星期一, 八月 31, 2015

Phawana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 91/241/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นกุสลติกนทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ
(๑. นกุสลติกะ ๘. นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ)
ปฏิจจวาระ
อนุโลมนัย
๑. เหตุปัจจัย
[๓๖๗] ฯลฯ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ทัสสเนนปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ที่ไม่ใช่กุศล ฯลฯ
ฯลฯ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่ภาวนายปหาตัพพเหตุก-
ธรรม ที่ไม่ใช่กุศล ฯลฯ
ฯลฯ อาศัยธรรมที่ไม่ใช่เนวทัสสเนนนภาวนาอาทิผิด อักขระย-
ปหาตัพพเหตุกธรรม ที่ไม่ใช่กุศล ฯลฯ
นกุสลติกนทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 30, 2015

Bandit

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 45/142/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
น่าใคร่ น่ารัก น่าพอใจ ที่ตนเสวยแล้วสิ้นกาลนาน แห่งบุญทั้งหลายที่ตน
ได้ทำไว้สิ้นกาลนาน เราเจริญเมตตาจิตตลอด ๗ ปีแล้ว ไม่กลับมาสู่โลกนี้
ตลอด ๗ สังวัฏฏวิวัฏฏกัป ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ได้ยินว่า เมื่อกัปฉิบหายอยู่เรา
เป็นผู้เข้าถึงพรหมโลกชั้นอาภัสสระ เมื่อกัปเจริญอยู่ เราย่อมเข้าถึงวิมานเเห่ง
พรหมที่ว่าง ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ได้ยินว่า เราเป็นพรหม เป็นมหาพรหม
เป็นผู้ยิ่งใหญ่ ใครครอบงำไม่ได้ เป็นผู้สามารถเห็นอดีต อนาคตและปัจจุบัน
โดยแท้ เป็นผู้ยังจิตให้เป็นไปในอำนาจ อยู่ในวิมานพรหมนั้น ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ก็เราได้เป็นท้าวสักกะผู้เป็นจอมเทพ ๓๖ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้า
จักรพรรดิผู้ประกอบด้วยธรรม เป็นพระธรรมราชามีสมุทรสาครสี่เป็นขอบเขต
เป็นผู้ชนะวิเศษแล้ว ถึงความเป็นผู้มั่นคงในชนบท ประกอบด้วยรัตนะ ๗
ประการ หลายร้อยครั้ง จะกล่าวไปไยถึงความเป็นพระเจ้าประเทศราชเล่า ดู
ก่อนภิกษุทั้งหลาย เรานั้นดำริว่า บัดนี้ เราเป็นผู้มีฤทธิ์มากอย่างนี้ มีอานุภาพ
มากอย่างนี้ เพราะผลวิบากแห่งกรรมอะไรของเราหนอแล ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เรานั้นดำริว่า บัดนี้ เราเป็นผู้มีฤทธิ์มากอย่างนี้ มีอานุภาพมากอย่างนี้ เพราะ
ผลวิบากแห่งกรรม ๓ ประการของเราคือ ทาน ๑ ทมะ ๑ สัญญมะ ๑.
พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสเนื้อความนี้แล้ว ในพระสูตรนั้น พระผู้มี-
พระภาคเจ้าตรัสคาถาประพันธ์ดังนี้ว่า
กุลบุตรผู้ใคร่ประโยชน์ พึงศึกษา
บุญนั่นแล อันสูงสุดต่อไปซึ่งมีสุขเป็นกำ-
ไร คือ พึงเจริญทาน ๑ ความประพฤติ
สงบ ๑ เมตตาจิต ๑ บัณฑิตอาทิผิด สระครั้นเจริญ
ธรรม ๓ ประการอันเป็นเหตุเกิดแห่งความ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 28, 2015

Thong Chai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   73/9/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ข้าแต่พระมหาวีระ ด้วยประการไรเล่า ลักษณะ
จักรที่พระยุคลบาทของพระองค์ ประดับด้วยธงชัยอาทิผิด อักขระ
วชิระ ธงประฏาก เครื่องแต่งพระองค์และขอช้าง
พระองค์ก็ไม่มีผู้เสมือนในพระรูปกาย ในศีล สมาธิ
ปัญญาและวิมุตติ ทรงเสมอกับพระพุทธเจ้าผู้ที่ไม่มีผู้
เสมอ ในการประกาศพระธรรมจักร.
กำลังพระยาช้าง ๑๐ ตระกูล เป็นกำลังปกติใน
พระกายของพระองค์ พระองค์ไม่มีผู้เสมอ ด้วยกำลัง
พระวรฤทธิ์ ในการประกาศพระธรรมจักร.
ท่านทั้งหลาย จงนมัสการพระผู้เข้าถึงพระคุณ
ทุกอย่าง ผู้พรักพร้อมด้วยองค์คุณครบถ้วน ผู้เป็น
พระมหามุนี มีพระกรุณาเป็นนาถะของโลก.
พระองค์ควรซึ่งการอภิวาท การชมเชย การไหว้ การ
สรรเสริญ การนอบน้อม และการบูชาทุกอย่าง.
ข้าแต่พระมหาวีระ คนเหล่าใดเหล่าหนึ่ง อัน
เขาควรไหว้ในโลก คนเหล่าใดควรการไหว้ พระองค์
ทรงเป็นผู้ประเสริฐสุด แห่งคนเหล่านั้นทั้งหมด ผู้
เสมือนพระองค์ ไม่มี.
ท่านพระสารีบุตร ผู้มีปัญญามาก ผู้ฉลาดใน
สมาธิและฌาน ยืนอยู่ที่เขาคิชฌกูฏ ก็เห็นพระผู้นำ
โลก.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 26, 2015

Sengsae

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/137/7  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วิหารมีชื่อนี้ สงฆ์สมมติให้เป็นกัปปิยภูมิแล้ว ชอบแก่สงฆ์
เหตุนั้น จงนิ่ง ข้าพเจ้าทรงความนี้ไว้ด้วยอย่างนี้.
สมัยต่อมา ชาวบ้านต้มข้าวต้ม หุงข้าวสวย ต้มแกง สับเนื้อ ผ่า
ฟืน ส่งเสียงเซ็งแซ่เกรียวกราว ณ สถานที่กัปปิยภูมิ ที่สงฆ์สมมติไว้นั้นแล.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงตื่นบรรทมในเวลาปัจจุสมัยแห่งราตรีได้
ทรงสดับเสียงเซ็งแซ่เกรียวกราว และเสียงการ้องก้อง ครั้นแล้วรับสั่งถามท่าน
พระอานนท์ว่า ดูก่อนอานนท์ เสียงเซ็งแซ่อาทิผิด อักขระเกรียวกราว และเสียงการ้องก้องนั้น
อะไรกันหนอ.
ท่านพระอานนท์กราบทูลว่า พระพุทธเจ้าข้า บัดนี้ชาวบ้านมาต้ม
ข้าวต้ม หุงข้าวสวย ต้มแกง สับเนื้อ ผ่าฟืน ณ สถานที่กัปปิยภูมิ ซึ่งสงฆ์สมมติ
ไว้นั้นแล เสียงเซ็งแซ่เกรียวกราว และเสียงการ้องนั่นคือเสียงนั้น พระพุทธ-
เจ้าข้า.

พระพุทธานุญาตกัปปิภูมิ ๓ ชนิด
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำธรรมมีกถา ในเพราะเหตุเป็น
ข้าวต้ม ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงใช้สถานที่กัปปิยภูมิซึ่งสงฆ์สมมติ รูปใดใช้ ต้องอาบัติ
ทุกกฏ.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราอนุญาตสถานที่กัปปิยภูมิ ๓ ชนิด คือ อุสสาว-
นันติกา ๑ โคนิสาทิกา ๑ คหปติกา ๑.

พระพุทธานุญาตอาทิผิด สระกัปปิยภูมิ ๔ ชนิด
สมัยต่อมา ท่านพระยโสชะอาพาธ ชาวบ้านนำเภสัชมาถวายท่าน
ภิกษุทั้งหลายให้เก็บเภสัชเหล่านั้นไว้ข้างนอก สัตว์กินเสียบ้าง ขโมยลักไป
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 23, 2015

Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/136/9  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เกวียนอยู่นอกซุ้มประตูพระอารามคอยท่าว่าเมื่อใด เราทั้งหลายได้ลำดับที่จะ
ถวาย เมื่อนั้นเราจักทำภัตตาหารถวาย ฝนตั้งเค้ามาจะตกใหญ่ จึงคนเหล่านั้น
พากันเข้าไปหาท่านพระอานนท์กราบเรียนว่า ท่านพระอานนท์เจ้าข้า เกลือ
น้ำมัน ข้าวสาร และของขบฉันเป็นอันมาก พวกข้าพเจ้าบรรทุกไว้ในเกวียน
ตั้งอยู่ที่หน้าวัดนี้ และฝนตั้งเค้ามาจะตกใหญ่ ท่านพระอานนท์เจ้าข้า พวก
ข้าพเจ้าจะพึงปฏิบัติอย่างไร จึงท่านพระอานนท์กราบทูลเรื่องนั้น แด่พระผู้มี
พระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ ถ้าเช่นนั้น สงฆ์จงสมมติวิหารที่ตั้งอยู่
สุดเขตวัด ให้เป็นสถานที่เก็บของกัปปิยะแล้วให้เก็บไว้ในสถานที่ที่สงฆ์จำนง
หมาย คือวิหาร เรือนมุงแถบเดียว เรือนชั้น เรือนโล้น หรือถ้ำอาทิผิด สระก็ได้.

วิธีสมมติกัปปิยภูมิ
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลสงฆ์พึงสมมติอย่างนี้.
ภิกษุผู้ฉลาด ผู้สามารถ พึงประกาศให้สงฆ์ทราบด้วยญัตติทุติยกรรม-
วาจา ว่าดังนี้:-

กรรมวาจาสมมติกัปปิยภูมิ
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า ถ้าความพร้อมพรั่งของ
สงฆ์ถึงที่แล้ว สงฆ์พึงสมมติวิหารมีชื่อนี้ ให้เป็นกัปปิยภูมิ นี้เป็น
ญัตติ.
ท่านเจ้าข้า ขอสงฆ์จงฟังข้าพเจ้า สงฆ์สมมติวิหารมีชื่อนี้
ให้เป็นกัปปิยภูมิ การสมมติวิหารมีชื่อนี้ให้เป็นกัปปิยภูมิ ชอบแก่
ท่านผู้ใด ท่านผู้อาทิผิด อาณัติกะนั้น พึงเป็นผู้นิ่ง ไม่ชอบแก่ท่านผู้ใด ท่านผู้นั้นพึง
พูด.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 20, 2015

Patchai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 90/242/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปัจจนียนัย
การยกปัจจัยในปัจจนียะ
[๗๔๕] ๑. มัคคาธิปติธรรมที่เป็นเหตุ เป็นปัจจัยแก่มัคคา-
ธิปติธรรมที่เป็นเหตุ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วย
อำนาจของสหชาตปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.
การนับจำนวนวาระในปัจจนียะ
[๗๔๖] ในนเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ
ฯลฯ
อนุโลมปัจจนียนัย
การนับจำนวนอาทิผิด อักขระวาระในอนุโลมปัจจนียะ
[๗๔๗] เพราะเหตุปัจจัยอาทิผิด อักขระ ในนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ... ฯลฯ
ปัจจนียานุโลมนัย
การนับจำนวนวาระในปัจจนียานุโลม
[๗๔๘] เพราะนเหตุปัจจัย ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ... ฯลฯ
อนุโลมนัยก็ดี ปัจจนียนัยก็ดี อนุโลมปัจจนียนัยก็ดี ปัจจนียานุโลม-
นัยก็ดี แห่งปัญหาวาระ ในกุสลติกะ ท่านนับไว้อย่างไร พึงนับอย่างนั้น
เหตุทุกมัคคารัมมณติกะ จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 18, 2015

Sai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 44/130/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แล่นเข้ามหาสมุทรยังไม่ทันถึงถิ่นที่ปรารถนา ก็อับปางในท่ามกลางสมุทร.
มหาชนพากันเป็นภักษาของปลาและเต่า ส่วนท่านพาหิยะเกาะกระดาน
แผ่นหนึ่ง กำลังข้ามอยู่ถูกกำลังคลื่นซัดไปทีละน้อย ๆ ในวันที่ ๗ ก็ถึง
ฝั่งใกล้ท่าสุปปารกะ. ท่านนอนที่ฝั่งสมุทร โดยรูปกายเหมือนตอนเกิด
เพราะผ้าพลัดตกไปในสมุทร บรรเทาความกระวนกระวายได้แต่เพียง
ลมหายใจ ลุกขึ้นเข้าไประหว่างพุ่มไม้ด้วยความละอาย ไม่เห็นอะไร ๆ
อย่างอื่นที่จะเป็นเครื่องปิดความละอาย จึงหักก้านไม้รัก เอาเปลือกพัน
(กาย) ทำเป็นเครื่องนุ่งห่มปกปิดไว้. แต่อาจารย์บางพวกกล่าวว่า เจาะ
แผ่นกระดานเอาเปลือกไม้ร้อยทำเป็นเครื่องนุ่งห่มปกปิดไว้. ท่านปรากฏ
ว่า ทารุจีริยะ. เพราะทรงผ้าคากรองทำด้วยไม้ และว่า พาหิยะ ตามชื่อ
เดิมแม้โดยประการทั้งปวง ด้วยประการฉะนี้.
ท่านถือกระเบื้องอันหนึ่ง เที่ยวขอก้อนข้าวที่ท่าสุปปารกะ โดย
ทำนองดังกล่าวแล้ว พวกมนุษย์เห็นเข้าจึงคิดว่า ถ้าชื่อว่าพระอรหันต์
ยังมีในโลกไซร้ ท่านพึงเป็นอย่างนี้ พระผู้เป็นเจ้าองค์นี้ จะถือเอาผ้า
ที่เขาให้ หรือไม่ถือเอาเพราะความมักน้อย ดังนี้ เมื่อจะทดลอง จึงน้อม
นำผ้าจากที่ต่าง ๆ เข้าไป. เขาคิดว่า ถ้าเราจักไม่มาโดยทำนองนี้ไซร้อาทิผิด อาณัติกะ
เมื่อเป็นเช่นนี้ พวกเหล่านี้พึงไม่เลื่อมใสเรา ไฉนหนอ เราพึงห้ามผ้า
เหล่านี้เสีย อยู่โดยทำนองนี้แหละ เมื่อเป็นเช่นนี้ ลาภสักการะก็จักเกิด
ขึ้นแก่เรา. เขาคิดอย่างนี้แล้ว จึงตั้งอยู่ในฐานะเป็นผู้หลอกลวงไม่รับผ้า.
พวกมนุษย์คิดว่า น่าอัศจรรย์ พระผู้เป็นเจ้านี้มักน้อยแท้ จึงมีจิตเลื่อมใส
โดยประมาณยิ่ง กระทำสักการะและสัมมานะเป็นอันมาก. ฝ่ายท่านรับ-
ประทานอาหารแล้ว ได้ไปยังเทวสถานแห่งหนึ่งในที่ไม่ไกล. มหาชนก็
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 16, 2015

Fao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 66/303/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เทวดาและมนุษย์ ย่อมเป็นไปในภายในพระพุทธญาณ ฉันนั้น นกทุก
ชนิดรวมทั้งครุฑเวนไตรโคตร โดยที่สุดย่อมเป็นไปในประเทศอากาศ
ฉันใด พระพุทธสาวกทั้งหลายผู้เสมอด้วยพระสารีบุตรเถระโดยปัญญา
ย่อมเป็นไปในประเทศแห่งพระพุทธญาณ ฉันนั้น. พระพุทธญาณย่อมแผ่
ปกคลุมปัญญาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย พวกบัณฑิตที่เป็นกษัตริย์
พราหมณ์ คฤหบดี สมณะ มีปัญญาละเอียด แต่งวาทะโต้ตอบ เหมือน
นายขมังธนูผู้สามารถยิงขนทราย เที่ยวไปดุจทำลายทิฏฐิของผู้อื่นด้วย
ปัญญาของตน บัณฑิตเหล่านั้น ปรุงแต่งปัญหาอาทิผิด อักขระแล้วเข้ามาเฝ้าอาทิผิด อักขระพระตถาคต
ทูลถามปัญหา ปัญหาเหล่านั้น อัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสย้อนถามและตรัส
แก้แล้ว เป็นปัญหามีเหตุที่ทรงแสดงออกและทรงสลัดออก บัณฑิต
เหล่านั้น ย่อมเลื่อมใสต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าย่อมทรง
ไพโรจน์ยิ่งด้วยพระปัญญาในที่นั้นโดยแท้แล พระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระ-
จักษุแจ่มแจ้งแม้ด้วยปัญญาจักษุอย่างนี้.
พระผู้มีพระภาคเจ้า มีพระจักษุแจ่มแจ้ง แม้ด้วยพุทธจักษุ
อย่างไร ? พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อทรงตรวจดูโลกด้วยพุทธจักษุ ได้ทรง
เห็นสัตว์ทั้งหลายผู้มีกิเลสธุลีน้อยในปัญญาจักษุ มีกิเลสธุลีมากในปัญญา
จักษุ มีอินทรีย์แก่กล้ามีอินทรีย์อ่อน มีอาการอาทิผิด อักขระดี มีอาการทราม ผู้แนะนำ-
ได้โดยง่าย ผู้แนะนำได้โดยยาก บางพวกเป็นผู้เห็นโทษและภัยในปรโลก
อยู่ ในกอบัวเขียวก็ดี ในกอบัวแดงก็ดี ในกอบัวขาวก็ดี บางเหล่าเกิด
ในน้ำ เจริญในน้ำ ขึ้นตามน้ำ จมอยู่ในน้ำ อันน้ำหล่อเลี้ยงไว้ ดอกบัว
เขียวก็ดี ดอกบัวแดงก็ดี ดอกบัวขาวก็ดี บางเหล่าเกิดในน้ำ เจริญในน้ำ
ตั้งอยู่เสมอน้ำ ดอกบัวเขียวก็ดี ดอกบัวแดงก็ดี ดอกบัวขาวก็ดี บางเหล่า
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 14, 2015

Lae

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 19/269/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บันเทิงทำให้ระลึกนึกถึงกัน, บางพวกเป็นแต่ประณมมือหันไปทางที่พระผู้มี-
พระภาคเจ้าประทับ, บางพวกเป็นแต่ร้องประกาศชื่อสกุลในสำนักของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า, บางพวกไม่พูดจาว่ากระไรแล้วต่างก็นั่งลงในที่
ควรส่วนหนึ่ง, เมื่อพวกพราหมณ์และคฤหบดีชาวเมืองเวรัญชาต่างนั่งลงใน
ที่ควรส่วนหนึ่งแล้ว ก็กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า :-
“ พระโคดมผู้เจริญ อะไรหนอเป็นเหตุ, อะไรเป็นปัจจัยที่สัตว์บาง
พวกในโลกนี้เข้าถึงอบายทุคติวินิบาต นรก เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกาย
แตก และ พระโคดมผู้เจริญ อะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็นปัจจัย ที่สัตว์บางพวก
ในโลกนี้เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์เบื้องหน้าแต่ตายเพราะกายแตก ”
ภ. “ พราหมณ์และอาทิผิด สระคฤหบดีทั้งหลาย เพราะความประพฤติไม่ถูกต้อง
และประพฤติไม่เรียบร้อยเป็นเหตุ, สัตว์บางพวกในโลกนี้จึงเข้าถึงอบาย
ทุคติวินิบาตนรกหลังจากที่แตกกายตายไป, พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย
เพราะเหตุที่ประพฤติถูกต้องและประพฤติเรียบร้อย สัตว์บางพวกในโลกนี้จึง
เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์หลังจากที่แตกกายตายไป ”
พ. “ คำที่พระโคดมผู้เจริญพูดไว้โดยย่อ ยังไม่ได้จำแนกเนื้อความ
อย่างพิสดารนี้ พวกข้าพเจ้ายังไม่เข้าใจเนื้อความอย่างพิสดารเลย จึงขอ
ความกรุณาให้พระโคดมผู้เจริญได้โปรดแสดงธรรมโดยประการที่พวกข้าพ-
เจ้าจะพึงเข้าใจเนื้อความของคำที่พระโคดมผู้เจริญพูดไว้โดยย่อนี้โดยพิสดาร
ด้วยเถิด ”
ภ. “ พราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ถ้าเช่นนั้น ขอให้พวกท่านจงตั้งใจ
ฟังให้ดี เราจะว่าให้ฟัง ”
พราหมณ์และอาทิผิด สระคฤหบดีชาวเมืองเวรัญชารับสนองพระดำรัสของพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าว่า “ อย่างนั้น ท่านผู้เจริญ ”
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 13, 2015

Khodom

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/127/1  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีจริงอยู่ สีหะ เหตุที่เขาอาทิผิด อักขระกล่าวหาเราว่า พระสมณโคคมอาทิผิด ช่างกำจัด
แสดงธรรมเพื่อความกำจัด และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก.
มีจริงอยู่ สีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมอาทิผิด อักขระช่างเผาผลาญ
แสดงธรรมเพื่อความเผาผลาญ และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่า
กล่าวถูก.
มีจริงอยู่ สีหะ เหตุที่เขากล่าวอาทิผิด อักขระหาเราว่า พระสมณโคดมไม่ผุดเกิด
แสดงธรรมเพื่อความไม่ผุดเกิด และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่า
กล่าวถูก.
มีอยู่จริง สีหะ เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดม กล่าวเป็น
ผู้เบาใจ แสดงธรรมเพื่อความเบาใจ และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้
ชื่อว่ากล่าวถูก.
ดูก่อนสีหะ ก็เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมกล่าวการไม่ทำ
แสดงธรรมเพื่อการไม่ทำ และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก
นั้นเป็นอย่างไร ดูก่อนสีหะ เพราะเรากล่าวการไม่ทำกายทุจริต วจีทุจริต
มโนทุจริต เรากล่าวการไม่ทำสิ่งที่เป็นบาปอกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขา
กล่าวหาเราว่าพระสมณโคดมกล่าวการไม่ทำ แสดงธรรมเพื่อการไม่ทำ และ
แนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูก.
ดูก่อนสีหะ อนึ่ง เหตุที่กล่าวหาเราว่า พระสมณโคดมกล่าวการทำ
แสดงธรรมเพื่อการทำ และแนะนำสาวกตามแนวนั้น ดังนี้ ชื่อว่ากล่าวถูกนั้น
เป็นอย่างไร ดูก่อนสีหะ เพราะเรากล่าวการทำกายสุจริต วจีสุจริต มโนสุจริต
เรากล่าวการทำสิ่งที่เป็นกุศลหลายอย่าง นี้แล เหตุที่เขากล่าวหาเราว่า พระ
สมณโคดมกล่าวการทำ แสดงธรรมเพื่อการทำ และแนะนำสาวกตามแนวนั้น
ดังนี้ชื่อว่ากล่าวถูก.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 10, 2015

Khao

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/33/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๕. ปฐมอานันทสูตร

ว่าด้วยพระอานนท์ทูลถามเรื่องเวทนา ๓

[๓๙๙] ครั้งนั้นแล ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
ถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
ครั้นแล้วได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เวทนา
มีเท่าไร ความเกิดขึ้นแห่งเวทนาเป็นไฉน ความดับแห่งเวทนาเป็นไฉน
ปฏิปทาเครื่องให้ถึงความดับแห่งเวทนาเป็นไฉน อะไรเป็นคุณแห่งเวทนา
อะไรเป็นโทษแห่งเวทนา อะไรเป็นอุบายเครื่องสลัดออกแห่งเวทนา. พระ
ผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ เวทนามี ๓ เหล่านี้ คือ สุขเวทนา
ทุกขเวทนา อทุกขมสุขเวทนา ดูก่อนอานนท์ เหล่านี้ เราเรียกว่าเวทนา
เพราะผัสสะเกิดขึ้นเวทนาจึงเกิด เพราะผัสสะดับเวทนาจึงดับ อริยมรรค
มีองค์ ๘ นี้แล คือ สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาสมาธิ เป็นปฏิปทาเครื่อง
ให้ถึงความดับแห่งเวทนา สุข โสมนัส ย่อมเกิดขึ้นเพราะอาศัยเวทนาใด
นี้เป็นคุณแห่งเวทนา เวทนาใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีความแปรปรวน
เป็นธรรมดา นี้เป็นโทษแห่งเวทนา การกำจัด การละฉันทราคะใน
เวทนาใด นี้เป็นอุบายเครื่องสลัดออก แห่งเวทนา.
[๔๐๐] ดูก่อนอานนท์ โดยที่แท้ เราได้กล่าว ความดับแห่งสังขาร
ทั้งหลายโดยลำดับแล้ว คือ เมื่อภิกษุเข้าปฐมฌาน วาจาย่อมดับ ฯ ล ฯ
เมื่อเข้าอาทิผิด อักขระสัญญาเวทยิตนิโรธ สัญญาและเวทนาย่อมดับ ราคะ โทสะ โมหะ
ของภิกษุผู้ขีณาสพย่อมดับ.
๑. สูตรที่ ๕-๘ ไม่มี อรรถกถาแก้.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 08, 2015

Okha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 79/117/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบ
ไม่ได้ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖ และประกอบไม่ได้ด้วยอายตนะ ๑
ธาตุ ๑ บางอย่าง.
[๓๘๖] ธรรมเหล่าใด ประกอบไม่ได้ด้วย อัปปัจจยธรรม อสังขต-
ธรรม สนิทัสสนธรรม สัปปฏิฆธรรม รูปีธรรม ธรรมเหล่าใด
ประกอบไม่ได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบไม่ได้ด้วยขันธ์ ๔
อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และประกอบไม่ได้ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางอย่าง.
[๓๘๗] ธรรมเหล่าใด ประกอบไม่ได้ด้วย โลกุตตรธรรม
ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์
อายตนะ อะไร ๆ ที่ประกอบไม่ได้ ประกอบไม่ได้ด้วยธาตุ ๖.
[๓๘๘] ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วย อาสวธรรม อาสวสัมป-
ยุตตธรรม อาสวสาสวธรรม อาสวอาสวสัมปยุตตธรรม อาสวสัมป-
ยุตตโนอาสวธรรม ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วยธรรมเหล่านั้นธรรม
เหล่านั้นประกอบไม่ได้ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑๐ ธาตุ ๑๖. และประกอบไม่
ได้ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางอย่าง.
[๓๘๙] ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วย อนาสวธรรม อาสว
วิปปยุตตอนาสวธรรม ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้ด้วยธรรมเหล่านั้น
ธรรมเหล่านั้นไม่มีขันธ์ อายตนะ อะไร ๆ ที่ประกอบไม่ได้ ประกอบไม่ได้
ด้วยธาตุ ๖.
[๓๙๐] ธรรมเหล่าใด ประกอบไม่ได้ด้วยสัญโญชนธรรม คันถ-
ธรรม โอฆอาทิผิด อักขระธรรม โยคธรรม นีวรณธรรม ปรามาสธรรม ปรามาส-
สัมปยุตตธรรม ปรามาสปรามัฏฐธรรม ธรรมเหล่าใดประกอบไม่ได้
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 06, 2015

Bang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 79/103/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๓๒๐] ธรรมเหล่าใด ประกอบได้ด้วยอุเปกขินทรีย์ ธรรมเหล่า
ใดประกอบได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบได้ด้วยขันธ์ ๓
อายตนะ ๑ ธาตุ ๖ และประกอบได้ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางอย่าง.
[๓๒๑] ธรรมเหล่าใด ประกอบได้ด้วยสัทธินทรีย์ วิริยินทรีย์
สตินทรีย์ สมาธินทรีย์ ปัญญินทรีย์ อนัญญตัญญัสสามีตินทรีย์
อัญญินทรีย์ อัญญาตาวินทรีย์ อวิชชา สังขารเพราะอวิชชาเป็นปัจจัย
ธรรมเหล่าใดประกอบได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบได้ด้วย
ขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ และประกอบได้ด้วยขันธ์ ๑ อายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางอย่าง.
[๓๒๒] ธรรมเหล่าใด ประกอบได้ด้วย วิญญาณเพราะสังขาร
เป็นปัจจัย ธรรมเหล่าใดประกอบได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบ
ได้ด้วยขันธ์ ๓ ประกอบได้ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางอย่าง.
[๓๒๓] ธรรมเหล่าใด ประกอบได้ด้วย ผัสสะ เพราะสฬายตนะ
เป็นปัจจัย ธรรมเหล่าใดประกอบได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้น
ประกอบได้ด้วยขันธ์ ๓ อายตะ ๑ ธาตุ ๗ และประกอบได้ด้วยขันธ์ ๑
อายตนะ ๑ ธาตุ ๑ บางอาทิผิด สระอย่าง.
[๓๒๔] ธรรมเหล่าใด ประกอบได้ด้วย เวทนา เพราะผัสสะเป็น
ปัจจัย ธรรมเหล่าใดประกอบได้ด้วยธรรมเหล่านั้น ธรรมเหล่านั้นประกอบ
ได้ด้วยขันธ์ ๓ อายตนะ ๑ ธาตุ ๗ และประกอบได้ด้วยอายตนะ ๑ ธาตุ ๑
บางอย่าง.
[๓๒๕] ธรรมเหล่าใดประกอบได้ด้วย ตัณหา เพราะเวทนาเป็น
ปัจจัย อุปาทานเพราะตัณหาเป็นปัจจัย กัมมภพ ธรรมเหล่าใดประกอบ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 05, 2015

Kamlang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/265/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กษัตริย์มหาศาล พราหมณ์มหาศาล หรือคฤหบดีมหาศาล ไหน
จะดีกว่ากัน.
ภิ. ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ การบริโภคบิณฑบาตที่เขา
ถวายด้วยศรัทธา ของกษัตริย์มหาศาล พราหมณ์มหาศาล หรือ
คฤหบดีมหาศาล นี้ดีกว่า การที่บุรุษมีกำลัง เอาขอเหล็กแดงไฟ
กำลังลุกรุ่งโรจน์โชติช่วง เกี่ยวปากอ้าไว้ แล้วกรอกก้อนเหล็กแดง
ไฟกำลังอาทิผิด ลุกรุ่งโรจน์โชติช่วงเข้าในปาก ก้อนเหล็กแดงนั้นจะพึง
ไหม้ริมฝีปาก... แล้วออกทางทวารเบื้องต่ำ นี้เป็นทุกข์.
พ. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราจะขอบอกเธอทั้งหลาย จะขอ
เตือนเธอทั้งหลาย การที่บุคคลผู้ทุศีล ฯลฯ เป็นดังหยากเยื่อ
บริโภคบิณฑบาตที่เขาถวายด้วยศรัทธา ของกษัตริย์มหาศาล
พราหมณ์มหาศาล หรือคฤหบดีมหาศาล จะดีอย่างไร การที่
บุรุษมีกำลังอาทิผิด อักขระ เอาขอเหล็กแดงไฟกำลังลุกรุ่งโรจน์โชติช่วงเกี่ยวปาก
อ้าไว้ แล้วกรอกก้อนเหล็กแดง ไฟกำลังลุกรุ่งโรจน์โชติช่วงเข้า
ในปาก ก้อนเหล็กแดงนั้นจะพึงไหม้ริมฝีปาก... แล้วออกทางทวาร
เบื้องต่ำ นี้ดีกว่า ข้อนั้นเพราะเหตุไร เพราะ นั้นพึงถึงความตาย
หรือทุกข์ปางตาย มีข้อนั้นเป็นเหตุ แต่ผู้นั้นเมื่อตายไป ไม่พึงเข้า
ถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก เพราะข้อนั้นเป็นปัจจัย ส่วนการที่
บุคคลผู้ทุศีล ฯลฯ เป็นดังหยากเยื่อ บริโภคบิณฑบาตที่เขาถวาย
ด้วยศรัทธาของกษัตริย์มหาศาล พราหมณ์มหาศาล หรือคฤหบดี
มหาศาลนั้น ย่อมเป็นไปเพื่อความฉิบหายมิใช่ประโยชน์ เพื่อทุกข์
สิ้นกาลนาน แก่บุคคลผู้ทุศีลนั้น และบุคคลผู้ทุศีลนั้น เมื่อตายไป
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 03, 2015

Khai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/265/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นายนิรยบาลผูกคอสัตว์นรกด้วยเชือกเหล็กลุก
โพลง แล้วตัดศีรษะโยนลงไปในน้ำร้อน ความกลัว
เกิดแก่เรา เพราะได้เห็นความเป็นไปนี้ ดูก่อนมาตลี
เทพสารถี เราขอถามท่าน สัตว์เหล่านี้ได้ทำบาป
อะไรไว้ จึงมีศีรษะขาดนอนอยู่.
มาตลีเทพสารถีทูลพยากรณ์พระดำรัสถามตามที่
ทราบวิบากแห่งสัตว์ผู้ทำบาปทั้งหลาย แด่พระราชาผู้
ไม่ทรงทราบว่า ข้าแต่พระองค์เป็นจอมประชาชน
สัตว์เหล่าใดเมื่อยังอยู่ในมนุษยโลก มีบาปธรรม จับ
นกมาฆ่า สัตว์เหล่านั้นมีกรรมหยาบช้ากระทำบาป
จึงมีศีรษะขาดนอนอยู่.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ลุญฺจนฺติ ได้แก่ เพิกขึ้น. บทว่า
อถ เวฐยิตฺวา ความว่า เอาเชือกโลหะอันลุกโพลงผูกคอให้ก้มหน้า. บทว่า
อุโณฺหทกสฺมึ ได้แก่ ในน้ำโลหะที่ตั้งมาเป็นกัป. บทว่า ปกิเลทยิตฺวา
ได้แก่ ให้ชุ่ม คือโยนลงไป มีคำอธิบายว่า แน่ะสหายมาตลี นายนิรยบาล
เหล่านี้เอาเชือกเหล็กลุกอาทิผิด สระโพลงผูกคอของสัตว์เหล่าใด แล้วโน้มสรีระซึ่งมี
ประมาณสามคาวุตลง ควั่นคอต้อนไปด้วยท่อนเหล็กลุกโพลง ใส่เข้าในน้ำ
โลหะที่ลุกโพลงแห่งหนึ่ง แล้วยินดีร่าเริง และเมื่อคอนั้นขาดแล้ว มีคออื่น
พร้อมกับศีรษะเกิดขึ้นแก่สัตว์เหล่านั้นอีกทีเดียว สัตว์เหล่านั้นได้กระทำกรรม
อะไรไว้ ความกลัวเกิดแก่ข้าพเจ้า เพราะเห็นสัตว์เหล่านั้น. บทว่า ปกฺขี
คเหตฺวาน วิเหฐยนฺติ ความว่า ข้าแต่มหาราช สัตว์เหล่าใดเมื่อยังอยู่ใน
มนุษยโลก จับนกมาตัดปีกผูกคอฆ่ากินบ้าง ขายอาทิผิด อักขระบ้าง สัตว์เหล่านั้นนั่นมีศีรษะ
ขาดอยู่ในที่นี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 02, 2015

Fai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 8/621/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทำให้มีส่วนต่างกันและกันเสีย. ภายหลังพึงเอาสลากเหล่านั้นทั้งหมดใส่ใน
ขนดจีวรแล้วให้จับตามนัยที่กล่าวแล้วนั่นแล.
ข้อว่า ทุคฺคโหติ ปจฺจุกฺกฑฺฒิตพฺพํ มีความว่า พึงบอกว่า
สลากจับไม่ดี แล้วให้จับใหม่ เพียงครั้งที่ ๓.
ข้อว่า สุคโหติ สาเวตพฺพํ มีความว่า ครั้นเมื่อภิกษุผู้เป็นธรรม
วาทีเกินกว่า แม้รูปเดียว พึงประกาศว่า สลากจับดีแล้ว ก็ภิกษุพวก
ธรรมวาทีเหล่านั้น ย่อมกล่าวอย่างใด, อธิกรณ์นั้น พึงให้ระงับอย่างนั้น
ฉะนี้แล.
หากว่า ภิกษุพวกอธรรมวาทีคงเป็นฝ่ายมากกว่าแม้ถึงครั้งที่ ๓
พึงกล่าวว่า วันนี้เวลาไม่เหมาะ พรุ่งนี้ เราทั้งหลายรู้จักกัน แล้วเลิกเสีย
แล้ว เสาะหาฝ่ายอาทิผิด อักขระธรรมวาที เพื่อประโยชน์แก่การทำลายฝ่ายอลัชชีเสีย
ทำการจับสลากในวันรุ่งขึ้น นี้เป็นการจับสลากอย่างปกปิด.
ก็แล พึงทราบวินัยในการจับสลากอย่างกระซิบบอกที่หู.
ในคำว่า คหิเต วตฺตพฺโพ มีความว่า ถ้าพระสังฆเถระจะจับ
สลากอธรรมวาทีไซร้, พึงเรียนให้ท่านทราบอย่างนี้ว่า ท่านผู้เจริญ ท่าน
เป็นผู้แก่เจริญวัยแล้ว การจับสลากนั่น ไม่ควรแก่ท่าน, อันนี้เป็นอธรรม
วาทีสลาก. พึงแสดงสลากนอกนี้แก่ท่าน, ถ้าท่านจะจับธรรมวาทีสลาก
นั้น, พึงให้. ถ้าว่า ท่านยังไม่ทราบ, ลำดับนั้น พึงเรียนท่านว่า
อย่าบอกแก่ใคร ๆ คำที่เหลือมีนัยดังกล่าวแล้วนั่นแล.
บทว่า เปิดเผย นั้น คือ เปิดเผยเนื้อความนั่นเอง.
 
พระปิฎกธรรม