星期三, 九月 14, 2016

Saeng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 76/202/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
จักกระทบ หรือพึงกระทบ ที่จักขุ อันเป็นสิ่งที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
นี้เรียกว่า รูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบ้าง รูปทั้งนี้เรียกว่า รูปายตนะ.
รูปที่เรียกว่า รูปายตนะ นั้น เป็นไฉน ?
รูปใด เป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นได้และกระทบได้
ได้แก่ สีเขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียว
ใบไม้ สีม่วง ยาว สั้น ละเอียด หยาบ กลม รี สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม
แปดเหลี่ยม สิบหกเหลี่ยม ลุ่ม ดอน เงา แดด แสงอาทิผิด อักขระสว่าง มืด เมฆ
หมอก ควัน ละออง แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก
แสงแก้วมณี แสงสังข์ แสงมุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน
หรือรูปแม้อื่นใด เป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นได้และกระทบได้
มีอยู่, เพราะปรารภรูปใด จักขุสัมผัสอาศัยจักขุ เกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่
หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภรูปใด เวทนาอันเกิดแก่
จักขุสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จักขุวิญญาณอาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว
หรือเกิดขึ้นอยู่ หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น ฯลฯ จักขุสัมผัส มีรูปใด
เป็นอารมณ์ อาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่ หรือจักเกิดขึ้น หรือพึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่จักขุสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ
จักขุวิญญาณ มีรูปใดเป็นอารมณ์ อาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่
หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น, รูปนี้เรียกว่า รูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุ
บ้าง รูปทั้งนี้เรียกว่า รูปายตนะ.
[๕๒๒] รูปที่เรียกว่า สัททายตนะ นั้น เป็นไฉน ?
เสียงใด อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ ได้แก่
เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง เสียง
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: