星期一, 五月 16, 2011

Pumuna

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/188/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บ่นเรียกหาว่า พ่อสาม ๆ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ ลูกศร
คือความโศก ที่สองนี้แหละ ยังหัวใจของข้าพระองค์
ให้หวั่นไหว เพราะข้าพระองค์ไม่ได้เห็นท่านทั้งสอง
ผู้จักษุบอด ข้าพระองค์เห็นจักละเสียซึ่งชีวิต.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า. อุสามตฺตํ ได้แก่ พอเป็นอาหาร
ได้ยินว่า คำว่า อุสา เป็นชื่อของโภชนาหาร ความว่า บิดามารดาทั้งสอง
นั้นยังมีโภชนาหาร. บทว่า อถ สาหสฺส ชีวิตํ ความว่า มีชีวิต อยู่ได้
ประมาณหกวัน พระมหาสัตว์กล่าวคำนี้ หมายถึงผลาผลที่นำมาตั้งไว้ อีก
อย่างหนึ่ง บทว่า อุสา ได้แก่ ไออุ่น ด้วยบทนั้น พระมหาสัตว์แสดง
ความนี้ว่า ในร่างกายของบิดามารดาทั้งสองนั้นพอมีไออุ่นอาทิผิด อาณัติกะอยู่ เมื่อเป็นเช่นนี้
ก็จะมีชีวิตอยู่ได้หกวัน ด้วยผลาผลที่ข้าพระองค์นำมา. บทว่า มริสฺสเร
แปลว่า จักตาย ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงนี้ ถึง
เป็นความทุกข์ก็จริง แต่ไม่เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ เพราะเหตุไรจึง
กล่าวอย่างนี้. บทว่า ปุมุนาอาทิผิด สระ ได้แก่ อันบุรุษ ความว่า ความทุกข์เห็น
ปานนั้นนี้ อันบุรุษพึงได้ประสบทั้งนั้น ก็เพราะความทุกข์ที่ข้าพระองค์ไม่ได้เห็น
คุณแม่ปาริกานั้น เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ ยิ่งกว่าความทุกข์เพราะถูก
พระองค์ ยิงนี้ร้อยเท่าพันเท่าแสนเท่า. บทว่า จิรํ รตฺตาย รุจฺจติ ความว่า
จักอาทิผิด อักขระร้องไห้ตลอดราตรีนาน. บทว่า อฑฺฒรตฺเต ได้แก่ ในสมัยกึ่งราตรี.
บทว่า รตฺเต วา ได้แก่ ในสุดท้ายราตรี. บทว่า อวสุสฺสติ ได้แก่ จักเหือด
แห้ง อธิบายว่า จักเหือดแห้งไปเหมือนแม่น้ำอาทิผิด อักขระน้อยในฤดูร้อน. บทว่า อุฏาน-
ปาทจริยาย ความว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ข้าพระองค์ลุกขึ้นคืนละสองสามครั้ง
หรือวันละสองสามครั้ง ปฏิบัติรับใช้บิดามารดาทั้งสองนั้น นวดมือเท้าของท่าน
ทั้งสองนั้น ด้วยความหมั่นเพียรของข้าพระองค์ บัดนี้ ท่านทั้งสองผู้มีจักษุมืด
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: