตถุ  ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม   ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น  ครั้น

กระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว   นีวรณธรรม    และ

สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย,

นีวรณธรรม  และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว  คือเป็น  อารัมมณาธิปติ  มี ๓ วาระ (วาระที่ ๗-

๘-๙) เป็นอารัมมณาธิปติเท่านั้น.

 

๔. อนันตรปัจจัย

[๕๙๗] ๑.  นีวรณธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย

พึงถามถึงมูล.   (วาระที่ ๒)


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 666

นีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม  ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

นีวรณธรรมทั้งหลาย  เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ  ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.  (วาระที่ ๓)

นีวรณธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย

ที่เกิดหลัง ๆ  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๔.   ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรม

¹ยกศัพท์ บรรทัดที่ ๙ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจฃองอนันตรปัจจัย

คือ  ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม   ที่เกิดก่อน ๆ   เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรมที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

เนวสัญญานาสัญญายตนะ   ของบุคคลผู้ออกจากนิโรธ    เป็นปัจจัยแก่

ผลสมาบัติ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.  (วาระที่  ๕)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรมทั้งหลาย  ที่เกิดหลัง ๆ  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

อาวัชชนะ  เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอนันตร-

ปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.   (วาระที่ ๖)

ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรมทั้งหลาย    ที่เกิดหลัง ๆ     และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย    ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 667

อาวัชชนะ     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม     และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย

ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

๗.  นีวณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ  นีวรณธรรม   ที่เกิดก่อน ๆ   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์นีวรณธรรมทั้งหลาย   ที่เกิดหลัง ๆ   ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๙)

นีวรณธรรมทั้งหลาย  ที่เกิดก่อน ๆ  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย   ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    ที่เกิดหลัง ๆ    ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

นีวรณธรรม   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ  ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล   (วาระที่ ๙)

นีวรณธรรมทั้งหลาย  ที่เกิดก่อน ๆ  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย    ที่เกิดหลัง ๆ   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

 

๕.  สมนันตรปัจจัย ฯลฯ  ๘. นิสสยปัจจัย

๑.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของสมนันตรปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 668

ฯลฯ  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

ฯลฯ  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย.

ฯลฯ  เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย.

 

๙.  อุปนิสสยปัจจัย

[๕๙๘]  ๑.  นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม     ด้วย

อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น   อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

นีวรณธรรมทั้งหลาย    เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรมทั้งหลาย ฯลฯ   มี ๓

วาระ.

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณวรรม    ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว   ให้ทาน ฯลฯ ศีล ฯลฯ  อุโบสถกรรม

ฯลฯ ยังฌานให้เกิดขึ้น   ยังวิปัสสนา ฯลฯ    ยังมรรค ฯลฯ   ยังอภิญญา ฯลฯ

ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น  ก่อมานะ  ถือทิฏฐิ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 669

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ  ปัญญา ฯลฯ  ราคะ  โทสะ  โมหะ  มานะ

ทิฏฐิ  ความปรารถนา  สุขทางกาย  ทุกข์ทางกาย ฯลฯ   เสนาสนะแล้ว  ให้ทาน

ฯลฯ   ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ   เสนาสนะ   เป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ   แก่ปัญญา แก่

ราคะ   แก่ความปรารถนา   แก่สุขทางกาย   แก่ทุกข์ทางกาย   แก่มรรค  แก่ผล-

สมาบัติ  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๕.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว  ก่อมานะ   ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล  ฯลฯ  เสนาสนะแล้ว  ฆ่าสัตว์ ฯลฯ  ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา  ฯลฯ  เสนาสนะแล้ว  เป็นปัจจัยแก่ ราคะ ฯลฯ  แก่ความปรารถนา

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๖.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น   อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 670

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว   ก่อมานะ  ถือทิฏฐิ.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล ฯลฯ   เสนาสนะแล้ว  ฆ่าสัตว์ ฯลฯ  ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา ฯลฯ  เสนาสนะ  เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม และสัมปยุตตขันธ์

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๗.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น   อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  เป็นปัจจัยแก่ นีวรณธรรม

ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย   มี ๓ วาระ   (วาระที่  ๗-๘-๙)

 

๑๐.  ปุเรชาตปัจจัย

[๕๙๙] ๑.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  และ  วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ    หทยวัตถุ   โดยความเป็นของไม่เที่ยง

ฯลฯ  โทมนัส   ย่อมเกิดขึ้น  มี ๓ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 671

ปุเรชาตปัจจัย  เหมือนกับ   อารัมมณปัจจัย.

พึงจำแนก   กุศล   และอกุศล.

 

๑๑.  ปัจฉาชาตปัจจัย

[๖๐๐] ๑.  นีวรณธรรม เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย   มี ๓ วาระ.

 

๑๒.  อาเสวนปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย  มี ๙ วาระ.

 

๑๓.  กัมมปัจจัย

[๖๐๑] ๑.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  สหชาตะ  และ  นานาขณิกะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์    และจิตต-

สมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ

ที่เป็น  นานาขณิกะ  ได้แก่

เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม   เป็นปัจจัยแก่วิบากขันธ์   และกฏัตตารูป

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 672

พึงถามถึงมูล  (วาระที่  ๒)

เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นิวรณ์ที่เป็นสัมปยุตตธรรม

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.  (วาระที่  ๓)

เจตนาที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย.

นีวรณธรรม  และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

 

๑๔.  วิปากปัจจัย  ฯลฯ  ๑๙.  สัมปยุตตปัจจัย

[๖๐๒] ๑.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม      เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย  มี ๑ วาระ.

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัย.

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย.

ฯลฯ  เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของฌานปัจจัย.

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย.

ฯลฯ   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย.

 

๒๐.  วิปปยุตตปัจจัย

[๖๐๓] ๑.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณ-

ธรรม   ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ  และ  ปัจฉาชาตะ

วาระ ๔  ที่เหลือ   พึงกระทำอย่างนี้.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 673

๒๑. อัตถิปัจจัย

[๖๐๔]  ๑.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของอัตถิปัจจัย

คือ  กามฉันทนิวรณ์  เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์  แก่อุทธัจจนิวรณ์

แก่อวิชชานิวรณ์   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย.

๒.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะ  และ  ปัจฉาชาตะ

ในนีวรณมูล  ก็มี ๓ วาระ  อย่างนี้  (วาระที่ ๑-๒-๓)

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่ธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง  คือที่เป็น  สหชาตะ  ปุเรชาตะ  ปัจฉาชาตะ  อาหาระ

และ อินทริยะ ฯลฯ

๕.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่างคือที่เป็น  สหชาตะ  และ  ปุเรชาตะ ฯลฯ

๖.   ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 674

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  สหชาตะ   และ  ปุเรชาตะ ฯลฯ

๗.  นีวรณธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  สหชาตะ  และ ปุเรชาตะ

ที่เป็น   สหชาตะ  ได้แก่

กามฉันทนิวรณ์   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธ-

นิวรณ์  แก่อุทธัจจนิวรณ์  แก่อวิชชานิวรณ์  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

กามฉันทนิวรณ์    และหทยวัตถุ     เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์   แก่

อุทธัจจนิวรณ์  แก่อวิชชานิวรณ์  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๘.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

มี ๕ อย่าง  คือที่เป็น   สหชาตะสหชาตะ   รวมกับ   ปุเรชาตะ

ปัจฉาชาตะ,  ปัจฉาชาตะ รวมกับ อาหาระ  และรวมกับ อินทริยะ

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

ขันธ์๑ ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม และนีวรณธรรมทั้งหลาย ที่เกิดพร้อมกัน

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓   และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย

ฯลฯ   ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ที่เป็น  สหชาตะ  รวมกับ  ปุเรชาตะ  ได้แก่

นีวรณธรรมทั้งหลาย และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่ไม่ใช่

นีวรณธรรม   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 675

ที่เป็น  สหชาตะ  ได้แก่

นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

นีวรณธรรม  และมหาภูตรูปทั้งหลาย   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป

ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  ได้แก่

นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย   ที่เกิดภายหลัง  เป็นปัจจัย

แก่กายนี้  ที่เกิดก่อน   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  รวมกับ  อาหาระ  ได้แก่

นีวรณธรรม  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ที่เกิดภายหลัง  และกวฬีกา-

ราหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

ที่เป็น  ปัจฉาชาตะ  รวมกับ  อินทริยะ  ได้แก่

นีวรณธรรม   และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย    ที่เกิดภายหลัง    และรูป-

ชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

๙.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของ

อัตถิปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น  สหชาตะ  และ  สหชาตะ  รวมกับ  ปุเรชาตะ

ที่เป็น   สหชาตะ  ได้แก่


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 676

ขันธ์ ๑   ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม    และกามฉันทนิวรณ์   เป็นปัจจัยแก่

ขันธ์  ๓,  ถีนมิทธนิวรณ์,  อุทธัจจนิวรณ์,  อวิชชานิวรณ์ และจิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย  ฯลฯ  ขันธ์ ๒  ฯลฯ

ที่เป็น  สหชาตะ  รวมกับ  ปุเรชาตะ  ได้แก่

กามฉันทนิวรณ์ และหทยวัตถุ  เป็นปัจจัยแก่ถีนมิทธนิวรณ์,  อุทธัจจ-

นิวรณ์,   อวิชชานิวรณ์  และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.

พึงผูกจักรนัย.

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๐๕]  ในเหตุปัจจัย  มี  ๔ วาระ    ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอัญญมัญญปัจจัย  มี ๙  วาระ  ในสมนันตรปัจจัย

มี ๙ วาระ  ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ  ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๙ วาระ  ใน

นิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในอุปนิสสยปัจจัย  มี ๙ วาระ    ในปุเรชาตปัจจัย

มี ๓ วาระ    ในปัจฉาชาตปัจจัย  มี ๓ วาระ    ในอาเสวนปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ  ในวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ  ในอาหารปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในอินทริยปัจจัย มี ๓ วาระ ในฌานปัจจัย มี ๓ วาระ  ในมัคคปัจจัย  มี ๓ วาระ

ในสัมปยุตตปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในวิปปยุตตปัจจัย  มี ๕ วาระ   ในอัตถิปัจจัย

มี ๙ วาระ  ในนัตถิปัจจัย มี ๙ วาระ ในวิคตปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 677

ปัจจนียนัย

การยกปัจจัยนัยปัจจนียะ

[๖๐๖] ๑.  นีวรณธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม    ด้วย

อำนาจของอารัมมณปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,

เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒.  นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณ-

ธรรม    ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของ

สหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,  เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

๓.  นีวรณธรรม  เป็นปัจจัยแก่นีวรณธรรม  และธรรม

ที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอุปนิสสัยปัจจัย.

๔.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่ธรรมที่

ไม่ใช่นีวรณธรรม   ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,   เป็นปัจจัย   ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,

เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของ

ปัจฉาชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอินทริย์ปัจจัย,  เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอาหารปัจจัยเป็นปัจจัย ด้วยอำนาของอินทริยปัจจัย.

๕.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม    ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 678

สหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย,    เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๖.  ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม     เป็นปัจจัยแก่นีวรณ-

ธรรม และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัยด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๗.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,    เป็นปัจจัย ด้วย

อำนาจของสหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๘.  นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม   ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย,

เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,   เป็นปัจจัย   ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย,  เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย.

๙.  นีวรณธรรม   และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม  เป็น

ปัจจัยแก่นีวรณธรรม  และธรรมที่ไม่ใช่นีวรณธรรม ด้วยอำนาจของ

อารัมมณปัจจัย,   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย,  เป็นปัจจัย

ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

 

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๐๗]   ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ   ในนอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ   ในปัจจัยทั้งปวง  มี ๙ วาระ  ในโนวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ   ในโนอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 679

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๐๘]  เพราะเหตุปัจจัย  ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ...ฯลฯ

ในนสมนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ   ในนอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ   ในนอุป-

นิสสยปัจจัย มี  ๔ วาระ... ฯลฯ  ในนมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ    ในนสัมปยุตต-

ปัจจัย มี ๒ วาระ  ในนวิปปยุตตปัจจัย  มี ๔ วาระ ในโนนัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ

ในโนวิคตปัจจัยมี  ๔  วาระ.

 

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๐๙]   เพราะนเหตุปัจจัย  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ...  ใน

อธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  พึงกระทำอนุโลมมาติกาให้พิสดาร ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๙ วาระ.

ปัญหาวาระ  จบ

นีวรณทุกะ  จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 680

๔๕.  นีวรณิยทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๖๑๗] ๑.  นีวรณิยธรรม  อาศัยนีวรณยธรรม  เกิดขึ้น  ฯลฯ

โลกิยทุกะฉันใด  นีวรณิยทุกะ ก็พึงกระทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน

พึงประกอบนิวรณ์ด้วยนิวรณ์  ๘  ครั้ง คือ กามฉันทะ ๒ ครั้ง  ปฏิฆะ ๔ ครั้ง

อุทธัจจะและวิจิกิจฉาสองอย่างนี้     อย่างละหนึ่งครั้ง.    มาติกาแห่งนีวรณทุกะ

ได้ทำไว้แล้วในวาระนี้.

นีวรณิยทุกะ จบ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 681

๔๖.  นีวรณสัมปยุตตทุกะ

ปฏิจจวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๖๑๑] ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ   ขันธ์  ๓   อาศัยขันธ์  ๑   ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม ฯลฯ

ขันธ์ ๒.

๒.  นีวรณวิปปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม.

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม.

๓.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   และนีวรณวิปปยุตตธรรม

อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ   ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑  ที่เป็นนีวรณสัมป-

ยุตตธรรม ฯลฯ   ขันธ์ ๒.

๔.  นีวรณวิปปยุตตธรรม  อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑  ที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม

ยุตตธรรม ฯลฯ  ขันธ์ ๒.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 682

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ  ตลอดถึงอัชฌัตติกมหาภูตรูป.

๕.  นีวรณวิปปยุตตธรรม   อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

และนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย

ฯลฯ

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๑๒]  ในเหตุปัจจัย  มี ๕ วาระ  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๒ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๕ วาระ ฯลฯ ในนัตถิปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในวิคตปัจจัย  มี

๒ วาระ  ในอวิคตปัจจัย   มี ๕ วาระ.

 

ปัจจนียนัย

๑.  นเหตุปัจจัย

[๖๑๓] ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  อวิชชานิวรณ์     อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา  ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒.  นีวรณวิปปยุตตธรรม  อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ นีวรณวิปปยุตตธรรม ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

ฯลฯ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 683

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๑๔]  ในนเหตุปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ

ในนอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ  ในนอนันตรปัจจัย  มี ๕ วาระ  ในนสมนันตร-

ปัจจัย  มี ๕ วาระ    ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ   ในอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ วาระ    ในปุเรชาติปัจจัย  มี ๔ วาระ   ในนปัจฉาชาติปัจจัย  มี ๕ วาระ

ในนอาเสวนปัจจัย  มี ๕ วาระ  ในนกัมมปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในนวิปากปัจจัย

วาระ    ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ     ในนอินทริยปัจจัย   มี ๑ วาระ

ในนฌานปัจจัยมี ๑ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนสัมปยุตตปัจจัย มี ๓

วาระ  ในนวิปปยุตตปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในโนนัตถิปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในโน-

วิคตปัจจจัย  มี ๓ วาระ.

 

อนุโลมปัจจนียนัย

การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ

[๖๑๕]  เพราะเหตุปัจจัย   ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ...  ใน

นอธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ  ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๔ วาระ   ในนกัมมปัจจัย  มี

๒ วาระ   ในนวิปากปัจจัย   มี ๕ วาระ   ในนสัมปยุตตปัจจัย  มี ๓ วาระ   ใน

นวิปปยุตตปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในโนนัตถิปัจจัยมี ๓ วาระ ในโนวิคตปัจจัย  มี

๓  วาระ.

๑. ม.  นอนันตระ ถึง นอุปนิสสยะ  แต่ละปัจจัยมี ๓ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 684

ปัจจนียานุโลมนัย

การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม

[๖๑๖]   เพราะนเหตุปัจจัย  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๙ วาระ...ฯลฯ

ในมัคคปัจจัย  มี ๑ วาระ...ฯลฯ  ในอวิคตปัจจัย  มี ๒ วาระ.

แม้สหชาตวาระ  ก็พึงกระทำอย่างที่กล่าวมาแล้ว.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 685

ปัจจยวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๑๗]  ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  อาศัยนีวรณสัปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะปัจจัย

คือ   ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป   อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณวิปป-

ยุตตธรรม ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ

ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ  มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม  อาศัยหทยวัตถุ.

๓.  นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปปยุตตธรรม  อาศัยหทยวัตถุ.

๔.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   และนีวรณวิปปยุตตธรรม

อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตธรรม  อาศัยหทยวัตถุ.

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยมหาภูตรูปทั้งหลาย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 686

๕.  นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

และนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  อาศัยขันธ์ ๑  ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   และหทย-

วัตถุ ฯลฯ  ขันธ์ ๒ ฯลฯ

๖.  นีวรณวิปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

และนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม

และมหาภูตรูปทั้งหลาย.

๗.  นีวรณสัมปปยุตตธรรม  และนีวรณวิปปยุตตธรรม

อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม      และนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น

เพราะเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓  อาศัยขันธ์ ๑   ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   และหทย-

วัตถุ ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ

จิตตสมุฏฐานรูป  อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม และ

มหาภูตรูปทั้งหลาย.

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๑๘]  ในเหตุปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๔ วาระ

ในอธิปติปัจจัย  มี ๙ วาระ  ในอนันตรปัจจัย  มี ๔ วาระ ฯลฯ  ในนวิปากปัจจัย

มี ๑ วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 687

ปัจจนียนัย

๑. นเหตุปัจจัย

[๖๑๙] ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  อวิชชานิวรณ์     อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา    ที่

สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

๒.  นีวรณวิปปยุตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  ขันธ์ ๓    และจิตตสมุฏฐานรูป    อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นนีวรณ-

วิปปตุตธรรม  ซึ่งเป็นอเหตุกะ ฯลฯ ตลอดถึงอสัญญสัตว์.

จักขุวิญญาณ  อาศัยจักขายตนะ ฯลฯ  กายวิญญาณ  อาศัยกายายตนะ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม     ซึ่งเป็นอเหตุกะ    อาศัย

หทยวัตถุ.

๓.  นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณวิปปยุตตธรรม

เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

คือ  โมหะ  ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา   ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ   อาศัย

หทยวัตถุ.

๔.  นีวรณสัมปยุตตธรรม อาศัยนีวรณสัมปยุตตธรรม

และนีวรณวิปปยุตตธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  โมหะ  ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา    ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ    อาศัย

ขันธ์ทั้งหลาย  ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา  ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและหทยวัตถุ.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 688

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๒๐]  ในนเหตุปัจจัย  มี ๔ วาระ  ในนอารัมมณปัจจัย  มี ๓ วาระ

ฯลฯ  ในนปุเรชาติปัจจัย  มี ๔ วาระ   ในนปัจฉาชาตปัจจัย  มี ๙ วาระ   ใน

นอาเสวนปัจจัย มี ๙ วาระ ในนกัมมปัจจัย  มี ๔ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙

วาระ ฯลฯ ในนสัมปยุตตปัจจัย  มี ๓ วาระ  ในนวิปปยุตตปัจจัย  มี ๒ วาระ

ในโนนัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ  ในโนวิคตปัจจัย มี๓ วาระ.

การนับสองนัย    นอกนี้ก็ดี,    นิสสยวาระก็ดี   พึงกระทำอย่างกล่าว

มาแล้ว.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 689

สังสัฏฐวาระ

อนุโลมนัย

๑. เหตุปัจจัย

[๖๒๑]  ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม     เจือกับนีวรณสัมปยุตต-

ธรรม  เกิดขึ้น  เพราะเหตุปัจจัย

 

การนับจำนวนวาระในอนุโลม

[๖๒๒]  ในเหตุปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในอารัมมณปัจจัย  มี ๒ วาระ

ในปัจจัยทั้งปวง  มี ๒ วาระ  ในวิปากปัจจัย   มี ๑  วาระ ฯลฯ ในอวิคตปัจจัย

มี ๒ วาระ.

 

ปัจจนียนัย

[๖๒๓]  ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม    เจือกับนีวรณสัมปยุตต-

ธรรม  เกิดขึ้น  เพราะนเหตุปัจจัย

คือ  โมหะ  ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา  ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ   เจือกับ

ขันธ์ทั้งหลายที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา  ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ.

ฯลฯ  เจือกับนีวรณวิปปยุตตธรรม  ฯลฯ.

 


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 690

การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ

[๖๒๔]  ในเหตุปัจจัย  มี ๒ วาระ    ในนอธิปติปัจจัย  มี ๒ วาระ

ในนปุเรชาตปัจจัย   มี ๒ วาระ  ในนกัมมปัจจัย  มี ๒ วาระ  ในนวิปากปัจจัย

มี ๒ วาระ   ในนฌานปัจจัย  มี ๑ วาระ    ในนมัคคปัจจัย   มี ๑ วาระ   ใน

นวิปปยุตตปัจจัย  มี ๒ วาระ.

การนับ ๒ นัยนอกนี้ก็ดี สัมปยุตตวาระก็ดี  พึงกระทำอย่างนี้.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 691

ปัญหาวาระ

อนุโลมนัย

๑.  เหตุปัจจัย

[๖๒๕] ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์ทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๒.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

รูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๓.  นีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  และนีวรณวิปปยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

๔. นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 692

คือ  เหตุทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต-

ขันธ์  และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของเหตุปัจจัย.

ในปฏิสนธิขณะ  ฯลฯ.

 

๒.  อารัมมณปัจจัย

[๖๒๖]  ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งราคะ  เพราะปรารภราคะ

นั้น  ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น.

บุคคลย่อมยินดี    ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งทิฏฐิ    เพราะปรารภทิฏฐินั้น

ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส   ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภวิจิกิจฉา    วิจิกิจฉา  ฯลฯ  ทิฏฐิ  ฯลฯ  อุทธัจจะ  ฯลฯ

โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภอุทธัจจะ  อุทธัจจะ  ย่อมเกิดขึ้น  ทิฏฐิ ฯลฯ   วิจิกิจฉา

ย่อมเกิดขึ้น.

เพราะปรารภโทมนัส โทมนัส ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา  ฯลฯ

อุทธัจจะ  ย่อมเกิดขึ้น.

๒.  นีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว ที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-

ธรรม   พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว  รู้ซึ่งกิเลสทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 693

บุคคลพิจารณาเห็นขันธ์ทั้งหลาย  ที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม    โดย

ความเป็นของไม่เที่ยง   เป็นทุกข์   เป็นอนัตตา.

บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต     ที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยเจโตปริยญาณ.

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ

แก่เจโตปริญาณ    แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ     แก่ยถากัมมูปคญาณ     แก่

อนาคตังสญาณ   แก่อาวัชชนะ   ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓.  นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  ให้ทาน ฯลฯ  ศีล ฯลฯ   อุโบสถกรรม  ฯลฯ  แล้ว   พิจารณา

กุศลกรรมนั้น.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน.

ออกจากฌาน  พิจารณาฌาน  ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค   พิจารณามรรค  ฯลฯ   พิจารณาผล

ฯลฯ นิพพาน

นิพพาน   เป็นปัจจัยแก่   โคตรภู,    แก่โวทาน,    แก่มรรค,   แก่ผล,

แก่อาวัชชนะ   ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ  หทยวัตถุ  ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณ-

วิปปยุตตธรรม   โดยความเป็นของไม่เที่ยง   เป็นทุกข์  เป็นอนัตตา.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ  ตลอดถึงอาวัชชนะ.

ฯลฯ


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 694

๔.  นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย

คือ  บุคคลให้ทาน  ฯลฯ  ศีล  ฯลฯ  อุโบสถกรรม  ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน  ฯลฯ

ออกจากฌาน   ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง  ซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ  ขันธ์

ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม  เพาระปรารภจักษุเป็นต้นนั้น   ราคะ ฯลฯ

ทิฏฐิ  ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัส  ย่อมเกิดขึ้น.

 

๓. อธิปติปัจจัย

[๖๒๗] ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง    คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ   และ   สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลิน  เพราะกระทำราคะให้เป็นอารมณ์

อย่างหนักแน่น   ครั้นกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว    ราคะ

ฯลฯ  ทิฏฐิ  ย่อมเกิดขึ้น.

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่

เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 695

๒.  นีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว  คือที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐาน-

รูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

พึงถามถึงมูล.  (วาระที่ ๓)

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย   ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๔.  นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  และ  สหชาตาธิปติ

ที่เป็น  อารัมมณาธิปติ  ได้แก่

บุคคลให้ทาน  ฯลฯ   ศีล   ฯลฯ  อุโบสถกรรม  ฯลฯ   กระทำกุศล

กรรมนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว   พิจารณา.

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ฯลฯ  ออกจากฌาน  แล้วพิจารณาฌาน ฯลฯ

พระอริยะทั้งหลายออกจากมรรค      กระทำมรรคให้เป็นอารมณ์อย่าง

หนักแน่น  ฯลฯ  ผล  ฯลฯ  นิพพาน  ฯลฯ

นิพพาน  เป็นปัจจัยแก่โคตรภู,   แก่โวทาน,   แก่มรรค,   แก่ผล  ด้วย

อำนาจของอธิปติปัจจัย.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 696

ที่เป็น  สหชาตาธิปติ  ได้แก่

อธิปติธรรมที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์

และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย.

๕.  นีวรณวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย

มีอย่างเดียว   คือที่เป็น   อารัมมณาธิปติ   ได้แก่

บุคคลให้ทาน ฯลฯ

พิจารณากุศลกรรมทั้งหลายที่เคยสั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ฯลฯ

ออกจากฌาน  ฯลฯ

บุคคลย่อมยินดี  ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง   เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ   หทย-

วัตถุ     ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรมให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น

ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว  ราคะ ฯลฯ ทิฏฐิ

ย่อมเกิดขึ้น.

 

๔.  อนันตรปัจจัย

[๖๒๘]  ๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ   ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม     ที่เกิดก่อน ๆ เป็น

ปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม   ที่เกิดหลัง ๆ    ด้วยอำนาจ

ของอนันตรปัจจัย.

พึงถามถึงมูล.   (วาระที่ ๒)


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 697

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ ด้วย

อำนาจของอนันตรปัจจัย.

ในที่นี้   ขันธ์ทั้งหลาย  ที่เกิดก่อน ๆ ไม่มี.

พึงถามถึงมูล  (วาระที่ ๓)

ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม    ที่เกิดก่อน ๆ  เป็นปัจจัย

แก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม   ที่เกิดหลัง ๆ    ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู   ฯลฯ   แก่ผลสมาบัติ    ด้วยอำนาจของ

อนันตรปัจจัย.

๔.  นีวรณวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย

คือ    อาวัชชนะ     เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณสัมปยุตต-

ธรรม  ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย.

 

๕.  สมนันตรปัจจัย ฯลฯ  ๘. นิสสยปัจจัย

๑.  นีวรณสัมปยุตตธรรม  เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของสมนันตรปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของอัญญมัญญปัจจัย

ฯลฯ   เป็นปัจจัย  ด้วยอำนาจของนิสสยปัจจัย


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 698

๙.  อุปนิสสยปัจจัย

[๖๒๙] ๑.  นีวรณสัมปยุตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว   ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ  ฯลฯ    โมหะ   มานะ   ทิฏฐิ  ฯลฯ  ความ

ปรารถนาแล้ว   ฆ่าสัตว์   ฯลฯ   ทำลายสงฆ์.

ราคะ  ฯลฯ   ความปรารถนา   เป็นปัจจัยแก่   ราคะ  ฯลฯ   แก่ความ

ปรารถนา   ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๒.  นีวรณสัมปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๒ อย่าง  คือที่เป็น อนันตรูปนิสสยะ  และ  ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยราคะแล้ว     ให้ทาน ฯลฯ ศีล  ฯลฯ   อุโบสถกรรม

ยังฌาน  วิปัสสนา  มรรค  อภิญญา  ฯลฯ  สมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยโทสะ   ฯลฯ    ความปรารถนาแล้ว     ให้ทาน ฯลฯ

ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 699

ราคะ   ฯลฯ   ความปรารถนา   เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา  ฯลฯ   แก่ปัญญา

แก่สุขทางกาย    แก่ทุกข์ทางกาย     แก่มรรค    แก่ผลสมาบัติ     ด้วยอำนาจของ

อุปนิสสยปัจจัย.

๓.  นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง  คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว   ให้ทาน   สมาทานศีล  ฯลฯ   ยังมรรค

ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ  สมาบัติให้เกิดขึ้น.

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล  ฯลฯ   ปัญญา ฯลฯ เสนาสนะ แล้วให้ทาน ฯลฯ

ฯลฯ   ยังสมาบัติให้เกิดขึ้น.

ศรัทธา   ฯลฯ   เสนาสนะ  เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา  ฯลฯ   แก่ปัญญา  แก่

มรรค   แก่ผลสมาบัติ   ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

๔.  นีวรณวิปปยุตตธรรม   เป็นปัจจัยแก่นีวรณสัมป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี ๓ อย่าง   คือที่เป็น  อารัมมณูปนิสสยะ  อนันตรูปนิสสยะ  และ

ปกตูปนิสสยะ

ที่เป็น  ปกตูปนิสสยะ  ได้แก่

บุคคลเข้าไปอาศัยศรัทธาแล้ว  ถือมานะ ถือทิฏฐิ.

 


พระอภิธรรมปิฎก ปัฏฐาน เล่ม ๗ ภาค ๔ - หน้าที่ 700

บุคคลเข้าไปอาศัยศีล   ฯลฯ   ปัญญา  ฯลฯ   สุขทางกาย  ฯลฯ   เสนา

สนะแล้ว   ฆ่าสัตว์  ฯลฯ    ทำลายสงฆ์.

ศรัทธา   ฯลฯ   เสนาสนะ   เป็นปัจจัยแก่ราคะ    แก่โทสะ    แก่โมหะ

แก่มานะ   แก่ทิฏฐิ  แก่ความปรารถนา   ด้วยอำนาจของอุปนิสสัยปัจจัย

 

๑๐.  ปุเรชาตปัจจัย

[๖๓๐] ๑.  นีวรณวิปปยุตตธรรม    เป็นปัจจัยแก่นีวรณวิปป-

ยุตตธรรม  ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี ๒ อย่าง   คือที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ

ที่เป็น  อารัมมณปุเรชาตะ  ได้แก่

บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ  ฯลฯ  หทยวัตถุ   โดยความเป็นของไม่เที่ยง

เป็นทุกข์  เป็นอนัตตา.

บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ,  ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.

รูปายตนะ   เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ  ฯลฯ   โผฏฐัพพายตนะ   เป็น

ปัจจัยแก่กายวิญญาณ.

ที่เป็น  วัตถุปุเรชาตะ  ได้แก่

จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ   กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่

กายวิญญาณ.

หทยวัตถุ  เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นนีวรณวิปปยุตตธรรม  ด้วย

อำนาจของปุเรชาตปัจจัย.


没有评论: