星期一, 五月 30, 2011

Tang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/305/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สิกขาบทวิภังค์
[๓๗๖] บทว่า อนึ่ง . . .ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด. . .
บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้ขอ. . .
นี้ชื่อว่า ภิกษุ ที่ประสงค์ในอรรถนี้.
ที่ชื่อว่า อันเป็นของสงฆ์ ได้แก่ ของที่เขาถวายแล้ว สละแล้ว
แก่สงฆ์
ที่ชื่อว่า เตียง ได้แก่ เตียง ๔ ชนิด คือ เตียงมีแม่แคร่สอดเข้าใน
ขา ๑ เตียงมีแคร่เนื่องเป็นอันเดียวกันกับขา ๑ เตียงมีขาดังก้ามปู ๑ เตียงมีขา
จรดแม่แคร่ ๑
ที่ชื่อว่า ตั่ง ได้แก่ ตั่ง ๔ ชนิด คือ ตั่งมีแม่แคร่สอดเข้าในขา ๑
ตั่งอาทิผิด สระมีแม่แคร่เนื่องเป็นอันเดียวกัน กับขา ๑ ตั่งมีขาดังก้ามปู ๑ ตั่งมีขาจรดแม่
แคร่ ๑
ที่ชื่อว่า ฟูก ได้แก่ ฟูก ๕ ชนิด คือ ฟูกขนสัตว์ ๑ ฟูกเปลือกไม้ ๑
ฟูกเศษผ้า ๑ ฟูกหญ้า ๑ ฟูกใบไม้ ๑
ที่ชื่อว่า เก้าอี้ ได้แก่ เก้าอี้ที่เขาถักร่วมใน สำเร็จด้วยเปลือกไม้ก็มี
สำเร็จด้วยหญ้าคมแฝกก็มี สำเร็จด้วยหญ้ามุงกระต่ายก็มี สำเร็จด้วยหญ้าปล้อง
ก็มี.
บทว่า วางไว้แล้ว คือ วางไว้เอง.
บทว่า ให้วางไว้แล้ว คือ ให้คนอื่นวางไว้
ใช้อนุปสัมบันให้วาง เป็นธุระของอนุปสัมบันผู้วาง
ใช้อุปสัมบันให้วาง เป็นธุระของอุปสัมบันผู้วาง.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 29, 2011

Phrom Phriang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/320/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นิคมคาถา
[๔๐๘] ภิกษุทำลายสงฆ์ต้องเกิดใน
อบาย ตกนรก อยู่ชั่วกัป ภิกษุผู้ยินดีในการ
แตกพวก ไม่ตั้งอยู่ในธรรม ย่อมเสื่อมจาก
ธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุทำลายสงฆ์ผู้
พร้อมเพรียงกัน แล้วย่อมไหม้ในนรกตลอด
กัป.
[๔๐๙] ท่านพระอุบาลีทูลถามว่า พระพุทธเจ้าข้า ก็ภิกษุสมานสงฆ์
ที่แตกกันแล้วให้พร้อมเพรียงกัน จะได้รับผลอย่างไร
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอุบาลี ภิกษุสมานสงฆ์ที่แตกกัน
แล้วให้พร้อมเพรียงกัน ย่อมได้บุญอันประเสริฐ ย่อมบันเทิงในสรวงสวรรค์
ตลอดกัป.
นิคมคาถา
[๔๑๐] ความพร้อมเพรียงของหมู่
เป็นเหตุแห่งสุข และการสนับสนุนผู้พร้อม-
เพรียงอาทิผิด อักขระกัน ก็เป็นเหตุแห่งสุข ภิกษุผู้ยินดีใน
ความพร้อมเพรียงตั้งอยู่ในธรรม ย่อมไม่
เสื่อมจากธรรมอันเกษมจากโยคะ ภิกษุสมาน
สงฆ์ ให้พร้อมเพรียงกันแล้ว ย่อมบันเทิง
ในสรวงสวรรค์ตลอดกัป.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 27, 2011

Mung

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 70/204/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โบกขรณีเกลื่อนกล่นด้วยพวงผ้า คือพวงผ้าอันหาค่าอาทิผิด อักขระมิได้ มีผ้าปัตตุณณะ
และผ้าจีนะเป็นต้น ประดับตกแต่งด้วยพวงรัตนะทั้ง ๗. ดาดาษด้วย
ดอกไม้ คือดาดาษด้วยดอกไม้หอมมีจำปา สฬละ และจงกลนีเป็นต้น
วิจิตรงดงามด้วยดี. สระโบกขรณีมีอะไรอีกบ้าง ? คือสระโบกขรณีอบ
อวลด้วยสุคนธชาติอันมีกลิ่นหอมน่าพอใจยิ่ง. เจิมด้วยของหอมไว้โดยรอบ
คือประดับด้วยของหอมที่เอานิ้วทั้ง ๕ ไล้ทาไว้ สระโบกขรณีอันมีอยู่ใน
ทิศทั้ง ๔ ของปราสาท มุงอาทิผิด อาณัติกะด้วยเครื่องมุงเหมคือมุงด้วยเครื่องมุงอันเป็น
ทอง และเพดานทอง ดาดาษแผ่เต็มไปด้วยปทุมและอุบล ปรากฏเป็น
สีทองในรูปทอง สระโบกขรณีฟุ้งไปด้วยละอองเรณูของดอกปทุม คือ
ขจรขจายไปด้วยละอองธุลีของดอกปทุม งดงามอยู่.
รอบ ๆ เวชยันตปราสาทของเรา มีต้นไม้มีต้นจำปาเป็นต้นออก
ดอกทุกต้น นี้เป็นต้นไม้ดอก. ดอกไม้ทั้งหลายหล่นมาเองแล้วลอยไป
โปรยปราสาท อธิบายว่า โปรยลงเบื้องบนปราสาท.
มีอธิบายว่า ในเวชยันตปราสาทของเรานั้น มีนกยูงฟ้อน มีหมู่
หงส์ทิพย์ คือหงส์เทวดาส่งเสียงร้อง หมู่นกการวิก คือโกกิลาที่มีเสียง
เพราะขับขาน คือทำการขับร้อง และหมู่นกอื่น ๆ ที่ไม่สำคัญ ก็ร่ำร้อง
ด้วยเสียงอัน ไพเราะอยู่โดยรอบปราสาท.
รอบ ๆ ปราสาท มีกลองขึงหนังหน้าเดียวและกลองขึงหนังสอง-
หน้าเป็นต้นทั้งหมดได้ดังขึ้น คือได้ตีขึ้น พิณนั้นทั้งหมดซึ่งมีสายมิใช่น้อย
ได้ดีดขึ้น คือส่งเสียง. สังคีตทุกชนิด คือเป็นอเนกประการ จงเป็นไป
คือจงบรรเลง อธิบายว่า จงขับขานขึ้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 五月 25, 2011

Nan Eng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/175/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๑๑๗. เรื่องกิฏาคิรีชนบท ๑๑๘. เรื่องภิกษุชาวเมืองอาฬวีให้นวกรรมด้วย
เหตุเพียงวางก้อนดินฉาบทาฝา ตั้งประตู ติดสายยู ติดกรอบเช็ดหน้า ทำให้
มีสีขาว สีดำ สีเหลือง มุงหลังคา ผูกมัดหลังคา ปิดบังที่อาศัยแห่งนกพิราบ
ปฏิสังขรณ์สิ่งชำรุดผุพัง ขัดถู ให้นวกรรมทั้ง ๒๐ ปี ๓๐ ปี ตลอดปี ชั่วเวลา
ควันขึ้น ในเมื่อวิหารสำเร็จแล้ว เรื่องพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอนุญาตให้
นวกรรมแก่วิหารที่ยังไม่ได้ทำ ที่ทำยังไม่เสร็จ ให้ตรวจการงานในวิหารเล็ก
แล้วให้นวกรรม ๕-๖ ปี ให้ตรวจการงานในวิหารมุงแถบเดียว แล้วให้
นวกรรม ๗-๘ ปี ให้ตรวจการงานในวิหารหรือปราสาทใหญ่ แล้วให้นวกรรม
๑๐ ปี ๑๒ ปี ๑๑๙. เรื่องภิกษุให้นวกรรมวิหารทั้งหลัง ๑๒๐. เรื่องภิกษุ
ให้นวกรรม ครั้ง แก่วิหารหนึ่งหลัง ๑๒๑. เรื่องภิกษุถือนวกรรมแล้วให้ภิกษุ
อื่นอยู่ ๑๒๒. เรื่องภิกษุถือนวกรรมแล้วเกียดกันเสนาสนะของสงฆ์ ๑๒๓.
เรื่องภิกษุให้นวกรรมแก่วิหารที่ตั้งอยู่นอกสีมา ๑๒๔. เรื่องภิกษุถือเอานวกรรม
แล้วเกียดกันตลอดฤดูกาล ๑๒๕. เรื่องภิกษุถือเอานวกรรมแล้วหลีกไปเสียบ้าง
สึกเสียบ้าง มรณภาพบ้าง ปฏิญาณเป็นสามเณรบ้าง บอกลาสิกขาบ้าง ต้อง
อันติมวัตถุบ้าง วิกลจริตบ้าง มีจิตฟุ้งซ่านบ้าง กระสับกระส่ายเพราะเวทนา
บ้าง ถูกยกวัตรฐานไม่เห็นอาบัติบ้าง ฐานไม่ทำคืนอาบัติบ้าง ฐานไม่สละคืน
ทิฏฐิอันลามกบ้าง ปฏิญาณเป็นบัณเฑาะก์บ้าง เป็นเถยยสังวาสบ้าง เข้ารีต
เดียรถีย์บ้าง เป็นสัตว์ดิรัจฉานบ้าง เป็นผู้ฆ่ามารดาบ้าง เป็นผู้ฆ่าบิดาบ้าง
ผู้ฆ่าพระอรหันต์บ้าง ผู้ประทุษร้ายภิกษุณีบ้าง ผู้ทำลายสงฆ์บ้าง ผู้ทำโลหิ-
ตุปบาทบ้าง เป็นอุภโตพยัญชนกบ้าง พึงมอบแก่ภิกษุอื่นด้วยสั่งว่า อย่าให้
ของสงฆ์เสียหาย เมื่อยังไม่เสร็จ ควรมอบให้แก่ภิกษุอื่น เมื่อทำเสร็จ แล้ว
หลีกไป นวกรรมเป็นของภิกษุนั้นนั่นเองอาทิผิด อักขระ สึก ถึงมรณภาพ ปฏิญาณเป็น
สามเณรอาทิผิด อักขระ บอกลาสิกขา ต้องอันติมวัตถุ สงฆ์เป็นเจ้าของ วิกลจริต มีจิตฟุ้งซ่าน
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 24, 2011

Khi Phueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/184/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[ว่าด้วยบริกรรมพื้น ]
บทว่า อิกฺกาสํ ได้แก่ ยางไม้หรือยางผสม.
บทว่า ปิฏฺฐมทฺทํ ได้แก่อาทิผิด สระ แป้งเปียก.
บทว่า กุณฺฑกมตฺติกํ ได้แก่ ดินเหนียวปนรำ.
บทว่า สาสปกุฏํ ได้แก่ แป้งเมล็ดพรรณผักกาด.
บทว่า สิตฺถเตลกํ ได้แก่ ขี้ผึ้งอาทิผิด อาณัติกะเหลว.
สองบทว่า อจฺจุสฺสนฺนํ โหติ มีความว่า เป็นหยด ๆ ติดอยู่.
บทว่า ปจฺจุทฺธริตุํ ได้แก่ เช็ด
บทว่า ลณฺฑมตฺติกํ ได้แก่ ดินเหนียว คือ ขุยไส้เดือน.
บทว่า กสาวํ ได้แก่ น้ำฝาดแห่งมะขามป้อมและสมอ.
วินิจฉัยในคำว่า น ภิกฺขเว ปฏิภาณจิตฺตํ นี้ พึงทราบดังนี้ :-
รูปสตรีและบุรุษอย่างเดียวเท่านั้น อันภิกษุไม่ควรให้ทำ หามิได้ รูป-
สัตว์ดิรัจฉาน โดยที่สุดแม้รูปไส้เดือนภิกษุไม่ควรทำเองหรือสั่งว่า ท่านจงทำ
ย่อมไม่ได้แม้เพื่อสั่งว่า อุบาสก ท่านจงทำคนเฝ้าประตู. แต่ยอมให้ใช้ผู้อื่น
เขียนเรื่องทั้งหลายซึ่งน่าเลื่อมใส มีปกรณ์ชาดกแลอสทิสทานอาทิผิด อักขระเป็นต้น หรือซึ่ง
ปฏิอาทิผิด อักขระสังยุตด้วยความเบื่อหน่าย, ทั้งอาทิผิด อาณัติกะยอมให้ทำเองซึ่งมาลากรรมอาทิผิด อักขระเป็นต้น .
บทว่า อาฬกมนฺทา มีความว่า เป็นลาน อันเดียว คับคั่งด้วยมนุษย์.
[ว่าด้วยห้องเป็นต้น]
วินิจฉัยในบทว่า ตโย คพฺเภ นี้ พึงทราบดังนี้ :-
สิวิกาคัพภะนั้น ได้แก่ ห้อง ๔ เหลี่ยมจตุรัส.
นาฬิกาคัพภะนั้น ได้แก่ ห้องยาวกว่าด้านกว้าง ๒ เท่าหรือ ๓ เท่า
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 22, 2011

Somkhuan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/188/8  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อุคคคฤหบดี ได้ซื้อพื้นที่ประมาณกึ่งคาวุต ด้วยเรียงอิฐทองคำสร้าง
วิหารถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า โกนาคมนะ.
สุมังคลคฤหบดี ได้ซื้อพื้นที่ประมาณ ๒๐ อุสภะ ด้วยเรียงเต่าทองคำ
สร้างวิหารถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า กัสสปะ
สุทัตตคฤหบดี ได้ซื้อพื้นที่ประมาณ ๘ กรีส ด้วยเรียงกหาปณะสร้าง
วิหารถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย ฉะนั้นแล.
สมบัติทั้งหลายเสื่อมสิ้นไปโดยลำดับ ด้วยประการฉะนี้ เพราะเหตุนั้น
สมควรแท้ที่จะเบื่อหน่ายในสมบัติทั้งปวง สมควรอาทิผิด อักขระแท้ที่จะพ้น ไปเสีย ฉะนั้นแล.
[ว่าด้วยนวกรรม]
บทว่า ขณฺฑํ ได้แก่ โอกาสที่ร้าว.
บทว่า ผุลฺลํ ได้แก่ โอกาสที่แตกแยะ.
บทว่า ปฏิสงฺขริสฺสติ ได้แก่ จักทำให้คืนเป็นปกติ.
ในกุรุนทีแก้ว่า ก็ภิกษุผู้ได้นวกรรม ไม่ควรถือเอา เครื่องมือมีมีด
ขวานและสิ่วอาทิผิด สระเป็นต้น ลงมือทำเอง. ควรรู้ว่า เป็นอันทำแล้วหรือไม่เป็นอันทำ.
[ว่าด้วยการจับจองเสนาสนะ]
หลายบทว่า ปิฏฺฐิโต ปิฏฺฐิโต คนฺตฺวา มีความว่า ได้ยินว่า
พระเถระมัวปรนนิบัติภิกษุไข้อยู่ มัวช่วยเหลือภิกษุผู้แก่ผู้เฒ่าอยู่ จึงมาข้างหลัง
ภิกษุทั้งปวง. ข้อนี้เป็นจารีตของท่าน. ด้วยเหตุนั้นพระธรรมสังคาหกาจารย์จึง
กล่าวว่า ไปล้าหลัง.
บทว่า อคฺคาสนํ ได้แก่ เถรอาสน์
บทว่า อคฺโคทกํ ได้แก่ ทักษิโณทก.
บทว่า อคฺคปิณฺฑํ ได้แก่ บิณฑบาตสำหรับพระอาทิผิด สระสังฆเถระ.
อุสภะ = ๕๒ วา.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 20, 2011

Parisatcha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 25/184/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าสิขี
ตรัสกะภิกษุอภิภูว่า ดูก่อนพราหมณ์ ธรรมีกถาจงแจ่มแจ้งแก่พรหม พรหม
บริษัทและพรหมปาริสัชชะทั้งหลายเถิด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอภิภูรับ
พระดำรัสของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามอาทิผิด อักขระว่าสิขีแล้ว แล้ว
ยังพรหม พรหมบริษัท และพรหมปาริสัชชะทั้งหลาย ให้เห็นแจ้ง ให้สมาทาน
ให้อาจหาญ ให้รื่นเริง ด้วยธรรมีกถาแล้ว.
[๖๑๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ได้ยินว่าในกาลนั้น พรหม พรหม
บริษัท และพรหมปาริสัชชะทั้งหลาย ยกโทษติเตียนโพนทะนาว่า แน่ะท่าน
ผู้เจริญ น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยมีมาเลย ก็เมื่อพระศาสดาประทับอยู่เฉพาะหน้า
เหตุไฉน พระสาวกจึงแสดงธรรม.
ลำดับนั้นแล พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าสิขี
ตรัสเรียกภิกษุอภิภูมาว่า ดูก่อนพราหมณ์ พรหม พรหมบริษัท และพรหม
ปาริสัชชะเหล่านั้นติเตียนว่า แน่ะท่านผู้เจริญ น่าอัศจรรย์จริง ไม่เคยมีมาเลย
ก็เมื่อพระศาสดาประทับอยู่เฉพาะหน้า เหตุไฉน พระสาวกจึงแสดงธรรม
ดูก่อนพราหมณ์ ถ้าอย่างนั้น เธอจงให้พรหม พรหมบริษัท และพรหม
ปาริสัชชะทั้งหลายสลดใจประมาณยิ่ง.
ภิกษุอภิภูทูลรับพระดำรัสของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าสิขีแล้ว มีกายปรากฏแสดงธรรมบ้าง มีกายไม่ปรากฏแสดงธรรมบ้าง
มีกายปรากฏกึ่งหนึ่งตอนล่าง ไม่ปรากฏกึ่งหนึ่งตอนบนแสดงธรรมบ้าง มีกาย
ปรากฏกึ่งหนึ่งตอนบน ไม่ปรากฏกึ่งหนึ่งตอนล่างแสดงธรรมบ้าง.
[๖๑๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ได้ยินว่า ในกาลนั้น พรหม พรหม
บริษัท และพรหมปาริสัชชะอาทิผิด สระทั้งหลาย ได้มีจิตพิศวงเกิดแล้วว่า น่าอัศจรรย์จริง
ไม่เคยมีมาเลย ท่านผู้เจริญทั้งหลาย ความที่สมณะเป็นผู้มีฤทธิ์มาก มีอานุภาพ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 17, 2011

Khun

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 60/392/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาอุททาลกชาดก
พระศาสดาเมื่อเสด็จประทับอยู่ ณ พระมหาวิหารเชตวัน ทรง
พระปรารภภิกษุผู้หลอกลวงรูปหนึ่ง ตรัสเรื่องนี้มีคำเริ่มต้นว่า ขราชินา
ชฏิลา ปงฺกทนฺตา ดังนี้.
เรื่องย่อมีว่า ภิกษุนั้น แม้บวชในพระศาสนาอันมีธรรมเป็นเครื่อง
นำออกจากทุกข์ได้แล้ว ก็ยังชอบประพฤติเรื่องหลอกลวง ๓ สถาน เพื่อต้อง
การปัจจัยทั้งสี่. ครั้งนั้นพวกภิกษุเมื่อจะประกาศโทษของเธอ ตั้งเรื่องสนทนา
กันในธรรมสภาว่า ผู้มีอายุทั้งหลาย ภิกษุที่ชื่อโน้นบวชในพระศาสนา อัน
ประกอบด้วยธรรม เป็นเครื่องนำออกจากทุกข์เห็นปานนี้แล้ว ยังจะอาศัยการ
หลอกลวงเลี้ยงชีวิตอยู่เล่า. พระศาสดาเสด็จมาตรัสถามว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อกี้พวกเธอสนทนากันด้วยเรื่องอะไร เมื่อพวกภิกษุกราบทูลให้ทรงทราบแล้ว
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย มิใช่แต่ในบัดนี้เท่านั้น แม้ในครั้งก่อนเธอก็
หลอกลวงเหมือนกัน ทรงนำอดีตนิทานมา ดังต่อไปนี้.
ในอดีตกาล ครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติ ณ พระนคร
พาราณสี พระโพธิสัตว์เสวยพระชาติเป็นปุโรหิต เป็นบัณฑิตเฉลียวฉลาด.
วันหนึ่งท่านไปเล่นอุทยาน เห็นหญิงแพศยารูปงามนางหนึ่ง ติดใจ สำเร็จการ
อยู่ร่วมกับนาง. นางอาศัยท่านมีครรภ์ ครั้นรู้ว่าตนมีครรภ์ ก็บอกท่านว่า
เจ้านาย ดิฉันตั้งครรภ์แล้วละ ในเวลาเด็กเกิด เมื่อดิฉันจะตั้งชื่อ จะขนานนาม
เขาว่าอย่างไรเจ้าคะ. ท่านคิดว่า เพราะเด็กเกิดในท้องวัณณทาสีไม่อาจขนาน
นามตามสกุลได้ แล้วกล่าวว่า แม่นางเอ๋ย ต้นไม้ที่ป้องกันลมได้ต้นนี้ชื่อว่า
ต้นคูนอาทิผิด อักขระ เพราะเราได้เด็กที่นี้ เธอควรตั้งชื่อเขาว่า อุททาลกะ (คูนอาทิผิด อักขระ) เถิด แล้ว
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 16, 2011

Pumuna

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/188/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บ่นเรียกหาว่า พ่อสาม ๆ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ ลูกศร
คือความโศก ที่สองนี้แหละ ยังหัวใจของข้าพระองค์
ให้หวั่นไหว เพราะข้าพระองค์ไม่ได้เห็นท่านทั้งสอง
ผู้จักษุบอด ข้าพระองค์เห็นจักละเสียซึ่งชีวิต.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า. อุสามตฺตํ ได้แก่ พอเป็นอาหาร
ได้ยินว่า คำว่า อุสา เป็นชื่อของโภชนาหาร ความว่า บิดามารดาทั้งสอง
นั้นยังมีโภชนาหาร. บทว่า อถ สาหสฺส ชีวิตํ ความว่า มีชีวิต อยู่ได้
ประมาณหกวัน พระมหาสัตว์กล่าวคำนี้ หมายถึงผลาผลที่นำมาตั้งไว้ อีก
อย่างหนึ่ง บทว่า อุสา ได้แก่ ไออุ่น ด้วยบทนั้น พระมหาสัตว์แสดง
ความนี้ว่า ในร่างกายของบิดามารดาทั้งสองนั้นพอมีไออุ่นอาทิผิด อาณัติกะอยู่ เมื่อเป็นเช่นนี้
ก็จะมีชีวิตอยู่ได้หกวัน ด้วยผลาผลที่ข้าพระองค์นำมา. บทว่า มริสฺสเร
แปลว่า จักตาย ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงนี้ ถึง
เป็นความทุกข์ก็จริง แต่ไม่เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ เพราะเหตุไรจึง
กล่าวอย่างนี้. บทว่า ปุมุนาอาทิผิด สระ ได้แก่ อันบุรุษ ความว่า ความทุกข์เห็น
ปานนั้นนี้ อันบุรุษพึงได้ประสบทั้งนั้น ก็เพราะความทุกข์ที่ข้าพระองค์ไม่ได้เห็น
คุณแม่ปาริกานั้น เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ ยิ่งกว่าความทุกข์เพราะถูก
พระองค์ ยิงนี้ร้อยเท่าพันเท่าแสนเท่า. บทว่า จิรํ รตฺตาย รุจฺจติ ความว่า
จักอาทิผิด อักขระร้องไห้ตลอดราตรีนาน. บทว่า อฑฺฒรตฺเต ได้แก่ ในสมัยกึ่งราตรี.
บทว่า รตฺเต วา ได้แก่ ในสุดท้ายราตรี. บทว่า อวสุสฺสติ ได้แก่ จักเหือด
แห้ง อธิบายว่า จักเหือดแห้งไปเหมือนแม่น้ำอาทิผิด อักขระน้อยในฤดูร้อน. บทว่า อุฏาน-
ปาทจริยาย ความว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ข้าพระองค์ลุกขึ้นคืนละสองสามครั้ง
หรือวันละสองสามครั้ง ปฏิบัติรับใช้บิดามารดาทั้งสองนั้น นวดมือเท้าของท่าน
ทั้งสองนั้น ด้วยความหมั่นเพียรของข้าพระองค์ บัดนี้ ท่านทั้งสองผู้มีจักษุมืด
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 13, 2011

Patchai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 85/182/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูป
ทั้งหลายเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
[๗๓] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะอัตถิอาทิผิด อักขระปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์เกิดขึ้น ฯ ล ฯ.
อัตถิปัจจัย แสดงได้ ๙ วาระ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.
[๗๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะนัตถิปัจจัย ฯ ล ฯ
เพราะวิคตปัจจัย
นัตถิปัจจัย ก็ดี วิคตปัจจัย ก็ดี แสดงได้ ๓ วาระ เหมือนกับ
อารัมมณปัจจัย.
[๗๕] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะอวิคตปัจจัยอาทิผิด อักขระ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์เกิดขึ้น ฯ ล ฯ.
อวิคตปัจจัย แสดงได้ ๙ วาระ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.
ปัจจัยทั้ง ๒๓ เหล่านี้ ผู้สาธยายพึงจำแนกให้พิสดาร.

การนับจำนวนวาระในอนุโลมนัย
[๗๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ. ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 10, 2011

Yan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/207/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วรรณะ ๕ เสมือนบานประตูแก้วมณีที่เปิดในรัตนวิมาน เขาจะได้สมบัติใน
เทวดาเเละมนุษย์ ประมาณแสนกัป ข้อที่เขาเกิดเป็นมนุษย์เป็นคนมีปัญญา
พึงเสวยวิปากสมบัติเห็นปานนี้ ก็ด้วยบุญที่สำเร็จมาแต่การเห็นสมณะ ซึ่งเขา
ประพฤติมาโดยชอบ ไม่น่าอัศจรรย์เลย แม้สำหรับสัตว์เดียรัจฉานอาทิผิด อักขระ บัณฑิต
ทั้งหลาย ก็พรรณนาวิบากสมบัติของการเห็นสมณะ ที่เพียงทำศรัทธาให้เกิดแล้ว
อย่างเดียวไว้อย่างนี้ ในบาลีประเทศใด บาลีประเทศนั้นมีว่า
นกฮูก ตากลม อาศัยอยู่ที่เวทิยกบรรพตมาตลอด
กาลยาวนาน นกฮูกตัวนี้สุขแท้หนอ เห็นพระพุทธเจ้า
ผู้ประเสริฐอาทิผิด อักขระ ซึ่งลุกขึ้นแต่เช้า.
มันทำจิตให้เลื่อมใสในตัวเรา และภิกษุสงฆ์ผู้
ยอดเยี่ยม ไม่ต้องไปทุคติถึงแสนกัป มันจุติจากเทวโลก
อันกุศลกรรมตักเตือนแลัวจักเป็นพระพุทธะ ผู้มีอนัน-
ญาณอาทิผิด อักขระ ปรากฏพระนามว่า โสมนัสสะ ดังนี้.
ในเวลาพลบค่ำ หรือในเวลาย่ำรุ่ง ภิกษุฝ่ายพระสูตร ๒ รูป ย่อม
สนทนาพระสูตรกัน ฝ่ายพระวินัยก็สนทนาพระวินัยกัน ฝ่ายพระอภิธรรมก็
สนทนาพระอภิธรรมกัน ฝ่ายชาดกก็สนทนาชาดกกัน ฝ่ายอรรถกถาก็สนทนา
อรรถกถากันหรือสนทนากันในกาลนั้นๆ เพื่อชำระจิตที่ถูกความหดหู่อาทิผิด อาณัติกะ ความ
ฟุ้งซ่านและความสงสัยชักนำไป การสนทนาตามกาลนี้ ชื่อว่า การสนทนาธรรม
ตามกาล การสนทนาธรรมตามกาลนั้น ตรัสว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุแห่ง
คุณทั้งหลายมีความฉลาดในอาคมคือนิกายทั้ง ๕ เป็นต้นแล.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมงคลแห่งคาถานี้ไว้ มงคล คือ ความอดทน
๑ ความเป็นผู้ว่าง่าย ๑ การเห็นสมณะ ๑ และการสนทนาธรรมตามกาล ๑
ด้วยประการฉะนี้. ก็ความที่มงคลเหล่านั้นเป็นมงคลอาทิผิด อักขระ ได้ชี้แจงไว้ในมงคล
นั้น ๆ แล้วทั้งนั้นแล.
จบพรรณนาความแห่งคาถาว่า ขนฺติํ จ
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 09, 2011

Khap lai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 21/219/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วิฑูฑภะทูลถาม

[๕๘๑] เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว วิฑูฑภเสนาบดี ได้
กราบทูลพระผู้มีพระภาคอาทิผิด เจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เทดาเหล่าใดมีทุกข์ มาสู่
โลกนี้ เทวดาเหล่านั้นจักยังเทวดาทั้งหลายผู้ไม่มีทุกข์ ไม่มาสู่โลกนี้ ให้จุติ หรือ
จักขับไล่เสียจากที่นั้น.
ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์ได้มีความดำริว่า วิฑูฑภเสนาบดีนี้ เป็น
พระราชโอรสของพระเจ้าปเสนทิโกศล เราเป็นโอรสของพระผู้มีพระภาคเจ้า
บัดนี้เป็นกาลอันสมควรที่โอรสจะพึงสนทนากัน. ลำดับนั้น ท่านพระอานนท์
จึงกล่าวกะวิฑูฑภเสนาบดีว่า ดูก่อนเสนาบดีอาทิผิด  ถ้าเช่นนั้น ในข้อนี้ อาตมาจะขอ
ย้อนถามท่านก่อน ปัญหาใดพึงพอใจแก่ท่านฉันใด ท่านพึงพยากรณ์ปัญหานั้น
ฉันนั้น ดูก่อนเสนาบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน พระราชอาณาจักร
ของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีประมาณเท่าใด และในพระราชอาณาจักรใด พระเจ้า
ปเสนทิโกศลเสวยราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในพระราชอาณาจักรนั้น ท้าวเธอ
ย่อมทรงสามารถยังสมณะหรือพราหมณ์ ผู้มีบุญหรือผู้ไม่มีบุญ ผู้มีพรหมจรรย์
หรือผู้ไม่มีพรหมจรรย์ให้เคลื่อนหรือทรงขับไล่อาทิผิด สระเสียจากที่นั้นได้มิใช่หรือ. วิฑูฑภ
เสนาบดีตอบว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ พระราชอาณาจักรของพระเจ้าปเสนทิโกศล
มีประมาณเท่าใด และในพระราชาอาณาจักรใด พระเจ้าปเสนทิโกศลเสวย-
ราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในพระราชอาณาจักรนั้นท้าวเธอย่อมทรงสามารถยัง
สมณะหรือพราหมณ์ผู้มีบุญหรือผู้ไม่มีบุญ ผู้มีพรหมจรรย์หรือผู้ไม่มีพรหมจรรย์
ให้เคลื่อนหรือทรงขับไล่เสียจากที่นั้นได้.
อา. ดูก่อนเสนาบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ที่อันมิใช่
พระราชอาณาจักรของพระเจ้าปเสนทิโกศลมีประมาณเท่าใด และในที่ใด
พระเจ้าปเสนทิโกศลมิได้เสวยราชสมบัติเป็นอิศราธิบดี ในที่นั้น ท้าวเธอย่อม
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 06, 2011

Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 87/205/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๙๙๔] ๒. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพ-
เหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของ
สหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๕] ๓. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรมอาทิผิด ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
[๙๙๖] ๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
[๙๙๗] ๕. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
ทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณ-
ปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของสหชาตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ
ของอุปนิสสยปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[๙๙๘] ๖. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ทัสส-
เนนปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย เป็นปัจจัยด้วยอำนาจอาทิผิด อักขระของอุป-
นิสสยปัจจัย.
[๙๙๙] ๗. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ภาว-
นายปหาตัพพเหตุกธรรม และเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุก-
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 五月 05, 2011

Dangklao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 74/226/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ผู้ใดดำลงแล้ว ย่อมระงับความกระวนกระวาย
และความร้อน ย่อมให้ความยินดีและปีติ ฉัน
ใด. ในกาลเมื่อเราเข้าไปยังไฟที่ลุกโพลง ก็
ฉันนั้นเหมือนกัน ความกระวนกระวายทั้งปวง
ย่อมระงับ ดังดำลงในน้ำเย็นฉะนั้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า มม สงฺกปฺปมญฺญาย คือท้าวสักกะทรง
ทราบความปริวิตก มีประการดังอาทิผิด อักขระกล่าวแล้วในก่อน. บทว่า พราหมณวณฺณินา
คืออัตภาพเป็นรูปพราหมณ์. บทว่า อาสยํ คือพุ่มไม้เป็นที่อยู่. บทว่า
สนฺตุฏฺโฐ คือยินดีโดยส่วนทั้งปวงอย่างสม่ำเสมอ. บทว่า ฆาสเหตุ คือ
เพราะเหตุแห่งอาหาร. บทว่า อทินฺนปุพฺพํ คืออันอาทิผิด อักขระใคร ๆ ที่มิใช่พระโพธิ-
สัตว์ไม่เคยให้. บทว่า ทานวรํ คือทานอันอุดม. สสปัณฑิตกล่าวว่า วันนี้
เราจักให้แก่ท่าน. ท่านผู้ประกอบด้วยศีลคุณ การเบียดเบียนผู้อื่นไม่สมควร
แก่ท่าน บัดนี้เพื่อจะเปลื้องพราหมณ์ออกจากการฆ่าสัตว์ แล้วทำตนให้
สมควรแก่การบริโภคของพราหมณ์นั้นแล้วให้ จึงกล่าวคำมีอาทิว่า เอหิ
อคฺคึ ปทีเปหิ ท่านจงก่อไฟขึ้น.
ในบทเหล่านั้น บทว่า อหํ ปจิสฺสมตฺตานํ เราจักย่างตัวของเรา
คือเมื่อท่านทำห้องอันเต็มด้วยถ่านอาทิผิด อักขระเพลิงแล้วเราจะโดดย่างตัวของเรา. บทว่า
ปกฺกํ ตฺวํ ภกฺขยิสฺสสิ คือ ท่านจะได้กินเนื้อที่สุกเช่นนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 03, 2011

Haeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/201/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก่อน อธิบายว่า เมื่อบรรลุไม่ได้ ก็จะบรรลุในมรณกาล บทว่า อถ
มรณกาเล ได้แก่ ย่อมอาทิผิด อาณัติกะบรรลุอรหัตผลในเวลาใกล้จะตาย
บทว่า อนฺตราปรินิพฺพายี ความว่า อันตราปรินิพพายีใด อายุ
ยังไม่ถึงกลางคน ปรินิพพานเสียก่อนอาทิผิด อาณัติกะ อันตราปรินิพพายีนั้นอาทิผิด อักขระ มีสามอย่าง คือ
ผู้หนึ่งเกิดในชั้นอวิหามีอายุพันกัป จะบรรลุพระอรหัตผล ครั้งแรกในวันที่ตน
เกิดนั่นเอง. ถ้าไม่บรรลุในวันที่ตนเกิด ก็จะบรรลุในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะร้อยกัปต้น
นี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่หนึ่ง อีกหนึ่ง เมื่อไม่อาจอย่างนี้ จะบรรลุในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะ
สองร้อยกัปนี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่สอง อีกหนึ่ง เมื่อไม่อาทิผิด อาณัติกะอาจอย่างนี้ จะบรรลุ
ในที่สุดแห่งอาทิผิด อาณัติกะสี่ร้อยกัป นี้เป็นอันตราปรินิพพายีที่สาม ก็พ้นร้อยกัปที่ห้าบรรลุ
อรหัตผลชื่อว่าอปหัจจปรินิพพายี แม้ในชั้นอตัปปา ก็มีนัยนี้เหมือนกัน
ก็เขาเกิดในที่แห่งใดแห่งหนึ่ง บรรลุอรหัตผลแล้ว ด้วยการประกอบร่วมกันมี
ปัจจัยปรุงแต่ง ชื่อว่า สสังขารปรินิพพายี. บรรลุอรหัตผลแล้ว ด้วยการ
ไม่ประกอบทั้งไม่มีปัจจัยปรุงแต่ง ชื่อว่า อสังขารปรินิพพายี. ผู้เกิดแม้ใน
ชั้นอวิหาเป็นต้น ดำรงอยู่ในชั้นนั้นตลอดอายุแล้ว เกิดในชั้นสูง ๆ ขึ้นไป
ถึงอกนิฏฐพรหม ชื่อว่า อุทธังโสโตอกนิฏอาทิผิด อักขระฐคามี.
ส่วนอนาคามี ๔๘ ควรกล่าวไว้ในที่นี้ด้วย ก็ในชั้นอวิหา อันตรา-
ปรินิพพายีมีสาม อุปหัจจปรินิพพายีมีหนึ่ง อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีมีหนึ่ง
รวมเป็น ๕ อสังขารปรินิพพายีเหล่านั้น ๕ สสังขารปรินิพพายี ๕ รวมเป็น ๑๐.
ในชั้นอตัปปาเป็นต้นก็อย่างนั้น ส่วนในชั้นอกนิฏฐพรหม ไม่มีอุทธังโสโต.
เพราะฉะนั้น ในชั้นอกนิฏฐพรหมนั้น มีสสังขารปรินิพพายี ๔ มีอสังขาร
ปรินิพพายี ๔ รวมเป็น ๘ รวมอนาคามีได้ ๔๘ ด้วยประการฉะนี้ บรรดา
อนาคามีเหล่านั้น อุทธังโสโตอกนิฏฐคามีย่อมเป็นผู้ใหญ่กว่าเขาทั้งหมด
 
พระปิฎกธรรม