星期四, 十一月 08, 2012

Phrom phriang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/59/5  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คือ ชาติ ฯลฯ นั้นเป็นปัจจัยแห่งสังขาร คือ อวิชชา รวมความว่า ปัจจัย
ธรรมมีอวิชชาเป็นต้น เป็นตัวเหตุเหมือนอย่างที่ท่านกล่าวไว้ว่า ปัจจัย
๑๒ คือ ปฏิจจสมุปบาท ๑๒
ในข้อนั้น มีวจนัตถะดังต่อไปนี้ ชื่อว่า ปฏิจจสมุปบาท เพราะ
อาศัย คือ มุ่งหน้าต่อกันและกัน ไม่ปฏิเสธความพร้อมเพรียงอาทิผิด ของเหตุ ให้
ปัจจัยที่เกื้อกูลกันเกิดขึ้น. อีกอย่างหนึ่ง การอาศัยปัจจัยอันควรเป็นปัจจัย
ซึ่งต้องอาศัยกันเป็นไปจึงเกิดสัมพันธ์กันโดยไม่เว้นปัจจัยนั้น ชื่อว่า ปฏิจจ-
สมุปบาท. ก็ในคำว่าปฏิจจสมุปบาทนี้ ได้แก่ เหตุที่ประกอบด้วยความ
สามารถในการให้เกิดผล อันจะรู้ได้ด้วยคำอันมีการเกิดขึ้นพร้อมเป็นเหตุ
ใกล้ ไม่พึงทราบเพียงแต่อาศัยกันเกิดขึ้น.
อีกอย่างหนึ่ง ปัจจัยชื่อว่า ปฏิจจะ เพราะเป็นที่ควรอาศัยเฉพาะ
ของบัณฑิต. ชื่อว่า สมุปบาท เพราะให้เกิดขึ้นโดยชอบ หรือด้วยตนเอง.
ปฏิจจะนั้นด้วยสมุปบาทนั้นด้วย ชื่อว่า ปฏิจจสมุปบาท พึงทราบความ
ในเรื่องปฏิจจสมุปบาทนี้ ด้วยประการดังกล่าวมานี้.
บทว่า อนุโลมํ ได้แก่ ปัจจยาการมีอวิชชาเป็นต้น ที่ท่านกล่าวไว้
โดยนัยมีอาทิว่า อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา เพราะอวิชชาเป็นปัจจัย จึงเกิด
มีสังขาร. ท่านเรียกว่า อนุโลม เพราะกระทำกิจที่ตนควรกระทำ. อีกอย่าง
หนึ่ง ชื่อว่า อนุโลม เพราะท่านกล่าวตั้งแต่ต้นจนถึงที่สุด หรือเพราะ
อนุโลมตามความเป็นไป. ซึ่งอนุโลมนั้น. บทว่า สาธุกํ มนสากาสิ
ได้แก่ กระทำไว้ในใจโดยเคารพ. อธิบายว่า ปัจจัยธรรมใด ๆ เป็นปัจจัย
แก่ปัจจยุปปันนธรรมใดอาทิผิด สระ โดยความเป็นปัจจัยมีเหตุปัจจัยเป็นต้น โดย
ประการใด ๆ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงกระทำธรรมทั้งหมดนั้นไว้ในพระ-
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: