星期日, 六月 05, 2011

Karok

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 74/203/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เมื่อเราสละพ่อชาลี แม่กัณหาชินาผู้เป็น
ธิดาและพระนางมัทรีผู้จงรักสามี ไม่คิดถึง
เลย เพราะเหตุแห่งโพธิญาณนั่นเอง. บุตร
ทั้งสองเราก็ไม่เกลียด พระนางมัทรีเราก็ไม่
เกลียด แต่สัพพัญญุตญาณเป็นที่รักของเรา.
เพราะฉะนั้น เราจึงได้ให้บุตรและภริยาอัน
เป็นที่รักของเราอีกครั้งหนึ่ง.
ในบทเหล่านั้น บทว่า จชมาโน น จินฺเตสิ คือเมื่อเราสละ
ก็มิได้คิดถึงด้วยความเดือดร้อน. อธิบายอาทิผิด อักขระว่า เราสละแล้วก็เป็นอันสละไปเลย.
ในบทนี้สมดังที่ท่านกล่าวไว้ว่า ก็เพราะเหตุไรเล่าพระมหาบุรุษจึงทรงสละ
บุตรภริยาของพระองค์ผู้สมบูรณ์ด้วยชาติเป็นกษัตริย์ โดยให้เป็นทาสของ
ผู้อื่น. เพราะการทำผู้เป็นไทบางพวก ไม่ให้เป็นไท มิใช่สิ่งที่ดี. ตอบว่า
เพราะเป็นธรรมสมควร. จริงอยู่การเข้าถึงพุทธการกอาทิผิด อักขระธรรม เป็นธรรมดานี้
คือ การบริจาควัตถุที่เขาหวงว่า นี้ของเราเนื่องในตนทั้งปวงได้โดยไม่
เหลือ. จริงอยู่การสละวัตถุที่เขาหวงว่า ของเราแก่ยาจกผู้ขอจะไม่สมควร
แก่พระโพธิสัตว์ ผู้ถึงความขวนขวายเพื่อบำเพ็ญทานอาทิผิด สระบารมีปราศจากการ
กำหนดไทยธรรมและปฏิคาหกก็หามิได้. แม้นี้ก็เป็นธรรมอันสมควรมีมา
แต่เก่าก่อน. ธรรมที่ประพฤติสะสมมาสม่ำเสมอนี้ เป็นวงศ์ของตระกูล
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: