Khum Khrong
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 11/141/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คำว่า อถโข ภควา อมฺพลฏฺฐิกายํ ราชาคารเก เอกรตฺติวาสํ
อุปคญฺฉิ สทฺธึ ภิกฺขุสงฺเฆน ความว่า ในครั้งนั้นแลพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าเสด็จไปด้วยพุทธลีลานั้น ถึงประตูพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา
โดยลำดับ ทอดพระเนตรดูพระอาทิตย์ มีพระพุทธดำริว่า บัดนี้มิใช่กาล
ที่จะไป พระอาทิตย์ใกล้อัสดงคต จึงเสด็จเข้าประทับพักแรมราตรีหนึ่ง
ณ พระตำหนักหลวง ในพระราชอุทยานอัมพลัฏฐิกา.
ในพระบาลีนั้น อุทยานของพระราชา ชื่อว่า อัมพลัฏฐิกา. ได้ยิน
ว่า ณ ที่ใกล้ประตูแห่งอุทยานอาทิผิด อักขระนั้นมีต้นมะม่วงหนุ่มอยู่ ซึ่งคนทั้งหลายเรียก
ว่า อัมพลัฏฐิกา แม้อุทยานก็พลอย ชื่อว่า อัมพลัฏฐิกา ด้วย เพราะอยู่
ใกล้มะม่วงหนุ่มต้นนั้น. อุทยานนั้นสมบูรณ์ด้วยร่มเงาและน้ำ มีกำแพง
ล้อมรอบ มีประตูประกอบไว้อย่างดี คุ้มครองอาทิผิด อักขระอย่างดี ปานดังหีบฉะนั้น.
ในอุทยานนั้นได้สร้างพระตำหนักอันวิจิตรด้วยประดิษฐกรรม เพื่อเป็นที่
เล่นทรงสำราญพระราชหฤทัย พระตำหนักนั้น จึงเรียกกันว่า พระตำหนัก
หลวง.
คำว่า สุปฺปิโยปิ โข ความว่า แม้สุปปิยปริพาชกแลดูพระอาทิตย์
ณ ที่ตรงนั้นแล้ว ดำริว่า บัดนี้มิใช่กาลที่จะไป ปริพาชกทั้งผู้น้อยและ
ผู้ใหญ่มีอยู่มาก และทางนี้ก็มีอันตรายอยู่มาก ด้วยโจรบ้าง ด้วยยักษ์ร้าย
บ้าง ด้วยสัตว์ร้ายบ้าง ก็พระสมณโคดมนี้เสด็จเข้าไปยังอุทยาน ในสถาน
ที่ประทับของพระสมณโคดม เทวดาย่อมพากันอารักขา อย่ากระนั้นเลย
แม้เราก็จักเข้าไปพักแรมราตรีหนึ่งในอุทยานนี้แล พรุ่งนี้จึงค่อยไป ครั้น
ดำริดังนี้แล้วจึงเข้าไปสู่อุทยานนั้นแล.
ลำดับนั้น ภิกษุสงฆ์แสดงวัตรถวายพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว กำหนด
สถานที่พักของตน ๆ. แม้สุปปิยปริพาชกก็ให้วางบริขารของปริพาชก
พระปิฎกธรรม
1 条评论:
คติธรรม?
…พระเจ้าที่เคร่ง บทนิยาม ด้วยเครื่องมือ ฉะนั้น ไม่มี?
แต่ส่วน พระเจ้าผู้ปลดปล่อย ที่ท่านอาจเป็นผู้นิยามขีดจำกัดของมนุษย์ ท่านจะอย่างไร , แต่ว่า!
ไม่เป็นไร เพราะว่าพระเจ้าพระองค์แรก คือบทโองการแห่งพระมนูธรรม ที่เรียกว่า ‘พระธรรมนูญ’ ,
ถามว่าโองการ ฉะนั้นไปอยู่ที่ไหน คำตอบมักปรากฏโดยเหตุทั่วไป ว่า โองการนั้นไปอยู่กับพระเจ้าแล้ว เพราะพระมนู ผู้เป็นมนูธรรม ได้ปลดปล่อยซึ่งโองการธรรมเช่นนั้นไปแล้ว , เรื่องสรตะ ในขุมทรัพย์ บทอันคือมรดก มนุษย์ผู้ที่จำธำรงสภาพแห่งพระมนูธรรมเอง คงยังแต่ไม่มีปฏิภาณที่เพียงพอที่จะนำโองการนั้น ๆ มาจากพระเจ้า พระสมณะ ท่านจึงประกาศในมนุษย์ ว่า เธอจงเป็นผู้ศึกษา สิกขา คือพระธรรม เพื่อให้ได้ธรรม คือปฏิภาณ และเมื่อได้แล้ว มนุษย์จะนำพาพระโองการนั้น ๆ กลับมา
ในปัจจุบัน บทนิยามพระเจ้า เป็นพระเจ้าที่ไม่เคร่ง ตะกร้าบรรจุโองการ ไม่เคร่ง ก็เท่ากับว่าเป็นเข่ง หรือเป็นกระเช้า ยังไม่เท่ากับเป็นตะกร้าพระธรรม , เพราะบทพระเจ้าที่ไม่เคร่งเป็นดังนี้ เพียงเป็นกระเช้า แห่งเหย้าเรือน เยือนเหย้าที่ไม่ตอบ แลไม่ต่อ แด่การนำเสนอมาซึ่งการคัดสรร คือว่า พระผู้เป็นพระเจ้าอันที่ไม่รู้จักตะกร้า คือพระธรรมนิยาม แต่การรู้จักพระเจ้าคือ เข่ง! ใส่มะกอก ลงในการสร้างความไยดี แก่โองการ ณที่ไม่อาจจะใช่พระธรรมนูญ
เรื่องสภา?
ที่อาจให้บรรจุตะกร้าแห่งโองการ ปรากฏมาโดยตลอดการคัดสรร แค่ในภาคพื้นแห่งพระมนู บทธรรม ลงแต่เพราะ ว่าจากส่วนการปลดปล่อยของมนุษย์ เพราะปัจจุบัน พระเจ้า ไม่ใช่พระเจ้าที่เคร่ง (แต่เป็นพระเจ้าที่เข่ง) และทั้งไม่ใช่พระเจ้าที่ปลดปล่อย อะไร?
ทั้งนั้น ฉะนั้น การคัดสรรปัจจัย หรือปัจจยาการอันเป็นธรรมนาถ จึงยังคงเป็นเรื่องเล็ก ๆ ดั่งกะ เป็นขนมเทียน ๓ชิ้น ที่ไม่มีใครเหลียวแล…
发表评论