turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/509/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โจทก์กล่าวหานั้น โจทก์นั้น ถูกพระวินัยธรผู้ว่าความสอบสวน ไต่สวน
คือพิจารณาอยู่โดยนัยเป็นต้นว่า ท่านเห็นอะไร ? ท่านเห็นว่าอย่างไร ?
ในอสมนุคคาหิยมานนิเทศ ข้อว่า น เกนจิ วุจฺจมาโน คืออันผู้
ว่าความ หรือใครคนใดคนหนึ่ง (ไม่ซักถาม). อีกอย่างหนึ่ง ความว่า
ไม่ถูกผู้ว่าความสอบถาม ด้วยบรรดาวัตถุที่ได้เห็นเป็นต้นอย่างใดอย่างหนึ่ง.
ก็บัณฑิตพึงทราบความสัมพันธ์แห่งบทมาติกาทั้ง ๒ นี้ ด้วยคำว่า
ภิกขุ จ โทสํ ปติฏฺฐาติ นี้ข้างหน้า. จริงอยู่ มีรูปความที่ท่านกล่าวไว้
ดังนี้ว่า ก็แล ภิกษุอันผู้ใดผู้หนึ่งถือเอาตามก็ตาม ไม่ถือเอาตามก็ตาม
อย่างนี้ (เชื่อก็ตาม ไม่เชื่อก็ตาม) ยืนยัน อิงอาศัยโทสะ คือปฏิญญาอาทิผิด อักขระ,
เป็นสังฆาทิเสส. ก็คำนี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ เพื่อแสดงกาลปรากฏ
แห่งความเป็นอธิกรณ์ไม่มีมูลเท่านั้น. แต่ภิกษุผู้โจทก์ย่อมต้องอาบัติใน
ขณะที่ตนโจทนั่นแล.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคำว่า อธิกรณํ นาม เป็นต้น เพื่อ
จะไม่ตรัสลักษณะอธิกรณ์ไม่มีมูลนั้น แสดงแต่ที่ยังไม่เคยมีเท่านั้น เพราะ
ลักษณะแห่งอธิกรณ์ไม่มีมูล ได้ตรัสไว้แล้วในก่อน ในคำว่า อมูลกญฺเจว
ตํ อธิกรณํ โหติ นี้.
[อธิบายคำว่าอธิกรณ์เป็นต้น]
เพราะ อธิกรณ์ในคำว่า อธิกรณํอาทิผิด สระ นาม นั้น โดยอรรถ คือเหตุ
ย่อมมีแม้อย่างเดียว ด้วยอำนาจแห่งวัตถุมีต่าง ๆ กัน; เพราะเหตุนั้น
เพื่อความแตกต่างกันนั้น แห่งอธิกรณ์นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสคำ
มีอาทิว่า จตฺตาริ อธิกรณานิ วิวาทาธิกรณํ ดังนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 87/666/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู, แก่โวทาน, แก่มรรค, แก่ผล, แก่
อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว กิเลสที่ข่มแล้ว ฯลฯ กิเลส
ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลอื่น พิจารณาเห็นจักษุที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ หทยวัตถุ ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัส ย่อม
เกิดขึ้น.
เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นพหิทธาธรรม ด้วยเจโต-
ปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย.
อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ ด้วยอำนาจ
ของอารัมมณปัจจัย.
รูปายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณที่เป็นพหิท-
ธาธรรม ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ
ที่เป็นพหิทธาธรรม ฯลฯ
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นพหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณอาทิผิด แก่เจโต-
ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมูปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ
แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.
[๒๐๗๘] ๔. พหิทธาธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตธรรม ด้วย
อำนาจของอารัมมณปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/300/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แม้สพรหมจารีผู้เป็นวิญญูชนก็ย่อมไม่สำคัญว่า ควรว่ากล่าว ควรสั่งสอน
ดูก่อนเกสี ข้อที่ตถาคต ไม่สำคัญบุรุษที่ควรฝึกอาทิผิด สระว่า ควรว่ากล่าว ควรสั่งสอน
แม้สพรหมจารีผู้เป็นวิญญูชนทั้งหลายก็ไม่สำคัญว่า ควรว่ากล่าว ควรสั่งสอน
นี้เป็นการฆ่าอย่างดี ในวินัยของพระอริยะอาทิผิด.
เกสี. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้อที่พระตถาคตไม่สำคัญบุรุษที่ควรฝึกว่า
ควรว่ากล่าว ควรสั่งสอน แม้สพรหมจารีผู้วิญญูชนก็ไม่สำคัญว่า ควรว่ากล่าว
ควรสั่งสอน นั่นเป็นการฆ่าอย่างดีแน่นอน ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของ
พระองค์แจ่มแจ้งนัก ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภาษิตของพระองค์แจ่มแจ้งนัก
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงประกาศธรรมโดยอเนกปริยาย เปรียบเหมือนหงาย
ของที่คว่ำ เปิดของที่ปิด บอกทางแก่คนหลงทาง หรือส่องประทีปในที่มืด
ด้วยหวังว่า คนมีจักษุจักเห็นรูปฉะนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์นี้
ขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้ากับทั้งพระธรรมและพระภิกษุสงฆ์ว่าเป็นสรณะ ขอ
พระผู้มีพระภาคเจ้าโปรดทรงจำข้าพระองค์ว่า เป็นอุบาสกผู้ถึงสรณะตลอดชีวิต
ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป.
จบเกสีสูตรที่ ๑
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 13/143/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อนึ่ง เพราะกิเลสทั้งปวงเป็นอันสลัดทิ้งไปได้ ตัณหาทั้งปวงสิ้นไป กิเลสราคะ
ทั้งปวงคลายไป ทุกข์ทั้งปวงดับไป เพราะอาศัยนิพพานนั้น ฉะนั้น ท่านจึง
กล่าวว่า สพฺพูปธิปฏินิสฺสคฺโค คือ เป็นที่สลัดกิเลสทั้งปวง ตณฺหกฺขโย
เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา วิราโค คลายความกำหนัด นิโรโธ ดับทุกข์ ดังนี้.
ก็ตัณหานั้นย่อมนำไป คือร้อยรัดภพด้วยภพหรือกรรมกับด้วยผลกรรม เพราะ
ฉะนั้น ท่านจึงกล่าวว่า ตัณหากระทำอาทิผิด การร้อยรัด. ชื่อนิพพานเพราะออกจาก
เครื่องร้อยรัดนั้น บทว่า โส มมสฺส กิลมโถ ความว่า การแสดงธรรมแก่
ผู้ไม่รู้พึงเป็นความลำบากของเรา. เป็นอันท่านกล่าวว่า พึงเป็นความลำบาก
ทางกาย และพึงเป็นการเบียดเบียนทางกาย. ก็แต่ว่าทั้งสองนี้มิได้มีในดวงจิต
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย.
บทว่า อปิสฺสุ เป็นนิบาตในอรรถว่า พอกพูน. นิบาตนั้น แสดงว่า
มิใช่ได้มีความวิตกนี้อย่างเดียว แม้คาถาเหล่านี้ก็แจ่มแจ้งแล้ว. ในบททั้งหลาย
ว่า วิปสฺสึ เป็นอาทิความว่า พระวิปัสสีพระผู้มีพระภาค เป็นพระอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้า.
บทว่า อนจฺฉริยา คือ อัศจรรย์น้อย. บทว่า ปฏิภํสุ ความว่า
ธรรมเป็นโคจรทั้งหลายได้เกิดแก่ญาณกล่าวคือปฏิภาณอาทิผิด ถึงซึ่งความเป็นธรรม
พึงปริวิตก.
บทว่า กิจฺเฉน ความว่า โดยยาก คือ มิใช่เพื่อปฏิบัติยาก. เพราะ
แม้มรรค ๔ ก็ย่อมเป็นข้อปฏิบัติง่ายของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย. บทนี้ท่านกล่าว
หมายถึงการปฏิบัติเพื่อได้คุณวิเศษมาของท่านที่ยังมีราคะ มีโทสะ และมีโมหะ
ในเวลาบำเพ็ญบารมีนั้นเองให้สิ่งเป็นต้น อย่างนี้ คือ ตัดศีรษะอาทิผิด สระที่ประดับ
ตกแต่งแล้ว เอาเลือดออกจากคอ ควักดวงตาทั้งสองข้างที่หยอดยาไว้อย่างดี
สละบุตรผู้จะดำรงวงศ์ตระกูล สละภรรยา ผู้มีความประพฤติเป็นที่พอใจ แก่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 50/32/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เอกนิบาต
เถรคาถา เอกนิบาต วรรคที่ ๑
๑. สุภูติอาทิผิด สระเถรคาถา
ว่าด้วยคาถาของพระสุภูติเถระ
[๑๓๘] ได้ยินว่า ท่านพระสุภูติเถระ ได้ภาษิตคาถานี้ไว้ อย่างนี้ ว่า
ดูก่อนฝน กุฎีเรามุงอาทิผิด อาณัติกะดีแล้ว มีเครื่องป้องกัน
อันสบาย มิดชิดดี ท่านจงตกลงมาตามสะดวกเถิด
จิตของเราตั้งมั่นดีแล้ว หลุดพ้นแล้ว เราเป็นผู้มี
ความเพียรอยู่ เชิญตกลงมาเถิดฝน.
เอกนิบาตอรรถวรรณนา
วรรควรรณนาที่ ๑
อรรถกถาสุภูติเถรคาถา
บัดนี้ (ข้าพเจ้า จะเริ่ม) พรรณนาความแห่งเถรคาถาทั้งหลาย อัน
เป็นไปแล้ว โดยนัยมีอาทิว่า ฉนฺนา เม กุฏิกา ดังนี้. ก็เพราะเหตุที่
เมื่อข้าพเจ้า กล่าวประกาศความเป็นไปแห่งเรื่องราวของคาถาเหล่านั้น ๆ การ
พรรณนาความนี้ จึงจะปรากฏและรู้ได้ง่าย ฉะนั้น ข้าพเจ้า จักประกาศ
เหตุเกิดแห่งเรื่องไว้ในคาถานั้น ๆ แล้วทำการพรรณนาความ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/1/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระวินัยปิฎก
เล่ม ๒
มหาวิภังค์ ทุติยภาค
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ปาจิตติยกัณฑ์อาทิผิด อักขระ
ปาจิตตีย์ วรรคที่ ๑
มุสาวาทวรรค สิกขาบทที่ ๑
เรื่องพระหัตถกะ ศากยบุตร
[๑๗๓] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ
เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้นพระ
หัตถกะ ศากยบุตรเป็นคนพูดสับปลับ ท่านเจรจาอยู่กับพวกเดียรถีย์ กล่าว
ปฏิเสธแล้วรับ กล่าวรับแล้วปฏิเสธ เอาเรื่องอื่นกลบเกลื่อนเรื่องอื่น กล่าวเท็จ
ทั้ง ๆ ที่รู้อยู่ พูดนัดหมายไว้แล้ว ทำให้คลาดเคลื่อน.
พวกเดียรถีย์พากันเพ่งโทษติเตียนโพนทะนาว่า ไฉน พระหัตถกะ
ศากยบุตรเจรจาอยู่กับพวกเรา จึงได้กล่าวปฏิเสธแล้วรับ กล่าวรับแล้วปฏิเสธอาทิผิด อักขระ
เอาเรื่องอื่นกลบเกลื่อนเรื่องอื่น กล่าวเท็จทั้ง ๆ ที่รู้อยู่ พูดนัดหมายไว้แล้ว
ทำให้คลาดเคลื่อนเล่า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 44/149/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดังนี้นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงทรงจำแนกอารมณ์อันแตกต่าง
โดยประเภทอารมณ์ ๖ พร้อมวิญญาณกาย ๖ อย่างย่อและตามความพอใจ
ของพาหิยะ ด้วยวิปัสสนา โดยโกฏฐาสอาทิผิด อาณัติกะ ทั้ง ๔ มีรูปอันตนเห็นแล้วเป็นต้น
แล้วจึงทรงแสดงญาตปริญญาและตีรณปริญญาในข้อนั้นแก่เธอ. อย่างไร ?
เพราะว่า ในข้อนี้รูปารมณ์เป็นอันชื่อว่า ทิฏฐะ เพราะอรรถว่าอันจักขุ-
วิญญาณพึงเห็น. ส่วนจักขุวิญญาณพร้อมวิญญาณที่เป็นไปทางจักขุทวาร
นั้น ชื่อว่า ทิฏฐะ เพราะอรรถว่าเห็น. แม้ทั้งสองอย่างนั้น เป็นเพียง
ธรรมที่เป็นไปตามปัจจัยเท่านั้น. ในข้อนี้ ใคร ๆ จะทำเองหรือให้ผู้อื่น
ทำก็หาได้ไม่. จริงอยู่ ในข้อนี้ มีอธิบายดังนี้ ว่า จักขุวิญญาณอาทิผิด อักขระนั้นชื่อว่า
ไม่เที่ยง เพราะมีแล้วกลับไม่มี ชื่อว่า เป็นทุกข์ เพราะถูกความเกิดขึ้น
และดับไปบีบคั้น ชื่อว่า เป็นอนัตตา เพราะอรรถว่าไม่เป็นไปในอำนาจ
เหตุนั้น ในข้อนั้น จะจัดเป็นโอกาสของธรรมมีความกำหนัดเป็นต้นแห่ง
บัณฑิตได้ที่ไหน.
พึงทราบวินิจฉัยแม้ในสุตะเป็นต้น บัดนี้ เพื่อจะทรงแสดงปหาน-
ปริญญาพร้อมมูลเหตุเบื้องสูง แก่บัณฑิตผู้ตั้งอยู่ในญาตปริญญาและตีรณ-
ปริญญา จึงเริ่มคำมีอาทิว่า ยโต โข เต พาหิย ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยโต ได้แก่ ในกาลใดหรือเพราะเหตุ
ใด. บทว่า เต ได้แก่ ตว แก่เธอ. บทว่า ตโต ได้แก่ ในกาลนั้นหรือ
เพราะเหตุนั้น. บทว่า เตน ความว่า ด้วยรูปอันเธอเห็นแล้วเป็นต้น
หรือด้วยกิเลสมีราคะเป็นต้น อันเนื่องกับรูปที่เธอเห็นแล้วเป็นต้น. ตรัส
คำนี้ไว้ว่า พาหิยะ ในกาลใด หรือเพราะเหตุใด เพียงรูปที่เธอเห็นแล้ว
เป็นต้น จักมีแก่เธอผู้ปฏิบัติตาม วิธีที่เรากล่าวแล้วในรูปที่เห็นแล้ว
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/654/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เป็นศีลยิ่งกว่าศีลทั้งหมดจึงปรากฏขึ้น เมื่อพระตถาคตยังมิได้ทรง
อุบัติ ปาฏิโมกขสังวรศีลนั้นก็มิได้ปรากฏ ด้วยว่า พระสัพพัญญู-
พุทธเจ้าทั้งหลายเท่านั้น ย่อมบัญญัติประกาศซึ่งปาฏิโมกขสังวรศีล
นั้น หาใช่เป็นวิสัยของชนเหล่าอื่นที่จะบัญญัติว่า ชื่อว่าศีลข้อนี้ ย่อม
มีเพราะการก้าวล่วงในเรื่องนี้ ดังนี้. อันนี้เป็นวิสัยแห่งพระพุทธเจ้า
ทั้งหลายเท่านั้น และเป็นกำลังของพระพุทธเจ้าทั้งหลายด้วยประการ
ฉะนี้. ปาฏิโมกขสังวรศีลนี้เป็น อธิศีล เหตุใด เพราะเหตุนั้นเพื่อ
ทรงแสดงอธิสีลปัญญา พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงตรัสว่า ปาฏิโมกฺข-
สํวรํ สํวรนฺตสฺส เป็นต้น (แปลว่า ปัญญา เกิดแก่ผู้สำรวมด้วย
ปาฏิโมกขสังวรศีล).
อนึ่ง สมาบัติ ๘ อันเป็นเครื่องดำเนินไปในวัฏฏะ ชื่อว่า จิต ด้วย
สามารถแห่งการสงเคราะห์ไว้ด้วยแบบแผนที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ในหน
หลัง. จริงอยู่ จิตอันเป็นไปในสมาบัติ ๘ เหล่านั้น เมื่อพระตถาคตทรงอุบัติ
แล้วก็ตาม ไม่ทรงอุบัติก็ตาม จิตเช่นนั้นย่อมเกิดขึ้นได้.
ถามว่า เมื่อพระตถาคตยังมิได้ทรงอุบัติขึ้น ใครเล่า ย่อมยังจิตอัน
เป็นไปในสมาบัติเหล่านั้นให้เกิดขึ้น.
ตอบว่า ดาบส ปริพาชก พระสัพพัญญูโพธิสัตว์ และพระเจ้าจักร-
พรรดิราช.
ก็เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงอุบัติแล้ว ชนทั้งหลายผู้
ปรารถนาคุณวิเศษแม้มีภิกษุเป็นต้น ย่อมยังจิตเช่นนั้น ให้เกิดขึ้นได้.
แต่ว่า สมาบัติ ๘ อัน เป็นบาทให้วิปัสสนาอันยิ่งกว่าจิตทั้งปวงเกิดขึ้น
นั้น เมื่อพระตถาคตทรงอุบัติอาทิผิด สระแล้วเท่านั้นจึงมีได้ ยังมิได้ทรงอุบัติขึ้น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/295/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็บรรพชาและอุปสมบทมีอุปัชฌาย์เป็นมูล อุปัชฌาย์เท่านั้นเป็นใหญ่ ใน
บรรพชาและอุปสมบทนั้น อาจารย์ไม่เป็นใหญ่ เพราะเหตุนั้น พระธรรม
สังคาหกาจารย์จึงกล่าวว่า ครั้งนั้นแล พระสารีบุตรผู้มีอายุ ยังพระราหุล
กุมารให้ผนวชแล้ว ดังนี้. ด้วยประการอย่างนี้ คำทั้งปวงอันผู้ศึกษาพึงกล่าวว่า
ครั้งนั้นแล พระเจ้าสุทโธทนผู้ศากยราช ทรงเกิดความสลดพระหฤทัย เพราะ
ทรงสดับว่า พระกุมารผนวชแล้ว ในเมื่อเขากล่าวว่า ข้าพเจ้าขอพร ดังนี้
โดยไม่ระบุอย่าง คำว่า จงขอ เป็นคำไม่สมควรแก่บรรพชิตผู้เลี้ยงชีวิตด้วย
อุญฉาจริยา๑ ทั้งพระพุทธเจ้าทั้งหลายก็ไม่ทรงประพฤติ เพราะเหตุนั้น พระ
ผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสไว้ในพระบาลีนั้นว่า มหาบพิตรผู้โคตมะ พระตถาคต
ทั้งหลาย ทรงเลิกพรเสียแล้วแล.
ข้อว่า ยญฺจ ภนฺเต กปฺปติ ยญฺจ อนวชฺชํ มีความว่าพรใด
สมควรที่พระองค์จะประทานได้ด้วย เป็นพรหาโทษมิได้ด้วย คือเป็นพรอัน
วิญญูชนทั้งหลายไม่พึงครหา เพราะกิริยาที่รับของหม่อมฉัน เป็นปัจจัยด้วย
หม่อมฉันขอพรนั้น.
ข้อว่า ตถา นนฺเท อธิมตฺตํ ราหุเลอาทิผิด อักระ มีความว่า ได้ยินว่าโหรทั้ง
หลายได้ทำนายพระโพธิสัตว์ในวันมงคลว่า จักเป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ฉันใด
เล่า ได้ทำนายทั้งพระนันทะทั้งพระราหุลในวันมงคลว่า จักเป็นพระเจ้าจักร-
พรรดิ ฉันนั้น. ครั้งนั้นพระราชาทรงเกิดพระอุตสาหะว่า เราจักชมจักรพรรดิ-
สิริของบุตร ได้ทรงถึงความหมดหวังอย่างใหญ่หลวง เพราะพระผู้มีพระภาค-
เจ้าทรงผนวชเสีย. จึงทรงยังพระอุตสาหะให้เกิดว่า เราจักชมจักรพรรดิอาทิผิด สิริ
ของพ่อนันทะ. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยังพระนันทะแม้นั้นให้ผนวชแล้ว. ท้าว
เธอทรงอดกลั้นทุกข์แม้นั้น เสียได้ ทรงยังพระอุตสาหะให้เกิดว่า บัดนี้เราจัก
ได้ชมจักรพรรดิสิริของพ่อราหุล ด้วยประการฉะนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยัง
๑. ขอทานเลี้ยงชีพ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 15/163/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้ด้วยอักขระที่เข้าใจกันว่าเลิศเป็นของเก่า เรื่องของสัตว์เหล่านั้นจะ
เหมือนกันหรือไม่เหมือนกับสัตว์อื่น ก็โดยธรรมเท่านั้น หาใช่โดย
อธรรมไม่. ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ ธรรมเท่านั้นประเสริฐ
ที่สุดในหมู่ชนทั้งในทิฏฐธรรมและอภิสัมปรายภพ.
[๖๖] ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ มีสมัยที่กษัตริย์ติเตียน
ธรรมของตน จึงออกจากเรือนบวชด้วยคิดว่า เราจะเป็นสมณะ.
ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะอาทิผิด อักขระ มีสมัยที่พราหมณ์ ฯลฯ แพศย์ ฯลฯ
ศูทร ติเตียนธรรมของตนจึงออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ด้วยคิด
ว่า เราจักเป็นสมณะดังนี้. ดูก่อนวาเสฏฐะและอาทิผิด สระภารทวาชะ การบังเกิด
ขึ้นแห่งหมู่สมณะจึงได้มีขึ้นด้วยหมู่ทั้ง ๔ เหล่านี้ เรื่องของสัตว์เหล่า
นั้นจะเหมือนหรือไม่เหมือนกับสัตว์เหล่าอื่นก็โดยธรรมเท่านั้น หาใช่
โดยอธรรมไม่. ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ ธรรมเท่านั้นประเสริฐ
ที่สุดในหมู่ชนทั้งในทิฏฐธรรมและอภิสัมปรายภพ.
[๖๗] ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ กษัตริย์ก็ดี พราหมณ์
ก็ดี แพศย์ก็ดี ศูทรก็ดี ประพฤติกายทุจริต วจีทุจริต มโนทุจริต
เป็นมิจฉาทิฏฐิ ยึดถือกรรมด้วยมิจฉาทิฏฐิ เพราะการยึดถือกรรม
ด้วยอำนาจมิจฉาทิฏฐิเป็นเหตุ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก
ย่อมเข้าอาทิผิด อักขระถึงอบาย ทุคติอาทิผิด วินิบาต นรก.
[๖๘] ดูก่อนวาเสฏฐะและภารทวาชะ กษัตริย์ก็ดี พราหมณ์
ก็ดี แพศย์ก็ดี ศูทรก็ดี ประพฤติกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
เป็นสัมมาทิฏฐิ สมาทานกรรมด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิ เพราะการยึดถือ
กรรมด้วยอำนาจสัมมาทิฏฐิเป็นเหตุ เบื้องหน้าแต่ตาย เพราะกายแตก
ย่อมเข้าถึงสุคติ โลกสวรรค์.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/196/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็ในสมัยใด จิตเป็นธรรมชาติฟุ้งซ่าน ในสมัยนั้นเป็นเวลาเหมาะ
ที่จะเจริญปัสสัทธิสัมโพชฌงค์ เหมาะที่จะเจริญสมาธิสัมโพชฌงค์ เหมาะที่
จะเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ ดังนี้. ก็ในบรรดาโพชฌงค์เหล่านี้ สติ-
สัมโพชฌงค์เป็นเอกให้สำเร็จประโยชน์แก่โพชฌงค์ทุกข้อ. เหมือนอย่าง
ที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ภิกษุทั้งหลาย ก็เรากล่าวสติแลว่ามีประโยชน์แก่โพชฌงค์ทุกข้อ
ดังนี้ บาลีว่า สพฺพตฺถกํ ดังนี้ก็มี. บาลีทั้ง ๒ (นั้น) ความหมายก็
คือว่า จำต้องปรารถนาในโพชฌงค์ทุกข้อ (เหมือนกัน). พึงทราบวินิจฉัย
ในโพชฌงค์นี้แม้โดยไม่ขาดไม่เกินอย่างนี้ว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส
โพชฌงค์ไว้ ๗ ประการเท่านั้นไม่ขาดไม่เกิน เพราะ ๓ ข้อเป็นปฏิปักษ์อาทิผิด
ต่อความหดหู่, ๓ ข้อเป็นปฏิอาทิผิด อักขระปักษ์ต่อความฟุ้งซ่าน, และเพราะสติเป็น
ประโยชน์แก่โพชฌงค์ทุกข้ออย่างนี้.
บัณฑิตครั้นทราบอรรถวรรณนาของบททั้ง ๗ ที่กล่าวโดยนัยเป็นต้น
ว่า สติสมฺโพชฺฌงฺคํ อย่างนี้ก่อนแล้ว บัดนี้ พึงทราบอรรถวรรณนา
อย่างนี้ ในประโยคเป็นต้นว่า ภาเวติ วิเวกนิสฺสิตํ ดังนี้ (ต่อไป).
บทว่า ภาเวติ ความว่า ย่อมให้เจริญ อธิบายว่า ย่อมให้เกิด
ขึ้น คือให้บังเกิดขึ้นเฉพาะในจิตสันดานของตนบ่อย ๆ.
บทว่า วิเวกนิสฺสิตํ คืออาศัยวิเวก. ความสงัด ชื่อว่าวิเวก. วิเวกนั้น
มี ๕ อย่างคือ ตทังควิเวก วิกขัมภนอาทิผิด อักขระวิเวก สมุจเฉทอาทิผิด อักขระวิเวก ปฏิปัส-
สัทธิวิเวก และนิสสรณวิเวก ความที่วิเวกนั้นเป็นต่าง ๆ กัน พึงทราบ
โดยนัยที่ท่านกล่าวไว้ในคำนี้ว่า อริยธมฺเม อวินีโต ดังนี้ . ความจริง
วิเวกนี้นั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า วินัย ในบทว่า อริยธมฺเม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/635/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปาจิตตีย์ สุราปานวรรคที่ ๖
สุราปานสิกขาบทที่ ๑
พึงทราบวินิจฉัย ในสิกขาบทที่ ๑ แห่งสุราปานวรรค ดังต่อไปนี้:-
[แก้อรรถปฐมบัญญัติ เรื่องสุราเมรัย]
หมู่บ้านแห่งหนึ่ง ชื่อว่า ภัททวติกะ. หมู่บ้านนั้นได้ชื่ออย่างนี้
เพราะประกอบด้วยรั้วงาม.
บทว่า ปถาวิโน แปลว่า คนเดินทาง.
สองบทว่า เตชสา เตชํ ได้แก่ (ครอบงำ) ซึ่งเดชแห่งนาคด้วยเดช
คือ ด้วยอานุภาพของตน.
บทว่า กาโปติกา คือ มีสีแดงเสมอเหมือนกับสีเท้าแห่งพวกนกพิราบ.
คำว่า ปสนฺนา นี้ เป็นชื่อแห่งสุราใส.
สามบทว่า อนนุจฺฉวิกํ ภิกฺขเว สาคตสฺส มีรูปความที่ท่านกล่าว
ไว้ว่า ชื่อว่า การดื่มน้ำเมา เป็นการไม่สมควรแก่สาคตะผู้สำเร็จอภิญญา ๕.
เมรัยที่เขาทำด้วยรสแห่งดอกมะซางเป็นต้น ชื่อว่า ปุปผาสวะ. เมรัย
ที่เขาคั้นผลลูกจันทน์เป็นต้นแล้ว ทำด้วยรสแห่งผลลูกจันทน์เป็นต้นนั้น ชื่อว่า
ผลาสวะ. เมรัยที่เขาทำด้วยรสชาติแห่งผลลูกจันทน์ (หรือองุ่น) เป็นต้น
ชื่อว่า มัธวาสวะ. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เขาทำด้วยน้ำผึ้งก็มี. เมรัยที่
ชื่อว่า คุฬาสวะ. เขาทำด้วยน้ำอ้อยสด เป็นต้น.
ธรรมดาสุรา ที่เขาใส่เชื้ออาทิผิด อักขระแป้ง กระทำด้วยรสแม้แห่งจั่นมะพร้าว
เป็นต้น ย่อมถึงการนับว่า สุราทั้งนั้น. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เมื่อตักเอา
น้ำใสแห่งสุราใส่เชื้อแล้วนั่นแล (ที่เหลือ) ย่อมถึงการนับว่าเมรัยทั้งนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/44/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถึงพร้อมด้วยปัญญา พึงกระหยิ่มอรหัตผล ในปัจจุบันทีเดียว ฉันใด ดูก่อน
สารีบุตร เรากล่าวข้ออุปไมยนี้ ก็ฉันนั้น. ผู้นั้นไม่ละวาจานั้นเสีย ไม่ละ
ความคิดนั้นเสีย ไม่สละคืนทิฐินั้นเสีย ก็เที่ยงแท้ที่จะตกนรก.
เวสารัชชธรรม ๔
[๑๖๗] ดูก่อนสารีบุตร ตถาคตประกอบด้วยเวสารัชชธรรม [ความ
แกล้วกล้า] เหล่าใด จึงปฏิญาณฐานะของผู้เป็นโจก บันลือสีหนาทในบริษัท
ยังพรหมจักรให้เป็นไป เวสารัชชธรรมของตถาคตเหล่านี้มี ๔ ประการ. ๔
ประการเป็นไฉน. ดูก่อนสารีบุตร เราไม่เห็นเหตุนี้ว่า สมณะ พราหมณ์
เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก ที่จักอาทิผิด อักขระทักท้วงเราโดยสหธรรมในข้อ
ว่า ท่านปฏิอาทิผิด อักขระญาณตนว่าเป็นพระสัมมาสัมพุทธะ ธรรมเหล่านี้ท่านยังไม่ได้ตรัสรู้
แล้วดังนี้. ดูก่อนสารีบุตร เมื่อไม่เห็นเหตุนี้ เราก็เป็นผู้ถึงความปลอดภัย
ถึงความไม่มีภัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้าอยู่. ดูก่อนสารีบุตร เราไม่เห็นเหตุ
นี้ว่า สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใครๆในโลกที่จักทักท้วง
เราโดยสหธรรมในข้อว่า ท่านปฏิญาณตนว่าเป็นพระขีณาสพ อาสวะเหล่านี้
ของท่านยังไม่สิ้นไปแล้ว ดังนี้. ดูก่อนสารีบุตร เมื่อไม่เห็นเหตุนี้ เราก็เป็น
ผู้ถึงความปลอดภัย ถึงความไม่มีภัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้าอยู่. ดูก่อนสารี-
บุตร เราไม่เห็นเหตุนี้ว่า สมณะ พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือ
ใครๆในโลก ที่จักทักท้วงเราโดยสหธรรม ในข้อว่า ท่านกล่าวธรรมเหล่าใด
ว่าทำอันตราย ธรรมเหล่านั้นไม่อาจทำอันตรายแก่ผู้ซ่องเสพได้จริง ดังนี้.
ดูก่อนสารีบุตร เมื่อไม่เห็นเหตุนี้ เราก็เป็นผู้ถึงความปลอดภัย ถึงความไม่มี
ภัย ถึงความเป็นผู้แกล้วกล้าอยู่. ดูก่อนสารีบุตร เราไม่เห็นเหตุนี้ว่า สมณะ
พราหมณ์ เทวดา มาร พรหม หรือใคร ๆ ในโลก ที่จักทักท้วงเราโดย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 23/300/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อุเบกขาในอัญญาณ ชื่อว่า อุเบกขา ในบทนี้ว่า อุเปกฺขา. บทว่า
อโนธิชินสฺส ความว่า ขีณาสพ ชื่อว่า โอธิชินะ เพราะความที่พระขีณาสพ
ชนะข้าศึกคือกิเลสแล้วดำรงอยู่ เพราะฉะนั้นบทนี้ ได้แก่ปุถุชนผู้ไม่สิ้นอาสวะ.
ขีณาสพแล ชื่อว่าวิปากชินะ เพราะความที่พระขีณาสพชนะวิบากต่อไป
ดำรงอยู่ แม้ในบทนี้ว่า อวิปากชินสฺส เพราะฉะนั้น ผู้ไม่สิ้นอาสวะนั้นเทียว.
บทว่า อนาทีนวทสฺสาวิโน ได้แก่ ผู้ไม่เห็นโดยความเป็นโทษ. บทว่า
อิมา ฉ เคหสิตา อุเปกฺขา ความว่า อุเบกขาที่ไม่กลับสู่รูปเป็นต้น
ดุจแมลงวันที่จับงบน้ำอ้อย เมื่ออิฏฐารมณ์ไปสู่คลองในทวาร ๖ อย่างนี้ติดอยู่อาทิผิด อาณัติกะ
ในรูปเป็นต้นนั้น เกิดขึ้นนี้ พึงทราบว่า อุเบกขาอาศัยเรือน ๖. บทว่า
รูปํ สา สาติวตฺตติ ความว่า อุเบกขานั้นไม่ล่วงเลยรูป. ไม่ตั้งอยู่ด้วย
อำนาจความเบื่อหน่ายในรูปนั้น. บทว่า อิมา ฉ เนกฺขมฺมสิตา อุเปกฺขา
ความว่าอุเบกขาเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ยินดีในอิฏฐารมณ์ ไม่ยินร้ายในอนิฏฐารมณ์
เมื่ออารมณ์ที่น่าปรารถนาเป็นต้น ไปสู่คลองในทวาร ๖ อย่างนี้ ไม่ลุ่มหลงอาทิผิด อักขระ
ด้วยการพิจารณาไม่รอบคอบ ประกอบด้วยอุเบกขาญาณเหล่านั้น พึงทราบว่า
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖. บทว่า ตตฺถ อิทํ นิสฺสาย อิทํ ปชหถ
ความว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนิน
๑๘ ประการ ละทางดำเนิน ๑๘ ประการ. ด้วยเหตุนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสว่า ตตฺร ภิกฺขเว ยานิ ฉ เนกฺขมฺมสิตานิ ดังนี้เป็นต้น. บทว่า
นิสฺสาย อาคมฺม ได้แก่อาศัยและอิง ด้วยอำนาจความเป็นไป. บทว่า
เอวเมเตสํ สมติกฺกโม โหติ ความว่า ชื่อว่า ล่วงเลยอุเบกขาอาศัยเรือนอาทิผิด
เพราะความเป็นไปแห่งอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะอย่างนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงให้ละธรรมที่คล้ายกัน ด้วยธรรมที่คล้ายกัน
อย่างนี้แล้ว บัดนี้ ทรงให้ละธรรมที่ไม่มีกำลัง ด้วยธรรมที่มีกำลัง จึงตรัส
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 52/272/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า น มยฺหํ กปฺปเต อชฺช ความว่า วันนี้ คือบัดนี้ เรา
อุปสมบทแล้ว ไม่ควรหักไม้แขมด้วยมือทั้งสอง เพราะเหตุไร ? เพราะ
พระสมณโคดมผู้เรืองอาทิผิด อาณัติกะยศ ทรงบัญญัติสิกขาบทไว้แก่เราทั้งหลาย. ด้วย
คำนั้นพระเถระแสดงว่า สิกขาบทที่พระศาสดาทรงบัญญัติไว้ แก่เรา
ทั้งหลายนั้น เราทั้งหลายย่อมไม่ล่วงละเมิด แม้เพราะเหตุแห่งชีวิต.
พระเถระแสดงเหตุในการไม่ซ่อมแซมกุฎีหญ้าโดยประการหนึ่ง ด้วย
ประการอย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่อจะแสดงเหตุนั้นโดยปริยายอื่นอีก จึงกล่าว
คาถานี้ว่า
เมื่อก่อน เราผู้ชื่อว่าสรภังคะ ไม่ได้เห็นโรค คือ
อุปาทานขันธ์ ๕ ครบบริบูรณ์ทั้งสิ้น โรคนี้นั้นอันเราผู้
กระทำตามพระดำรัสของพระพุทธเจ้า ผู้เป็นเทพเจ้าผู้
ยิ่งใหญ่ได้เห็นแล้ว.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า สกลํ แปลว่า ทั้งสิ้น.
บทว่า สมตฺตํ แปลว่า ครบบริบูรณ์ อธิบายว่า ไม่เหลือจากส่วน
ทั้งปวง.
ด้วยบทว่า โรคํ นี้ พระเถระกล่าวหมายเอาอุปาทานขันธ์ ๕ ชื่อว่า
เป็นโรค เพราะอรรถว่าเสียดแทงโดยความเป็นตัวทุกข์เป็นต้น.
บทว่า นาทฺทสํ ปุพฺเพ ความว่า ในกาลก่อนแต่ได้รับโอวาทของ
พระศาสดา เราไม่เคยเห็น.
บทว่า โสยํ โรโค ทิฏฺโฐ วจนกเรนาติเทวสฺส ความว่า โรค
กล่าวคือเบญจขันธ์อาทิผิด นี้นั้น อันพระสรภังคะผู้ตอบแทนพระโอวาทของพระ-
พระปิฎกธรรม