Pariphachok
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 15/98/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้แก่ เจ็ดวันที่พระสมณโคดมกำหนดอาทิผิด สระไว้แล้ว จักทำอะไรแก่พวกเราได้.
พวกปริพาชกได้กล่าวว่า พระสมณโคดมตรัสว่า นิโครธปริพาชกจัก
ทำให้แจ้งด้วยปัญญาอันยิ่งของตนตลอดหนึ่งสัปดาห์ หนึ่งสัปดาห์นั้นจะทำ
ความไม่ผาสุกอะไรแก่เขา เอาเถอะ พวกเราจะประพฤติพรหมจรรย์
เพื่อความรู้ว่า ในภายในหนึ่งสัปดาห์ พวกเราจะสามารถทำให้แจ้งธรรม
นั้นได้หรือไม่. อีกนัยหนึ่ง ในข้อนี้ มีอธิบายว่า ปริพาชกเหล่านั้นไม่ได้
เกิดความคิด เพื่อจะรู้สักครั้งเดียวว่า ในวันหนึ่งพวกเราจักรู้ธรรมของ
พระองค์เลย ก็หนึ่งสัปดาห์จักอาทิผิด อักขระทำอะไรแก่ปริพาชกผู้เกียจคร้านเหล่านั้น
ได้ ปริพาชกอาทิผิด อักขระเหล่านั้น จักบำเพ็ญตลอดสัปดาห์ได้อย่างไร.
บทว่า สีหนาทํ คือบันลือแล้ว บันลือแบบไม่กลัวใคร
เป็นการทำลายวาทะผู้อื่น และเป็นการประกาศวาทะของตน. บทว่า
ปจฺจุฏฺฐาสิ คือดำรงอยู่แล้ว. บทว่า ตาวเทว แปลว่า ในขณะนั้น
นั่นเอง. บทว่า ราชคหํ ปาวิสิ ได้แก่ เสด็จเข้าไปยังกรุงราชคฤห์
ก็จริง ถึงอย่างนั้น จัดเป็นปัจจัยเพื่อเป็นวาสนาแก่ปริอาทิผิด สระพาชกเหล่านั้น
ต่อไป. คำที่เหลือทุก ๆ บท ชัดเจนแล้วทั้งนั้น.
จบ อรรถกถาอุทุมพริกสูตร
จบ สูตรที่ ๒
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论