星期三, 一月 04, 2012

Ruean

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 23/300/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อุเบกขาในอัญญาณ ชื่อว่า อุเบกขา ในบทนี้ว่า อุเปกฺขา. บทว่า
อโนธิชินสฺส ความว่า ขีณาสพ ชื่อว่า โอธิชินะ เพราะความที่พระขีณาสพ
ชนะข้าศึกคือกิเลสแล้วดำรงอยู่ เพราะฉะนั้นบทนี้ ได้แก่ปุถุชนผู้ไม่สิ้นอาสวะ.
ขีณาสพแล ชื่อว่าวิปากชินะ เพราะความที่พระขีณาสพชนะวิบากต่อไป
ดำรงอยู่ แม้ในบทนี้ว่า อวิปากชินสฺส เพราะฉะนั้น ผู้ไม่สิ้นอาสวะนั้นเทียว.
บทว่า อนาทีนวทสฺสาวิโน ได้แก่ ผู้ไม่เห็นโดยความเป็นโทษ. บทว่า
อิมา ฉ เคหสิตา อุเปกฺขา ความว่า อุเบกขาที่ไม่กลับสู่รูปเป็นต้น
ดุจแมลงวันที่จับงบน้ำอ้อย เมื่ออิฏฐารมณ์ไปสู่คลองในทวาร ๖ อย่างนี้ติดอยู่อาทิผิด อาณัติกะ
ในรูปเป็นต้นนั้น เกิดขึ้นนี้ พึงทราบว่า อุเบกขาอาศัยเรือน ๖. บทว่า
รูปํ สา สาติวตฺตติ ความว่า อุเบกขานั้นไม่ล่วงเลยรูป. ไม่ตั้งอยู่ด้วย
อำนาจความเบื่อหน่ายในรูปนั้น. บทว่า อิมา ฉ เนกฺขมฺมสิตา อุเปกฺขา
ความว่าอุเบกขาเกิดขึ้นแก่บุคคลผู้ไม่ยินดีในอิฏฐารมณ์ ไม่ยินร้ายในอนิฏฐารมณ์
เมื่ออารมณ์ที่น่าปรารถนาเป็นต้น ไปสู่คลองในทวาร ๖ อย่างนี้ ไม่ลุ่มหลงอาทิผิด อักขระ
ด้วยการพิจารณาไม่รอบคอบ ประกอบด้วยอุเบกขาญาณเหล่านั้น พึงทราบว่า
อุเบกขาอาศัยเนกขัมมะ ๖. บทว่า ตตฺถ อิทํ นิสฺสาย อิทํ ปชหถ
ความว่า ในทางดำเนินของสัตว์ ๓๖ ประการนั้น พวกเธอจงอาศัยทางดำเนิน
๑๘ ประการ ละทางดำเนิน ๑๘ ประการ. ด้วยเหตุนั้นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า
จึงตรัสว่า ตตฺร ภิกฺขเว ยานิ ฉ เนกฺขมฺมสิตานิ ดังนี้เป็นต้น. บทว่า
นิสฺสาย อาคมฺม ได้แก่อาศัยและอิง ด้วยอำนาจความเป็นไป. บทว่า
เอวเมเตสํ สมติกฺกโม โหติ ความว่า ชื่อว่า ล่วงเลยอุเบกขาอาศัยเรือนอาทิผิด
เพราะความเป็นไปแห่งอุเบกขาอาศัยเนกขัมมะอย่างนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงให้ละธรรมที่คล้ายกัน ด้วยธรรมที่คล้ายกัน
อย่างนี้แล้ว บัดนี้ ทรงให้ละธรรมที่ไม่มีกำลัง ด้วยธรรมที่มีกำลัง จึงตรัส
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: