星期日, 五月 10, 2015

Yangyuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/310/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทิฏฐิที่เป็นไปโดยนัยเป็นต้นว่า ผู้นั้นเห็นรูปโดยเป็นอัตตา ย่อมยึดถือว่า เป็น
โลก เป็นอัตตา ท่านหมายเอาทิฏฐินั้นจึงกล่าวไว้ดังนี้. บทว่า โส เปจฺจ ภวิ-
สฺสามิ ความว่า เรานั้นไปปรโลกแล้ว จักอยู่เป็นนิจ ยั่งยืนเที่ยง มีความ
ไม่แปรปรวนเป็นธรรมดา จักตั้งอยู่เสมอด้วยความยั่งยืนอาทิผิด อักขระ ดุจภูเขาสิเนรุ
มหาปฐพีและมหาสมุทรเป็นต้นฉันนั้นเหมือนกัน. บทว่า ตํปิ เอตํ มม
ความว่า ย่อมตามเห็นว่าทัสสนะแม้นั้นว่า นั่นของเรา เราเป็นนั่น นั่นอัตตา
ของเรา. ตัณหา มานะ ทิฏฐิ ที่มีทิฏฐิเป็นอารมณ์ ตรัสด้วยบทนี้. เวลา
ถือทิฏฐิครั้งแรก มีได้ด้วยทิฏฐิครั้งหลังอย่างนี้ เหมือนเวลากับเห็นแจ้งด้วย
วิปัสสนา. ในสุกกปักข์ ฝ่ายขาว ทรงคัดค้าน การยึดถือด้วยตัณหา มานะ
และทิฏฐิในรูปว่า นั่นไม่ใช่รูปของเราเป็นต้น. แม้ในเวทนาเป็นต้นก็นัยนี้
เหมือนกัน. ก็บทนี้ว่า สมนุปสฺสติ ความว่า สมนุปัสสนามี ๔ คือ ตัณหา
สมนุปัสสนา มานสมนุปัสสนา ทิฏฐิสมนุปัสสนา ญาณสมนุปัสสนา. เนื้อ
ความแห่งสมนุปัสสนาเหล่านั้น พึงทราบด้วยอำนาจ สมนุปัสสนา ๓ อยู่ใน
กัณหปักข์ ญาณสมนุปัสสนา อยู่ในสุกกปักข์. บทว่า อสติ น ปริตสฺสติ
ความว่า เมื่อความยึดถือไม่มี เธอย่อมไม่สะดุ้ง ด้วยความสะดุ้งด้วยภัย หรือด้วย
ความสะดุ้งด้วยตัณหา. พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงแสดงถึงพระขีณาสพผู้ไม่
สะดุ้ง เพราะความพินาศแห่งขันธ์ภายใน จึงทรงจบเทศนาด้วยบทนี้.
บทว่า เอวํ วุตฺเต อญฺญตโร ภิกฺขุ ความว่า เมื่อพระผู้มีพระภาค-
เจ้าตรัสอย่างนี้แล้ว ภิกษุผู้ฉลาดในอนุสนธิรูปหนึ่งคิดว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ครั้นทรงแสดงถึงพระขีณาสพผู้ไม่สะดุ้ง เพราะความพินาศแห่งขันธ์ภายใน ทรง
จบเทศนาก็เมื่อพระขีณาสพไม่สะดุ้งภายในอยู่ ภิกษุผู้สะดุ้งภายใน ภิกษุผู้สะดุ้ง
ภายนอก ภิกษุผู้สะดุ้งเพราะความพินาศในบริขาร และแม้ผู้ไม่สะดุ้ง พึงมี
เราจะถามปัญหานี้ ด้วยเหตุ ๔ ประการ ดังกล่าวมา แล้วจึงทำจีวรเฉวียงบ่า
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: