turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 49/286/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า รูเป ความว่าเป็นเหตุแห่งรูป
คือ เป็นนิมิตแห่งความเกิดขึ้นแห่งรูป. แม้ในบทว่า อายุนา แปลว่า
ด้วยชีวิต. ก็ชีวิตของเทวดาทั้งหลาย ท่านกล่าวมีกำหนดเป็น
ประมาณมิใช่หรือ ? ท่านกล่าวจริง. แต่ชีวิตนั้นท่านกล่าวไว้โดย
ส่วนมาก. จริงอย่างนั้น เทวดาบางเหล่า ย่อมมีการตายในระหว่าง
ทีเดียว เพราะความวิบัติแห่งความพยายามเป็นต้น. ส่วนอินทก-
เทพบุตร ยัง ๓ โกฏิ ๖ ล้านปีให้บริบูรณ์เท่านั้น. เพราะเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวว่า ย่อมไพโรจน์ล่วงด้วยอายุ. บทว่า ยสสา ได้แก่
สมบูรณ์ด้วยบริวารใหญ่. บทว่า วณฺเณน ความว่า ด้วยความ
สมบูรณ์ด้วยทรวดทรง. แต่ความสมบูรณ์ด้วยวรรณธาตุ ท่าน
กล่าวไว้ด้วยบทว่า รูเป ดังนี้นั่นเอง. บทว่า อาธิปจฺเจน แปลว่า
ด้วยความเป็นใหญ่.
เมื่ออังกุรเทพบุตร และอินทกเทพบุตร บังเกิดในภพชั้น
ดาวดึงส์ เสวยทิพยสมบัติ พระผู้มีพระภาคเจ้าของเราทั้งหลาย
ทรงกระทำยมกปาฏิหาริย์อาทิผิด ณ โคนแห่งคัณฑามพฤกษ์ ที่ประตูแห่ง
กรุงสาวัตถี ในวันอาสาฬหปุณณมี ในปีที่ ๗ แต่กาลตรัสรู้
เสด็จไปยังภพชั้นดาวดึงส์ โดยอาทิผิด อักขระย่างก้าวไป ๓ ก้าวโดยลำดับ ทรง
ครอบงำความรุ่งเรืองอาทิผิด อาณัติกะของเทวพรหมบริษัท ผู้ประชุมกันด้วย
โลกธาตุ ณ บัณฑุกัมพลอาทิผิด สระศิลาอาสน์ ที่ควงต้นปาริฉัตตกะ ด้วย
รัศมีพระสรีระของพระองค์ เหมือนพระสุริโยทัยทอแสงอ่อน ๆ
เหนือเขายุคนธรรุ่งเรืองอาทิผิด อาณัติกะอยู่ฉะนั้น ประทับทั่งแสดงอภิธรรม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/303/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องไห้รีด
ก็โดยสมัยนั้นแล หญิงมีครรภ์คนหนึ่ง ได้บอกเรื่องนี้กะภิกษุผู้กุลุปกะ
ว่า นิมนต์เถิดเจ้าข้า ท่านจงรู้เภสัชที่ทำให้ครรภ์ตก ภิกษุนั้นบอกว่า น้องหญิง
ถ้าเช่นนั้นท่านจงรีด นางจึงได้รีดให้ครรภ์ตกไป เธอมีความรังเกียจว่า เรา
ต้องอาบัติปาราชิกแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติปาราชิกแล้ว.
เรื่องให้ร้อน
ก็โดยสมัยนั้นแล หญิงมีครรภ์คนหนึ่ง ได้บอกเรื่องนั้นกะภิกษุผู้กุลุปกะ
ว่า นิมนต์เถิดเจ้าข้า ท่านจงรู้เภสัชที่ทำให้ครรภ์ตก ภิกษุนั้นบอกว่า น้องหญิง
ถ้าเช่นนั้นท่านจงทำให้ครรภ์ร้อน นางจึงทำให้ครรภ์ร้อน ให้ครรภ์ตกไป
เธอมีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติปาราชิกแล้วกระมังหนอ จึงอาทิผิด สระกราบทูลเรื่อง
นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอต้องอาบัติปาราชิกแล้ว.
เรื่องหญิงหมัน
ก็โดยสมัยนั้นแล หญิงหมันคนหนึ่ง ได้บอกเรื่องนี้กะภิกษุผู้กุลุปกะว่า
นิมนต์เถิดเจ้าข้า ท่านจงรู้เภสัชที่ทำให้ดิฉันคลอดอาทิผิด อักขระบุตร ภิกษุนั้นรับ คำว่า ดีละ
น้องหญิง แล้วได้ให้เภสัชแก่นาง ๆ ถึงแก่กรรม เธอมีความรังเกียจว่า เรา
ต้องอาบัติปาราชิกแล้วกระมังหนอ จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ
ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติปาราชิก แต่ต้องอาบัติทุกกฏ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 33/509/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า ปวารณาฏฺฐปนํ ปญฺญตฺตํ ความว่า ทรงบัญญัติการงดปวารณา
เมื่อภิกษุมีอาบัติสวดญัตติปวารณา.
ในตัชชนียกรรมเป็นต้น เมื่อภิกษุทั้งหลายทิ่มแทงกันด้วยหอกคือ
วาจา ทรงบัญญัติตัชชนียกรรมแก่เหล่าภิกษุพวกปัณฑุกะและพวกโลหิตกะ.
ทรงบัญญัตินิยัสสกรรมแก่ภิกษุเสยยสกะผู้เป็นพาลไม่ฉลาด. ทรงปรารภ
ภิกษุพวกอัสสชิปุนัพพสุกะผู้ประทุษร้ายตระกูล บัญญัติปัพพาชนียกรรม.
ทรงบัญญัติปฏิสารณียกรรมแก่พระสุธรรมเถระผู้ด่าพวกคฤหัสถ์ ทรง
บัญญัติอุกเขปนียกรรม ในเพราะไม่เห็นอาบัติเป็นต้น.
ทรงบัญญัติการให้ปริวาส เพื่ออาบัติที่ปกปิดไว้สำหรับภิกษุผู้ต้อง
ครุกาบัติ ทรงบัญญัติมูลายปฏิกัสสนะ แก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติในระหว่างอยู่
ปริวาส. ทรงบัญญัติการให้มานัตเพื่ออาบัติที่ปกปิดก็ดี ที่มิได้ปกปิดก็ดี.
ทรงบัญญัติอัพภานแก่อาทิผิด ภิกษุผู้ประพฤติมานัตแล้ว.
ทรงบัญญัติโอสารณียกรรมแก่อุปสัมปทาเปกขะผู้ปฏิบัติถูกระเบียบ.
ทรงบัญญัตินิสสารณียกรรมในเพราะปฏิบัติไม่ถูกระเบียบเป็นต้น .
ทรงบัญญัติอุปสัมปทา ๘ อย่าง คือ ๑. เอหิภิกษุอุปสัมปทา
๒. สรณคมนอุปสัมปทา ๓. โอวาทอุปสัมปทา ๔. ปัญหาพยากรณ-
อุปสัมปทา ๕. ญัตติจตุตถกรรมอุปสัมปทา ๖. ครุธรรมอุปสัมปทา
๗. อุภโตสังเฆอุปสัมปทา ๘. ทูเตนอุปสัมปทา.
ทรงบัญญัติกรรมซึ่งประกอบด้วยฐานะอาทิผิด อักขระ ๙ อย่างนี้ว่า ญัตติกรรม
ย่อมถึงฐานะ ๙ ดังนี้. ทรงบัญญัติญัตติทุติยกรรม ซึ่งประกอบด้วยฐานะ
๗ อย่างนี้ว่า ญัตติทุติยกรรมย่อมถึงฐานะ ๗ ดังนี้ . ทรงบัญญัติญัตติ-
จตุตถกรรมซึ่งประกอบด้วยฐานะ ๗ เหมือนกันอย่างนี้ว่า ญัตติจตุตถ-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 67/427/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีประโยคเป็นอันเดียวกัน มีความประสงค์เป็นอันเดียวกัน มีการอบรม
วาสนาเป็นอันเดียวกัน กับปิงคิยพราหมณ์นั้น ว่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความ
เกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่งนั้นทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา ส่วน
ปิงคิยพราหมณ์อาทิผิด อักขระนั้น มีธรรมจักษุ (อนาคามิมรรค) อันปราศจากกิเลสธุลี
ปราศจากมลทิน เกิดขึ้นว่า สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเป็นธรรมดา สิ่ง
นั้นทั้งมวลล้วนมีความดับไปเป็นธรรมดา หนังเสือ ชฎาอาทิผิด อักขระ ผ้าคากรอง
ไม้เท้า เต้าน้ำ ผมและหนวดหายไปแล้ว พร้อมกับการได้ธรรมจักษุ
พระปิงคิยะนั้นเป็นภิกษุทรงผ้ากาสายะเป็นบริขาร ทรงสังฆาฏิอาทิผิด อักขระ บาตรและ
จีวร ทำความเคารพด้วยการปฏิบัติเป็นไปตามประโยชน์ นั่งนมัสการ
พระผู้มีพระภาคเจ้าประกาศว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้า
เป็นพระศาสดาของข้าพระองค์ ข้าพระองค์เป็นสาวกฉะนี้แล.
จบปิงคิยมาณวกปัญหานิทเทสที่ ๑๖
อรรถกถาปิงคิยมาณวกปัญหานิทเทสที่ ๑๖
พึงทราบวินิจฉัยในปิงคิยสุตตนิทเทสที่ ๑๖ ดังต่อไปนี้.
บทว่า ชิณฺโณหมสฺมี อพโล วิวณฺโณ ปิงคิยพราหมณ์ทูลว่า
ข้าพระองค์เป็นคนแก่ มีกำลังน้อย ปราศจากผิวพรรณ คือ ได้ยินว่า
พราหมณ์นั้นถูกชราครอบงำ มีอายุ ๑๒๐ ปีโดยกำเนิด มีกำลังน้อย
มีผิวพรรณเศร้าหมอง คิดว่าจักยืนหยัดอยู่ในที่นี้ ไม่ไปที่อื่น. ด้วยเหตุนั้น
ปิงคิยะจึงทูลว่า ข้าพระองค์เป็นคนแก่ มีกำลังน้อย มีผิวพรรณเศร้า-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/540/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาตัณหาสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในตัณหาสูตรที่ ๙ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า ชาลินิํ คือ เสมือนตาข่าย. อธิบายว่า ขึ้นชื่อว่าตาข่ายที่อาทิผิด อาณัติกะ
เขาถักไว้ยุ่งเหยิงโดยรอบ ฉันใด แม้ตัณหาก็ฉันนั้น ท่านเรียกว่า ชาลินี
เพราะเป็นเสมือนตาข่าย. ตัณหาชื่อว่า ชาลินี เพราะตัณหานี้ครอบงำภพ
๓ อยู่ มีตาข่ายอันเป็นส่วนของตนในภพนั้น ๆ ดังนี้ก็มี. บทว่า สํสริตํ คือ
ท่องไปในภพนั้น ๆ อยู่. บทว่า วิสฏํ ได้แก่ แผ่ไป คือ ซ่านไป. บทว่า
วิสตฺติกํ ได้แก่ ข้องติดอยู่ในภพนั้น ๆ. อีกอย่างหนึ่ง พึงเห็นความโดยนัย
เป็นต้นว่า ตัณหาชื่อวิสัตติกา มีรากเป็นพิษ ตัณหาชื่อวิสัตติกา มีผลเป็นพิษ
ดังนี้. บทว่า อุทฺธสฺโต ได้แก่ ปกคลุมเบื้องบน. บทว่า ปริโยนทฺโธ
ได้แก่ หุ้มรัดไว้โดยรอบ
บทว่า ตนฺตากุลกชาโต คือ ยุ่งเหยิงเหมือนด้ายยุ่ง. อธิบายว่า
ด้ายของช่างหูก เก็บไว้ไม่ดี ถูกหนูกัด ย่อมยุ่งเหยิงในที่นั้น ๆ ยากที่จะกำหนด
ปลายกับปลาย หรือโคนกับโคน ว่านี้ปลาย นี้โคนดังนี้ ฉันใด สัตว์ทั้งหลาย
ก็ฉันนั้นเหมือนกัน ถูกตัณหานี้รึงรัด วุ่นวายยุ่งเหยิง ไม่สามารถจะทำทาง
แล่นอาทิผิด สระออกแห่งตัณหาของตนให้ตรงได้. บทว่า คุลาคุณฺฑิกชาโต ได้แก่
ด้ายที่ชุบน้ำข้าวของช่างหูก ท่านเรียกว่า คุลาคุณฑิกะ (ด้ายชุบน้ำข้าว)
อาจารย์พวกหนึ่งกล่าวว่า รังของนางนกชื่อว่า คุลา ดังนี้ก็มี พึงประกอบ
ความโดยนัยก่อนว่า แม้ทั้งสองนั้น ก็ยุ่งยากที่จะกำหนดปลายกับปลาย หรือ
โคนกับโคน ฉันใด.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 80/611/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วิมุจจมานกกถา
[๗๕๔] สกวาที จิตที่หลุดพ้นแล้ว ยังหลุดพ้นอยู่ หรือ ?
ปรวาที ถูกแล้ว.
ส. ส่วนหนึ่งหลุดพ้นแล้ว อีกส่วนหนึ่งยังไม่หลุด
พ้น หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๗๕๕] ส. ส่วนหนึ่งหลุดพ้นแล้ว อีกส่วนหนึ่งยังไม่หลุด
พ้น หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. ส่วนหนึ่ง เป็นพระโสดาบัน อีกส่วนหนึ่ง ไม่
เป็นพระโสดาบัน ส่วนหนึ่ง ถึงแล้ว ได้เฉพาะแล้ว บรรลุแล้ว ทำ
ให้แจ้งแล้ว เข้าถึงอยู่ถูกต้องด้วยกายอยู่ ซึ่งโสดาปัตติผล อีกส่วนหนึ่ง
ไม่ถูกต้องด้วยกายอยู่ ซึ่งโสดาปัตติผล ส่วนหนึ่ง เป็นพระโสดาบัน
ผู้สัตตขัตตุปรมะ ผู้โกลังโกละ ผู้เอกพีชี ประกอบด้วยความเลื่อมใส
อันไม่หวั่นไหวในพระพุทธเจ้า ฯลฯ ในพระธรรม ฯลฯ ในพระสงฆ์
ฯลฯ ประกอบด้วยอริยกันตศีล อีกส่วนหนึ่ง ไม่ประกอบอาทิผิด ด้วยอริย-
กันตศีล หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
[๗๕๖] ส. ส่วนหนึ่ง หลุดพ้นแล้ว อีกส่วนหนึ่ง ยังไม่
หลุดพ้น หรือ ?
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/10/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปยุตด้วยสุขเวทนาและทุกขเวทนาเป็นสัญญาทราม สัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขม
สุขเวทนาเป็นสัญญาประณีต สัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสัญญาทราม สัญญา
ของผู้เข้าสมาบัติเป็นสัญญาประณีต สัญญาที่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญา
ทราม สัญญาที่ไม่เป็นอารมณ์ของอาสวะเป็นสัญญาประณีต
หรือพึงทราบสัญญาทรามสัญญาประณีต โดยอาศัยเทียบเคียงสัญญา
นั้น ๆ เป็นชั้นๆ ไป.
[๑๙] สัญญาไกล เป็นไฉน ?
อกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจากกุศลสัญญาและอัพยากตสัญญา กุศล-
สัญญาและอัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจากอกุศลสัญญา กุศลสัญญาเป็นสัญญา
ไกลจากอกุศลสัญญาและอัพยากตสัญญา อกุศลสัญญาและอัพยากตสัญญาเป็น
สัญญาไกลจากกุศลสัญญา อัพยากตสัญญาเป็นสัญญาไกลจากกุศลสัญญาและ
อกุศลสัญญา กุศลสัญญาและอกุศลสัญญาเป็นสัญญาไกลจากอัพยากตสัญญา
สัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
และอทุกขมสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนาเป็น
สัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยทุกเวทนาและอทุกขสุขเวทนา สัญญา
ที่สัมปยุตด้วยทุกขเวทนาและอทุกขมสุขเวทนา เป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัม-
ปยุตด้วยสุขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนาเป็นสัญญาไกลจาก
สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนาและอาทิผิด อักขระทุกขเวทนา สัญญาที่สัมปยุตด้วยสุขเวทนา
และทุกขเวทนาเป็นสัญญาไกลจากสัญญาที่สัมปยุตด้วยอทุกขมสุขเวทนา สัญญา
ของผู้ไม่เข้าสมาบัติเป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้เข้าสมาบัติ สัญญาของผู้เข้า
สมาบัติ เป็นสัญญาไกลจากสัญญาของผู้ไม่เข้าสมาบัติ สัญญาที่เป็นอารมณ์ของ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 24/455/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถาชฏิลสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในชฏิลสูตรที่ ๑ วรรคที่ ๒ ต่อไป :-
บทว่า ปุพฺพาราเม มิคารมาตุปาสาเท ได้แก่บนปราสาทของ
นางวิสาขา มารดาของมิคารเศรษฐี ในวิหารที่ชื่อว่าปุพพาราม. ในเรื่องปุพพา-
รามนั้น ลำดับความดังนี้
เรื่อง ปุพพาราม
ครั้งอดีตกาล เมื่อสุดแสนกัป อุบาสิกาผู้หนึ่งนิมนต์พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้า พระนามว่า ปทุมุตตระ ถวายทานแก่ภิกษุแสนรูป มีพระพุทธเจ้า
เป็นประธาน หมอบอยู่แทบเบื้องบาทของพระผู้มีพระภาคเจ้า ทำความปรารถนา
ว่า ข้าพระองค์ขอเป็นอุปัฏฐายิกาผู้เลิศของพระพุทธเจ้า เช่นกับพระองค์ใน
อนาคตกาลด้วยเถิด. ต่อมา นางท่องเที่ยว [เวียนว่ายตายเกิด] ในเหล่าเทวดา
และมนุษย์ถึงแสนกัป ถือปฏิสนธิในครรภ์นางสุมนเทวี ในเรือนของธนัญชัย
เศรษฐี บุตรเมณฑกเศรษฐีในภัททิยนคร ในกาลของพระผู้มีพระภาคเจ้า
ของเรา. เวลาเกิดบิดามารดาขนานนามว่า วิสาขา. คราวใด พระผู้มีพระภาคเจ้า
เสด็จภัททิยอาทิผิด อักขระนคร คราวนั้น นางพร้อมด้วยเด็กหญิงห้าร้อยคน ก็จะรับเสด็จพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้า ได้เป็นโสดาบัน ในการพบครั้งแรกเลยทีเดียว. ต่อมานาง
ไปสู่เรือน [มีเรือน] ของปุณณวัฒนกุมาร บุตรมิคารเศรษฐี กรุงสาวัตถี.
ณ ที่นั้น มิคารเศรษฐีสถาปนานางไว้ในตำแหน่งมารดา เพราะฉะนั้น นางจึง
ถูกเรียกว่า มิคารมารดา. ในปราสาทที่มิคารมารดาสร้างแล้ว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/175/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งหลายก็นิ่ง. คำของพระเถระผู้เป็นธรรมกถึกนั้นแล เชื่อถือได้.
เหมือนอย่างว่า ในระหว่างโคผู้ ๑๐๐ ตัว หรือ ๑,๐๐๐ ตัว เมื่อไม่มี
แม่โคผู้จะรักษาเชื้อสายเลย วงศ์เชื้อสาย ก็ไม่สืบต่อกัน ฉันใด
เมื่อภิกษุเริ่มวิปัสสนา ตั้ง ๑๐๐ ตั้ง ๑,๐๐๐ รูป มีอยู่ แต่ปริยัติไม่มี
ชื่อว่าการแทงตลอดอาทิผิด อักขระอริยมรรคก็ไม่มี ฉันนั้นนั่นแล. อนึ่งเมื่อเขาจารึก
อักษรไว้หลังแผ่นหิน เพื่อจะให้รู้ขุมทรัพย์ อักษรยังทรงอยู่เพียงใด
ขุมทรัพย์ทั้งหลาย ชื่อว่ายังไม่เสื่อมหายไปเพียงนั้น ฉันใด เมื่อ
ปริยัติ ยังทรงอยู่ พระศาสนา ก็ชื่อว่ายังไม่อันตรธาน ไป ฉันนั้น
เหมือนกันแล.
จบ อรรถกถาวรรคที่ ๑๐
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/574/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็น
ผู้ฉลาด เป็นสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนอาทิผิด อักขระไม่ให้ถูกขจัด ไม่ให้ถูกทำลาย ไม่มีโทษ
วิญญูชนไม่ติเตียน และย่อมได้ประสบบุญเป็นอันมาก ธรรม ๔ ประการ
เป็นไฉน คือ กายสุจริต ๑ วจีสุจริต ๑ มโนสุจริต ๑ สัมมาทิฏฐิ ๑ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แล เป็นผู้ฉลาด
เป็นสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนอาทิผิด อักขระไม่ให้ถูกขจัด ไม่ให้ถูกทำลาย ไม่มีโทษ วิญญูชน
ไม่ติเตียน และย่อมได้ประสบบุญเป็นอันมาก.
จบทิฏฐิสูตรที่ ๒
๓. อกตัญญูสูตร
ว่าด้วยคนพาล และบัณฑิต
[๒๒๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ
เป็นผู้ไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนให้ถูกขจัด ถูกทำลาย เป็นผู้
มีโทษ วิญญูชนติเตียน และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็นอันมาก ธรรม
๔ ประการเป็นไฉน คือ กายทุจริต ๑ วจีทุจริต ๑ มโนทุจริต ๑ ความ
เป็นคนอกตัญญูอกตเวที ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย คนพาลผู้ประกอบด้วยธรรม
๔ ประการนี้แล เป็นผู้ไม่ฉลาด เป็นอสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนให้ถูกขจัด
ถูกทำลาย เป็นผู้มีโทษ วิญญูชนติเตียน และย่อมประสบกรรมมิใช่บุญเป็น
อันมาก.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตผู้ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการ เป็น
คนฉลาด เป็นสัปบุรุษ ย่อมบริหารตนไม่ให้ถูกขจัด ไม่ให้ถูกทำลาย ไม่มีโทษ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 66/505/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พวกคนที่ต่ำอาทิผิด อาณัติกะกว่า ในพวกตนที่สูงกว่า ความว่า ญาณเรียกว่า โมนะ
ได้แก่ ปัญญา ความรู้ ฯลฯ ก้าวล่วงธรรมเป็นเครื่องข้อง และตัณหา
เพียงดังข่ายดำรงอยู่ บุคคลนั้นชื่อว่ามุนี มุนีย่อมไม่พูดถึง ไม่กล่าว ไม่
บอก ไม่แสดง ไม่แถลง ว่าเราดีกว่าเขา เราเสมอเขา หรือว่าเราเลว
กว่าเขา เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า มุนีย่อมไม่พูดถึงตนในพวกคนที่เสมอ
กัน ในพวกคนที่ต่ำกว่า ในพวกคนที่สูงกว่า.
[๘๘๐] คำว่า เป็นผู้สงบ ในคำว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ ปราศจาก
ความตระหนี่ ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้สงบ เข้าไปสงบ เข้าไปสงบวิเศษ
ดับแล้ว ระงับแล้ว เพราะราคะ โทสะ โมหะ ฯลฯ อกุสลาภิสังขาร
ทั้งปวง เป็นสภาพสงบ สงบเงียบ เข้าไปสงบวิเศษ ถูกเผา ดับ ปราศไป
ระงับแล้ว เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ.
คำว่า ปราศจากความตระหนี่ ความว่า ความตระหนี่ ๕ ประการ
คือ ความตระหนี่อาวาส ฯลฯ ความหวงไว้ นี้เรียกว่า ความตระหนี่
ความตระหนี่นั้น อันมุนีใดละ ตัดขาด สงบ ระงับแล้ว ทำไม่ให้ควร
เกิดขึ้น เผาเสียแล้วด้วยไฟคือญาณ มุนีนั้นเรียกว่า ผู้ปราศจากความ
ตระหนี่ หายจากความตระหนี่ กำจัดความตระหนี่ สำรอกความตระหนี่
พ้นความตระหนี่ ละความตระหนี่ สละคืนความตระหนี่ เพราะฉะนั้น
จึงชื่อว่า มุนีนั้นเป็นผู้สงบ ปราศจากความตระหนี่.
[๘๘๑] คำว่า ย่อมไม่ยึดถือ ในความอาทิผิด อักขระว่า ย่อมไม่ยึดถือ ย่อม
ไม่สลัด พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดังนี้ ความว่า มุนีนั้น ย่อมไม่ยึดถือ
ไม่ถือเอา ไม่เข้าไปถือ ไม่ถือ ไม่ยึดมั่น ไม่ถือมั่น ซึ่งรูป เวทนา
สัญญา สังขาร วิญญาณ คติ อุปบัติ ปฏิสนธิ ภพ สงสาร วัฏฏะ
เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่า ไม่ยึดถือ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/434/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[ดูหมิ่นท่าน] มทะ [มัวเมา] ปมาทะ [เลินล่อ] [เหล่านี้เป็น
ธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิต.
อุปกิเลส ๑๖
[๙๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุนั้นรู้ชัดว่า อภิชฌาวิสมโลภะ
พยาบาท โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ มายา
สาเถยยะ ถัมภะอาทิผิด อักขระ สารัมภะ มานะอาทิผิด อักขระ อติมานะ มทะ ปมาทะ เป็น
ธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิตด้วยประการฉะนี้แล้ว ย่อมละอภิชฌาวิสม-
โลภะ พยาบาทอาทิผิด อักขระ โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา มัจฉริยะ
มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ ปมาทะ
อันเป็นธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิตเสีย.
[๙๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ในกาลใดแล ภิกษุรู้ชัดว่า อภิชฌา-
วิสมโลภะ พยาบาท โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ อิสสา-
มัจฉริยะ มายา สาเถยยะ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ มทะ
ปมาทะ เป็นธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิตด้วยประการฉะนี้แล้ว ก็ละ
อภิชฌาวิสมโลภะ พยาบาท โกธะ อุปนาหะ มักขะ ปลาสะ
อิสสา มัจฉริยะ มายา สาเถยยะอาทิผิด อักขระ ถัมภะ สารัมภะ มานะ อติมานะ
มทะ ปมาทะ อันเป็นธรรมเครื่องเศร้าหมองของจิตเสียได้แล้ว ในกาล
นั้น เธอเป็นผู้ประกอบด้วยความเลื่อมใสอันแน่วแน่ในพระพุทธเจ้าว่า
แม้เพราะเหตุนี้ ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เป็นพระอรหันต์
ตรัสรู้เองโดยชอบ ถึงพร้อมแล้วด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว
ทรงรู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 75/113/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตอบว่า มิใช่ไม่มี จริงอยู่ พระพุทธเจ้าแม้เหล่านั้น เมื่อจำนงอยู่
ก็พึงแผ่พระรัศมีไปสู่หมื่นโลกธาตุ หรือยิ่งกว่านั้นก็ได้ แต่ว่า พระรัศมีสรีระ
ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระนามว่า มังคละ แผ่ไปสู่หมื่นโลกธาตุตั้งอยู่เป็น
นิตย์ทีเดียว ด้วยอำนาจการตั้งความปรารถนาไว้ในบุรพชาติ เหมือนพระรัศมี
วาหนึ่งของพระพุทธเจ้าอื่น ๆ.
ได้ยินว่า พระมังคลพุทธเจ้านั้น ในขณะที่บำเพ็ญบารมีเป็นพระ-
โพธิสัตว์ ดำรงอัตภาพเช่นเดียวกับพระเวสสันดร พร้อมทั้งบุตรและภรรยา
อยู่ที่ภูเขาเช่นกับภูเขาวงกตอาทิผิด อักขระ ครั้งนั้น มียักษ์ตนหนึ่งชื่อว่า ขรทาฐิกะ ทราบว่า
พระมหาบุรุษมีพระทัยในการจำแนกทาน จึงแปลงเพศเป็นพราหมณ์เข้าไป
แล้วทูลขอทารกทั้งสองพระองค์กะพระมหาสัตว์ พระมหาสัตว์ทรงยินดีร่าเริง
แล้วด้วยทรงพระดำริว่า เราจักให้ลูกน้อยแก่พราหมณ์ ดังนี้ แล้วพระราชทาน
ทารกทั้งสอง อันสามารถยังแผ่นดินหวั่นไหวจดน้ำรองแผ่นดิน ยักษ์ยืนพิง
แผ่นกระดานอาทิผิด อักขระที่พิงไว้ในที่สุดแห่งที่จงกรม เมื่อพระมหาสัตว์มองดูอยู่นั่นแหละ
เคี้ยวกินทารกทั้งสองพระองค์ เหมือนเคี้ยวกินกองรากไม้ มหาบุรุษแลดูยักษ์
เมื่อยักษ์นี้สักว่าอ้าปากเท่านั้น ธารโลหิตก็หลั่งออกดุจเปลวไฟ พระมหาบุรุษนั้น
แม้เห็นปากของยักษ์นั้น ก็มิได้เสียพระทัย แม้เพียงปลายผมให้เกิดขึ้น ทรง
พระดำริว่า สุทินฺนํ วต เม ทานํ (ทานเราให้ดีแล้ว ) แล้วยังปีติโสมนัส
อันใหญ่ให้เกิดแก่พระองค์.
พระมหาบุรุษนั้น ทรงตั้งความปรารถนาว่า ด้วยวิบากเป็นเครื่อง
ไหลออกแห่งบุญของเรานี้ ในอนาคตกาล ขอรัศมีทั้งหลายจงออกจากสรีระโดย
ทำนองนี้ ดังนี้ เมื่อพระองค์อาศัยเหตุนั้นตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าแล้ว รัศมี
ทั้งหลายจึงออกจากพระสรีระแผ่ไปสู่ที่มีประมาณเท่านี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/203/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อเราสละพ่อชาลี แม่กัณหาชินาผู้เป็น
ธิดาและพระนางมัทรีผู้จงรักสามี ไม่คิดถึง
เลย เพราะเหตุแห่งโพธิญาณนั่นเอง. บุตร
ทั้งสองเราก็ไม่เกลียด พระนางมัทรีเราก็ไม่
เกลียด แต่สัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา.
เพราะฉะนั้น เราจึงได้ให้บุตรและภริยาอัน
เป็นที่รักของเราอีกครั้งหนึ่ง.
ในบทเหล่านั้น บทว่า จชมาโน น จินฺเตสิ คือเมื่อเราสละ
ก็มิได้คิดถึงด้วยความเดือดร้อน. อธิบายอาทิผิด อักขระว่า เราสละแล้วก็เป็นอันสละไปเลย.
ในบทนี้สมดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า ก็เพราะเหตุไรเล่าพระมหาบุรุษจึงทรงสละ
บุตรภริยาของพระองค์ผู้สมบูรณ์ด้วยชาติเป็นกษัตริย์ โดยให้เป็นทาสของ
ผู้อื่น. เพราะการทำผู้เป็นไทบางพวก ไม่ให้เป็นไท มิใช่สิ่งที่ดี. ตอบว่า
เพราะเป็นธรรมสมควร. จริงอยู่การเข้าถึงพุทธการกอาทิผิด อักขระธรรม เป็นธรรมดานี้
คือ การบริจาควัตถุที่เขาหวงว่า นี้ของเราเนื่องในตนทั้งปวงได้โดยไม่
เหลือ. จริงอยู่การสละวัตถุที่เขาหวงว่า ของเราแก่ยาจกผู้ขอจะไม่สมควร
แก่พระโพธิสัตว์ ผู้ถึงความขวนขวายเพื่อบำเพ็ญทานอาทิผิด สระบารมีปราศจากการ
กำหนดไทยธรรมและปฏิคาหกก็หามิได้. แม้นี้ก็เป็นธรรมอันสมควรมีมา
แต่เก่าก่อน. ธรรมที่ประพฤติสะสมมาสม่ำเสมอนี้ เป็นวงศ์ของตระกูล
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/194/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ ทีฆนิกายอาทิผิด อักขระ มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตรนิกาย และขุททก-
นิกาย ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในขุททกนิกาย, ในบรรดานวังคสัตถุศาสน์
คือ สุตตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูต-
ธรรม เวทัลละ ท่านสงเคราะห์ลงในคาถา. ในบรรดาธรรมขันธ์
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งท่านพระอานนท์กล่าวไว้อย่างนี้ว่า
ธรรมเหล่าใดที่คล่องปากขึ้นใจของข้าพเจ้า ธรรมเหล่านั้น
มี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ คือที่ข้าพเจ้าเรียนอาทิผิด อักขระจากพระพุทธเจ้า
๘๒,๐๐๐ เรียนจากภิกษุ ๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ดังนี้.
เป็นอันสงเคราะห์ลงใน ๒-๓ พระธรรมขันธ์.
บัดนี้ ท่านเมื่อจะแสดงอปทานนั้น จึงกล่าวว่า พระพุทธเจ้าผู้เป็น
พระธรรมราชาสมบูรณ์ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน มีจำนวนนับไม่ถ้วน ดังนี้.
ในคำเหล่านั้นมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บารมี ๑๐ ถ้วนนั่นเอง จัดเป็นบารมี ๓๐ ถ้วน ด้วยอำนาจบารมี
๑๐ อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐ โดยเป็นอย่างต่ำ อย่างกลาง
และอย่างสูง. ผู้บริบูรณ์ดี คือผู้สมบูรณ์ ประกอบ พร้อมพรั่ง บรรลุ
ประกอบพร้อมด้วยบารมี ๑๐ ถ้วนนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า ผู้สมบูรณ์
ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน. ชื่อว่า ราชา เพราะยังหมู่สัตว์ผู้อยู่ในสกลโลกทั้ง ๓
และกายของตนให้ยินดี คือให้อาทิผิด สระยึดติดด้วยพรหมวิหารสมาบัติ ๔ คือ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา หรือด้วยความเป็นผู้มีจิตเป็นอันเดียว
ด้วยธรรมเครื่องอยู่แห่งผลสมาบัติ, พระราชาโดยธรรม ชื่อว่า
พระธรรมราชา, พระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นอย่างนี้. อธิบายว่า พระพุทธ-
พระปิฎกธรรม