星期日, 五月 31, 2015

Lek

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 90/300/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๙๑๘] เพราะเหตุปัจจัย ในนอารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๙๑๙] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ฯลฯ
อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลม
นัยก็ดี แห่งปัญหาวาระในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น.

อัพยากตบทปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๙๒๐] ๑. อัพยากตธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม อาศัยอัพยากต-
ธรรมที่เป็นสเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ
(วาระที่ ๑-๒-๓)
๔. อัพยากตธรรมที่เป็นอเหตุกธรรม อาศัยอัยากต-
ธรรมที่เป็นอเหตุกธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาร
(วาระที่ ๔-๕-๖)
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 五月 30, 2015

Laeo

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/811/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期三, 五月 27, 2015

Munthika

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 33/286/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
(๑) กสาหิปิ ตาเฬนฺเต โบยด้วยแส้บ้าง
(๒) เวตฺเตหิปิ ตาเฬนฺเต โบยด้วยหวายบ้าง
(๓) อฑฺฒทณฺฑเกหิปิ ตาเฬนฺเต ตีด้วยตะบองสั้นบ้าง
(๔) หตฺถํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดมือบ้าง
(๕) ปาทํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดเท้า
(๖) หตฺถปาทํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดทั้งมือทั้งเท้าบ้าง
(๗) กณฺณํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดหูบ้าง
(๘) นาสํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดจมูกบ้าง
(๙) กณฺณนาสํปิ ฉินฺทนฺเต ตัดทั้งหูทั้งจมูกบ้าง
(๑๐) พิลงฺคถาลิกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘หม้อเคี่ยว
น้ำส้ม’ บ้าง
(๑๑) สงฺขมุณฺฑิกํปิอาทิผิด กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘ขอดสังข์’
บ้าง
(๑๒) ราหุมุขํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘ปากราหู’ บ้าง
(๑๓) โชติมาลิกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘ดอกไม้ไฟ’
บ้าง
(๑๔) หตฺถปฺปชฺโชติกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘คบมือ’ บ้าง
(๑๕) เอรกวฏฺฏิกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘ริ้วส่าย’ บ้าง
(๑๖) จีรกวาสิกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘นุ่งเปลือกไม้’
บ้าง
(๑๗) เอเณยฺยกํปิ กโรนฺเต ลงกรรมกรณ์วิธี ‘ยืนกวาง’ บ้าง
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 26, 2015

Sanya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/790/7  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ฉันทังอทัตวาคมนสิกขาบทที่ ๑๐
วินิจฉัยในสิกขาบทที่ ๑๐ พึงทราบดังนี้:-
ข้อว่า วตฺถุํ วา อาโรจิตํ โหติ มีความว่า ทั้งโจทก์และจำเลยได้
แถลงถ้อยคำของตนแล้ว ภิกษุผู้สอบสวนสืบสวนก็ได้รับสมมติแล้วแม้ด้วย
อาการเพียงเท่านี้ วัตถุเป็นอันบอกแล้ว. คำที่เหลือในสิกขาบทนี้ ตื้นทั้งนั้น.
สิกขาบทนี้ มีการทอดธุระเป็นสมุฏฐาน เกิดขึ้นทางกายวาจากับจิต
เป็นทั้งอาทิผิด อาณัติกะกิริยาทั้งอกิริยา สัญญาอาทิผิด สระวิโมกข์ สจิตตกะ โลกวัชชะ กายกรรม วจี-
กรรม อกุศลจิต เป็นทุกขเวทนา ดังนี้แล.
ฉันทังอทัตวาคมนสิกขาบทที่ ๑๐ จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 24, 2015

Manda

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/806/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เหล่านี้แล ภิกษุทั้งหลาย โทษ ๑๐ อย่าง ในการเข้าสู่พระราชฐาน
ชั้นใน.
ทรงติเตียนแล้วบัญญัติสิกขาบท
[๗๓๔] พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงติเตียนท่านพระอานนท์ โดยอเนก
ปริยายดังนี้แล้ว ตรัสโทษแห่งความเป็นคนเลี้ยงยาก ความเป็นคนบำรุงยาก
. . . แล้วตรัสว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลพวกเธอพึงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดงอย่างนี้
ว่าดังนี้:-
พระบัญญัติ
๑๓๒ ๑. อนึ่ง ภิกษุใด ไม่ได้รับบอกก่อน ก้าวล่วงธรณี
เข้าไปในห้องของพระราชาผู้กษัตริย์ได้รับมุรธาภิเษกแล้ว ที่พระ-
ราชายังไม่ได้เสด็จออก ที่รัตนะยังไม่ออก เป็นปาจิตตีย์.
เรื่องพระเจ้าปเสนทิโกศล จบ
สิกขาบทวิภังค์
[๗๓๕] บทว่า อนึ่ง. . .ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด . . .
บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่าเป็นผู้ขอ. . .นี้
ชื่อว่า ภิกษุ ที่ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
ที่ชื่อว่า ผู้กษัตริย์ คือ เป็นผู้เกิดดีแล้วทั้ง ๒ ฝ่าย ทั้งฝ่ายพระ
ราชมารดาอาทิผิด อักขระ และพระราชบิดา เป็นผู้มีพระครรภ์เป็นที่ถือปฏิสนธิหมดจดดีแล้ว
ตลอดเจ็ดชั่วบุรพชนก ไม่มีใครคัดค้านติเตียนโดยกล่าวถึงชาติได้.
ที่ชื่อว่า ได้รับมุรธาภิเษกแล้ว คือ ได้รับอภิเษกโดยสรงสนาน
ให้เป็นกษัตริย์แล้ว .
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 五月 23, 2015

Mung

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์  72/2/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ครั้งนั้น เราจับไม้กวาด กวาดอาศรม
ปักไม้สี่อันทำเป็นมณฑป
เราเอาดอกรังมามุงอาทิผิด อักขระมณฑป เราเป็นผู้มีจิต
เลื่อมใส โสมนัส ได้ถวายบังคมพระผู้นำโลกแล้ว
พระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า สุเมธะ
ที่ชนทั้งหลายกล่าวกันว่า มีพระปัญญาดังแผ่นดิน
มีพระปัญญาดี ประทับนั่ง ณ ท่ามกลางพระภิกษุ
สงฆ์ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้
เทวดาทั้งปวงทราบว่าพระพุทธเจ้าจะ
เปล่งวาจา จึงพากันมาประชุมด้วยคิดว่า พระพุทธ
เจ้าผู้ประเสริฐสุด มีพระจักษุ จะทรงแสดงพระ
ธรรมเทศนาโดยไม่ต้องสงสัย
พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่าสุเมธะ ผู้สม-
ควรรับเครื่องบูชา ประทับนั่งในหมู่เทวดา ได้ตรัส
พระคาถาดังต่อไปนี้
ผู้ใดทรงมณฑป มีดอกรังเป็นเครื่องมุง
แก่เราตลอด ๗ วัน เราพยากรณ์ผู้นั้น ท่านทั้ง
หลายจงฟังเรากล่าว
ผู้นั้น เกิดเป็นเทวดาหรือมนุษย์ จักเป็น
ผู้มีผิวพรรณเหมือนทองคำ จักมีโภคทรัพย์
ล้นเหลือ บริโภคกาม
ช้างมาตังคะ ๖ หมื่นเชือกประดับด้วย
เครื่องอาภรณ์ทุกชนิด รัดปะคน และพานหน้า
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 18, 2015

Thi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์  72/5/3  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ข้าพระองค์เข้าถึงกำเนิดใดๆ คือ จะเป็น
เทวดาหรือมนุษย์ ย่อมเป็นผู้มีความสุขในทุก
สถาน นี้เป็นผลในการที่อาทิผิด อักขระข้าพระองค์ กล่าวสดุดี
พระพุทธญาณ
นี้เป็นการเกิดครั้งหลังของข้าพระองค์
ภพสุดท้ายกำลังเป็นไปอยู่ ข้าพระองค์ตัดกิเลส
เครื่องผูก ดังช้างตัดเชือกแล้ว เป็นผู้ไม่มีอาสวะ
อยู่
ข้าพระองค์เผากิเลสทั้งหลายแล้ว ถอน
ภพขึ้นได้ทั้งหมดแล้ว ตัดกิเลสเครื่องผูก ดังช้าง
ตัดเชือกแล้ว เป็นผู้ไม่มีอาสวะอยู่
การที่ข้าพระองค์ได้มาในสำนักของพระ-
พุทธเจ้าของข้าพระองค์นี้ เป็นการมาดีแล้วหนอ
วิชชา ๓ ข้าพระองค์บรรลุแล้วโดยลำดับ คำสอน
ของพระพุทธเจ้า ข้าพระองค์ได้ทำเสร็จแล้ว
คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔
วิโมกข์ ๘ และอภิญญา ๖ ข้าพระองค์ได้ทำให้แจ้ง
แล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพระองค์ได้ทำ
เสร็จแล้ว ดังนี้.
ทราบว่า ท่านพระภัททาลิเถระได้ภาษิตคาถาเหล่านี้ ด้วยประการ
ฉะนี้แล.
จบภัททาลิเถราปทาน
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 五月 16, 2015

Bai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/277/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จักถึงการสงเคราะห์เข้าในพีชคามไซร้, แม้คำนั้นก็ไม่ควร เพราะพืชเช่นนั้น
ไม่เป็นมูลเหตุแห่งภูตคามเลย. อีกนัยหนึ่ง คำว่า บรรดาฐานะที่หนักและเบา
ภิกษุควรตั้งอยู่ในฐานะที่หนัก นี้เป็นลักษณะแห่งวินัย.
[ว่าด้วยภูตคามที่เกิดบนบกและการพรากภูตคามนั้น ]
วินิจฉัยในภูตคามที่เกิดบนบกต่อไป ส่วนที่เหลือของจำพวกต้นไม้
ที่ถูกตัดจัดว่าเป็นดอกไม้ที่เขียวสด. ในตอไม้เขียวสดนั้น ตอแห่งไม้กุ่ม ไม้-
กระถินพิมาน ไม้ประยงค์ และไม้ขนุนเป็นต้น ย่อมงอกขึ้นได้. ตอไม้นั้น
ท่านสงเคราะห์เข้าด้วยภูตคาม. ตอแห่งต้นตาลและมะพร้าวเป็นต้น ย่อมไม่
งอกขึ้นได้. ตอแห่งต้นตาลเป็นต้นนั้น ท่านสงเคราะห์เข้าด้วยพีชคาม.
ส่วนตอกล้วยที่ยังไม่ตกเครือ ท่านสงเคราะห์ด้วยภูตคาม. ดอกกล้วย
ที่ตกเครือแล้ว ท่านสงเคราะห์เข้าด้วยพีชคาม. แต่ต้นกล้วยที่ตกเครือแล้ว
ท่านสงเคราะห์ เข้าด้วยภูตคามเหมือนกัน ตลอดเวลาที่ยังมีใบอาทิผิด สระเขียวอยู่. ไม้ไผ่
ที่ตกขุยแล้ว ก็อย่างนั้น. แต่ไม้ไผ่ ในเวลาแห้งลงมาตั้งแต่ยอด จึงถึงอัน
สงเคราะห์ด้วยพีชคาม. สงเคราะห์ด้วยพีชคามชนิดไหน. ด้วยพืชตามชนิด
เกิดจากข้อ อะไรเกิดจากต้นไผ่นั้น. จริงอยู่ ถ้าหากว่าอะไร ๆ ไม่พึงเกิด.
(ต้นไผ่ตกขุย) พึงถึงการสงเคราะห์เข้าในภูตคาม.
ชนทั้งหลายตัดไม้ช้างน้าวเป็นต้น รวมเป็นกองไว้. กิ่งทั้งหลายแม้
ประมาณศอกหนึ่งงอกออกจากท่อนไม้ที่รวมเป็นกองไว้ ย่อมถึงการสงเคราะห์
เข้าด้วยพีชคามเหมือนกัน. ชนทั้งหลายปักลงในพื้นดิน เพื่อประโยชน์เป็น
มณฑปก็ดี เพื่อประโยชน์เป็นรั้วก็ดี เพื่อประสงค์จะปลูกเถาวัลย์ก็ดี. เมื่อ
จำพวกรากและใบงอกออกแล้ว ย่อมถึงอันนับเข้าเป็นภูตคามอีกแม้โดยแท้
ถึงอย่างนั้นเมื่องอกเพียงตุ่มอาทิผิด อักขระรากหรือเพียงตุ่มใบก็สงเคราะห์เข้าเป็นพืชคาม
เท่านั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 五月 14, 2015

Mae

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/77/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เราเมื่อถูกทิ่มแทงอยู่ด้วยหลาว แม้อาทิผิด อาณัติกะจะถูกตีซ้ำ
ด้วยหอกก็มิได้โกรธเคืองลูกผู้ใหญ่บ้านเลย นี้เป็นศีล
บารมีของเรา ดังนี้.
จัดเป็น ปรมัตถบารมีแน่นอน.
ก็เช่นเดียวกัน อัตภาพที่พระโพธิสัตว์สละราชสมบัติอย่างใหญ่บำเพ็ญ
เนกขัมมอาทิผิด อักขระบารมีคือ ในกาลที่เป็นโสมนัสกุมาร ในกาลที่เป็นหัตถิปาลกุมาร ในกาล
ที่เป็นอโยฆรบัณฑิต ก็เหลือที่จะนับได้. แต่เนกขัมมบารมีของพระโพธิสัตว์ผู้
ทิ้งราชสมบัติออกบวช เพราะเป็นผู้ปราศจากเครื่องข้องในจูฬสุตโสมชาดก
อย่างนี้ว่า
เราละทิ้งราชสมบัติอย่างใหญ่หลวง ที่อยู่ใน
เงื้อมมือแล้วไปดุจก้อนเขฬะ เมื่อเราสละแล้ว ไม่มี
ความข้องอยู่เลย นี้เป็นเนกขัมมบารมีของเรา ดังนี้.
จัดเป็น ปรมัตถบารมีแน่นอน.
ก็เช่นเดียวกัน อัตภาพที่บำเพ็ญปัญญาบารมีคือ ในกาลที่เป็นวิธูร-
บัณฑิต ในกาลที่เป็นมหาโควินทบัณฑิต ในกาลที่เป็นขุททาลบัณฑิต ในกาล
ที่เป็นอรกบัณฑิต ในกาลที่เป็นโพธิปริพพาชก ในกาลที่เป็นมโหสถบัณฑิต
ก็เหลือที่จะนับได้ แต่ปัญญาบารมีของพระโพธิสัตว์ผู้แสดงงูที่อยู่ข้างในกระ-
สอบ ในกาลที่เป็นเสนกบัณฑิต ในสัตตุภัตตชาดกอย่างนี้ว่า
เราเมื่อใคร่ครวญอยู่ด้วยปัญญา ปลดเปลื้อง
พราหมณ์ให้พ้นจากทุกข์ได้ ผู้ที่เสมอด้วยปัญญาของ
เราไม่มี นี้เป็นปัญญาบารมีของเรา ดังนี้.
จัดเป็น ปรมัตถบารมีแน่นอน.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 五月 13, 2015

Sip

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/481/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้ เป็นผู้มีอุเบกขาเป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์อยู่ ดูก่อนพราหมณ์ ข้อนี้เราเรียก
ว่าตถาคตบทบ้าง ตถาคตนิเสวิตะบ้าง ตถาคตารัญชิตะบ้าง ดังนี้ อริยสาวก
ก็ยังไม่ตกลงใจก่อนว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ดังนี้.
[๓๓๖] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อม
โน้มน้อมจิตไปเพื่อปุพเพนิวาสานุสติญาณ ภิกษุนั้นย่อมระลึกชาติก่อนได้เป็น
อันมาก คือ ระลึกได้ชาติหนึ่งบ้าง สองชาติบ้าง สามชาติบ้าง สี่ชาติบ้าง
ห้าชาติบ้าง สิบชาติบ้าง ยี่สิบอาทิผิด สระชาติบ้าง สามสิบชาติบ้าง สี่สิบชาติบ้าง ห้าสิบ
ชาติบ้าง ร้อยชาติบ้าง พันชาติบ้าง แสนชาติบ้าง ตลอดสังวัฏกัปเป็นอันมาก
บ้าง ตลอดวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้าง ตลอดสังวัฏวิวัฏกัปเป็นอันมากบ้างว่า ใน
ภพโน้น เรามีชื่ออย่างนั้น มีโคตรอย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่าง
นั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ครั้นจุติจากภพ
นั้นแล้วได้ไปเกิดในภพโน้น แม้ในภพนั้น เราก็ได้มีชื่ออย่างนั้น มีโคตร
อย่างนั้น มีผิวพรรณอย่างนั้น มีอาหารอย่างนั้น เสวยสุขเสวยทุกข์อย่างนั้น ๆ
มีกำหนดอายุเพียงเท่านั้น ภิกษุนั้นย่อมระลึกถึงชาติก่อนได้เป็นอันมาก พร้อม
ทั้งอาการ พร้อมทั้งอุเทศ ด้วยประการฉะนี้ ดูก่อนพราหมณ์ แม้ข้อนี้ เรา
เรียกตถาคตบทบ้าง ตถาคตนิเสวิตะบ้าง ตถาคตารัญชิตะบ้าง อริยสาวกก็ยัง
ไม่ถึงความตกลงใจก่อนว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นพระอรหันตสัมมาอาทิผิด สระสัมพุทธเจ้า
พระธรรมอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสดีแล้ว พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าเป็นผู้ปฏิบัติดีแล้ว ดังนี้.
[๓๓๗] ภิกษุนั้น เมื่อจิตเป็นสมาธิ บริสุทธิ์ผ่องแผ้ว ไม่มีกิเลส
ปราศจากอุปกิเลส อ่อน ควรแก่การงาน ตั้งมั่น ไม่หวั่นไหว อย่างนี้ ย่อม
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 五月 11, 2015

Ban

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 4/179/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มุสาวาทวรรค สิกขาบทที่ ๖
เรื่องพระอนุรุทธเถระ
[๒๙๘] โดยสมัยนั้น พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าประทับอยู่ ณ พระ
เชตวัน อารามของอนาถบิณฑิกคหบดี เขตพระนครสาวัตถี ครั้งนั้น ท่าน
พระอนุรุทธะเดินทางไปพระนครสาวัตถีในโกศลชนบท ได้ไปถึงหมู่บ้าน
แห่งหนึ่ง ณ เวลาเย็น ก็แลสมัยนั้น ในหมู่บ้านอาทิผิด อักขระนั้นมีสตรีผู้หนึ่ง จัดเรือนพัก
สำหรับอาคันตุกะไว้ จึงท่านพระอนุรุทธะเข้าไปหาสตรีนั้น แล้วได้กล่าวคำนี้
กะสตรีนั้นว่า ดูก่อนน้องหญิง ถ้าเธอไม่หนักใจ อาตมาขอพักแรมในเรือนพัก
สักคืนหนึ่ง.
สตรีนั้นเรียนว่า นิมนต์พักแรมเถิด เจ้าข้า.
พวกคนเดินทางแม้เหล่าอื่นก็เข้าไปหาสตรีนั้น แล้วได้กล่าวคำนี้กะ
สตรีนั้นว่า คุณนายขอรับ ถ้าคุณนายไม่หนักใจ พวกข้าพเจ้าขอพักแรมใน
เรือนพักสักคืนหนึ่ง.
นางกล่าวว่า พระคุณเจ้าสมณะนั่นเข้าไปพักแรมอยู่ก่อนแล้ว ถ้าท่าน
อนุญาต ก็เชิญพักแรมได้.
จึงคนเดินทางพวกนั้น พากัน เข้าไปหาท่านอนุรุทธะแล้ว ได้กล่าว
คำนี้กะท่านพระอนุรุทธะว่า ท่านขอรับ ถ้าท่านไม่หนักใจ พวกกระผมขอ
พักแรมคืน ในเรือนพักสักคืนหนึ่ง.
ท่านพระอนุรุทธะตอบว่า เชิญพักเถิดจ้ะ.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 五月 10, 2015

Yangyuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/310/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทิฏฐิที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ผู้นั้นเห็นรูปโดยเป็นอัตตา ย่อมยึดถือว่า เป็น
โลก เป็นอัตตา ท่านหมายเอาทิฏฐินั้นจึงกล่าวไว้ดังนี้. บทว่า โส เปจฺจ ภวิ-
สฺสามิ ความว่า เรานั้นไปปรโลกแล้ว จักอยู่เป็นนิจ ยั่งยืนเที่ยง มีความ
ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่เสมอด้วยความยั่งยืนอาทิผิด อักขระ ดุจภูเขาสิเนรุ
มหาปฐพีและมหาสมุทรเป็นต้นฉันนั้นเหมือนกัน. บทว่า ตํปิ เอตํ มม
ความว่า ย่อมตามเห็นว่าทัสสนะแม้นั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นอัตตา
ของเรา. ตัณหา มานะ ทิฏฐิ ที่มีทิฏฐิเป็นอารมณ์ ตรัสด้วยบทนี้. เวลา
ถือทิฏฐิครั้งแรก มีได้ด้วยทิฏฐิครั้งหลังอย่างนี้ เหมือนเวลากับเห็นแจ้งด้วย
วิปัสสนา. ในสุกกปักข์ ฝ่ายขาว ทรงคัดค้าน การยึดถือด้วยตัณหา มานะ
และทิฏฐิในรูปว่า นั่นไม่ใช่รูปของเราเป็นต้น. แม้ในเวทนาเป็นต้นก็นัยนี้
เหมือนกัน. ก็บทนี้ว่า สมนุปสฺสติ ความว่า สมนุปัสสนามี ๔ คือ ตัณหา
สมนุปัสสนา มานสมนุปัสสนา ทิฏฐิสมนุปัสสนา ญาณสมนุปัสสนา. เนื้อ
ความแห่งสมนุปัสสนาเหล่านั้น พึงทราบด้วยอำนาจ สมนุปัสสนา ๓ อยู่ใน
กัณหปักข์ ญาณสมนุปัสสนา อยู่ในสุกกปักข์. บทว่า อสติ น ปริตสฺสติ
ความว่า เมื่อความยึดถือไม่มี เธอย่อมไม่สะดุ้ง ด้วยความสะดุ้งด้วยภัย หรือด้วย
ความสะดุ้งด้วยตัณหา. พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงแสดงถึงพระขีณาสพผู้ไม่
สะดุ้ง เพราะความพินาศแห่งขันธ์ภายใน จึงทรงจบเทศนาด้วยบทนี้.
บทว่า เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ความว่า เมื่อพระผู้มีพระภาค-
เจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว ภิกษุผู้ฉลาดในอนุสนธิรูปหนึ่งคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นทรงแสดงถึงพระขีณาสพผู้ไม่สะดุ้ง เพราะความพินาศแห่งขันธ์ภายใน ทรง
จบเทศนาก็เมื่อพระขีณาสพไม่สะดุ้งภายในอยู่ ภิกษุผู้สะดุ้งภายใน ภิกษุผู้สะดุ้ง
ภายนอก ภิกษุผู้สะดุ้งเพราะความพินาศในบริขาร และแม้ผู้ไม่สะดุ้ง พึงมี
เราจะถามปัญหานี้ ด้วยเหตุ ๔ ประการ ดังกล่าวมา แล้วจึงทำจีวรเฉวียงบ่า
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 五月 06, 2015

Sai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/410/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๖. ปาสราสิสูตร
[๓๑๒] ข้าพเจ้าได้ฟังมาอย่างนี้:-
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับ อยู่ที่พระวิหารเชตวัน อาราม
ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี ครั้งนั้นเป็นเวลาเช้า พระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าทรงนุ่งสบงถือบาตรจีวร เสด็จเข้าไปยังกรุงสาวัตถีเพื่อบิณฑบาต. ครั้ง
นั้น ภิกษุหลายรูปเข้าไปหาท่านพระอานนท์กล่าวว่า ท่านอานนท์ พวกข้าพเจ้า
ได้ฟังธรรมีกถา เฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นเวลานานมาแล้ว ขอ
ให้พวกข้าพเจ้าได้ฟังธรรมีกถาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด.
ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ถ้าเช่นนั้น ขอพวกท่านจงไปสู่อาศรมของ
พราหมณ์ชื่อรัมมกะ จึงจะได้ฟังธรรมีกถาเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า.
ภิกษุเหล่านั้น ได้รับคำท่านพระอานนท์แล้ว.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จเข้าไปบิณฑบาตที่กรุงสาวัตถี กลับ
จากบิณฑบาตในเวลาปัจฉาอาทิผิด อักขระภัตนี้แล้ว ตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาตรัสว่า
อานนท์เราจะไปพักผ่อนกลางวันที่ปราสาทแห่งมิคารมารดา (นางวิสาขา) ที่
บุพพาราม. ท่านพระอานนท์ได้ทูลรับพระดำรัสแล้ว. พระผู้มีพระภาคเจ้ากับ
ท่านพระอานนท์ได้เสด็จไปพักผ่อนกลางวันที่ปราสาทแห่งมิคารมารดาที่บุพ-
พาราม เวลาเย็นเสด็จออกจากที่พักผ่อนแล้วตรัสเรียกท่านพระอานนท์มาตรัส
ว่า อานนท์ เรามาไปสรงน้ำที่ท่าบุพพโกฏฐกะ ท่านพระอานนท์ได้ทูลรับ
พระดำรัสแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้ากับท่านพระอานนท์ได้เสด็จไปสรงน้ำที่ท่า
บุพพโกฏฐกะ. สรงเสร็จแล้วจึงกลับขึ้นมาทรงจีวรผืนเดียวประทับยืนผึ่งพระองค์
อยู่. ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า พระเจ้าข้าอาศรมของพราหมณ์ชื่อรัมมกะอยู่
๑. ท่าอาบน้ำตั้งอยู่ด้านปราจีน มีหาดทรายอาทิผิด อักขระขาวสะอาดเป็นที่อาบน้ำ ๔ ที่ สำหรับ
กษัตริย์ ชาวเมือง พวกภิกษุ และพระพุทธเจ้า ไม่อาบรวมกัน.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 五月 05, 2015

Tassa

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 3/394/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期一, 五月 04, 2015

Suan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/107/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ก็ลึกจดมันสมอง เพราะเหตุนั้น ดวงตาของพระโพธิสัตว์นั้นจึงเป็นอย่างนั้น.
บทว่า อามกจฺฉินฺโน ได้แก่ ตัดแล้วในเวลายังอ่อน. ก็น้ำเต้าขมนั้นสัมผัส
กับลมและแดดย่อมเหี่ยวแห้ง. บทว่า ยาวสฺสุ เม สารีปุตฺต ความว่า
ดูก่อนสารีบุตร ผิวหนังท้องของเราเหี่ยวติดกระดูกสันหลัง. อีกประการหนึ่ง
พึงทราบความสัมพันธ์ในบทนั้นอย่างนี้ว่า ดูก่อนสารีบุตร การบำเพ็ญทุกกรกิริยา
ของเรา ยังเป็นภาระหนักเพียงใด ผิวหนังท้องของเราก็เหี่ยวติดกระดูกสันหลัง
เพียงนั้น. บทว่า ปิฏฺฐิกณฺฏกญฺเญว ปริคฺคณฺหามิ ความว่า เราคิดว่า
จะจับผิวหนังท้อง ลูบคลำผิวหนังท้องอย่างเดียว ก็คลำถูกกระดูกสันหลังที
เดียว. บทว่า อวกุชฺโช ปปตามิ ความว่า เมื่อพระองค์นั้นนั่งเพื่อประโยชน์
แก่ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ ปัสสาวะไม่ออกเลย แต่วัจจะมีเพียงเม็ดตุมกา ๑-๒
ก้อน ก็ยังทุกข์อันมีกำลังให้เกิดขึ้น เหงื่อทั้งหลายก็ไหลออกจากสรีระ. พระองค์
ก็ซวนอาทิผิด อักขระล้มล้มลงในพื้นดินในที่นั้นเอง. ด้วยเหตุนั้น จึงตรัสว่า เราซวนอาทิผิด อักขระล้ม ดัง
นี้. บทว่า ตเมว กายํ ได้แก่ กายที่สุดใน ๙๑ กัป. ก็ทรงหมายถึงกาย
ในภพสุดท้ายในมหาสัจจกสูตร จึงตรัสว่า อิมเมว กายํ ดังนี้. บทว่า
ปูติมูลานิ ความว่า เมื่อพระมังสะ หรือพระโลหิตยังมีอยู่ พระโลมาทั้งหลาย
ก็ตั้งอยู่ได้ แต่ในเพราะไม่มีพระมังสะพระโลหิตนั้น พระโลมาทั้งหลายดุจติด
อยู่ในแผ่นหนังอาทิผิด  ก็หลุดติดพระหัตถ์ด้วย ทรงหมายถึงอาการนั้น จึงตรัสว่า
ขนทั้งหลายมีรากอันเน่าก็หลุดจากกายดังนี้. บทว่า อลมริยาญาณทสฺสนวิเสสํ
ได้แก่ โลกุตตรมรรคอันสามารถเพื่อกระทำอาทิผิด สระความเป็นอริยะได้. บทว่า อิมิสสฺ-
สาเยว อริยาย ปญฺญาย ความว่า เพราะไม่บรรลุวิปัสสนาปัญญา. บทว่า
ยายํ อริยา ได้แก่ บรรลุมรรคปัญญานี้ใด. ท่านกล่าวไว้ดังนี้ว่า ชื่อว่า
บรรลุมรรคปัญญา เพราะความที่วิปัสสนาปัญญาได้บรรลุแล้วในบัดนี้ฉันใด
เราไม่บรรลุโลกุตตรมรรคปัญญา เพราะความที่วิปัสสนาปัญญาไม่ได้บรรลุแล้ว
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 五月 01, 2015

Rusuek

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/166/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อันชั่วช้าเหล่านี้ทั้งหมด ที่ละได้แล้วในตน ภิกษุนั้นพึงอยู่ด้วยปีติและปราโมทย์
นั้นทีเดียว หมั่นศึกษาทั้งกลางวันทั้งกลางคืน ในกุศลธรรมทั้งหลาย.
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย อุปมาเหมือนสตรีหรือบุรุษ รุ่นกำดัด
ชอบโอ่อ่า ส่องดูเงาหน้าของตนในกระจกเงา หรือในภาชนะน้ำใสสะอาด
บริสุทธิ์ ถ้าเห็นธุลีหรือสิวบนใบหน้านั้น ย่อมพยายามที่จะให้ธุลีหรือสิวนั้น
หายไป หากไม่เห็นธุลีหรือสิวบนใบหน้า ก็จะรู้สึกอาทิผิด อักขระพอใจว่า ช่างเป็นลาภ
ของเรา ใบหน้าของเราบริสุทธิ์สะอาดดังนี้ ฉันใด แม้ภิกษุหากพิจารณาอยู่
เห็นชัดอกุศลธรรมอันชั่วช้าเหล่านี้ทั้งหมด ที่ยังละไม่ได้ในตน ภิกษุนั้นก็ควร
พยายามเพื่อที่จะละอกุศลธรรมอันชั่วช้านั้นเสียทั้งหมด แต่ถ้าเมื่อพิจารณาอยู่
เห็นชัดอกุศลธรรมอันชั่วช้าเหล่านี้ทั้งหมด ที่ละได้แล้วในตน ภิกษุนั้นพึงอยู่
ด้วยปีติและปราโมทย์นั้นทีเดียว หมั่นศึกษาทั้งกลางวันกลางคืน ในกุศลธรรม
ทั้งหลาย ฉันนั้น นั่นแล.
ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้กล่าวภาษิตดังนี้แล้ว ภิกษุเหล่านั้นมีใจ
ชื่นชมยินดีภาษิตของท่านพระมหาโมคคัลลานะแล้วแล.
จบ อนุมานสูตร ที่ ๕
 
พระปิฎกธรรม