turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 46/240/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในคาถานั้น บทว่า อาเสวมาโน ความว่า อบรมอยู่ซึ่งธรรมทั้งสาม
ด้วยอำนาจแห่งฌานหมวดสามและหมวดสี่ ซึ่งอุเบกขาด้วยอำนาจแห่งจตุตถ-
ฌาน.
บทว่า กาเล ความว่า บุคคลเจริญเมตตาแล้ว ออกจากเมตตานั้น
แล้วเสพกรุณา ออกจากกรุณานั้นแล้ว เสพมุทิตา ออกจากมุทิตานั้น หรือ
จากฌานอันไม่มีปีตินอกนี้แล้ว เสพอุเบกขา เรียกว่า เสพอยู่ในกาล. หรือ
เรียกว่าเสพอยู่ในกาลอันผาสุก เพื่อจะเสพ.
บทว่า สพฺเพน โลเกน อวิรุชฺฌมาโน ความว่า ไม่ยินร้ายด้วย
โลกทั้งปวงในทิศทั้งสิบ. จริงอยู่ เพราะความที่ธรรมทั้งหลายมีเมตตาเป็นต้น
อันตนเจริญแล้ว สัตว์ทั้งหลายก็เป็นผู้ไม่น่าเกลียด และปฏิฆะอันก่อความ
โกรธในสัตว์ทั้งหลายย่อมสงบระงับ. เพราะเหตุนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าจึง
กล่าวว่าไม่ยินร้ายด้วยโลกทั้งปวงดังนี้. ความสังเขปในคาถานี้มีเท่านี้. ส่วน
เมตตาทิกถา ข้าพเจ้าได้กล่าวไว้แล้ว ในอรรถกถาธรรมสังคหะ ชื่ออัฏฐสาลินีอาทิผิด อักขระ.
บทที่เหลือ เป็นเช่นกับนัยก่อนนั่นแล.
อัปปมัญญาคาถาวัณณนา จบบริบูรณ์
คาถาที่ ๔๐
คาถาว่า ราคญฺจ โทสํ ดังนี้ มีอุบัติอย่างไร ?
ได้ยินว่า พระปัจเจกพุทธเจ้า ชื่อ มาตังคะ องค์สุดท้ายของพระ-
ปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย อยู่อาศัยพระนครราชคฤห์ ในกาลนั้น เมื่อพระ-
โพธิสัตว์ของพวกเราอุบัติแล้ว เทวดาทั้งหลายพากันมา เพื่อประโยชน์ในการ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/51/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาจารย์นั้น พึงรู้ความแตกต่างแห่งนิมิตอัธยาศัยจริยา และอธิมุติของกุลบุตร
ผู้นั้น ผิว่า กรรมฐานนั้นเป็นของเหมาะ เมื่อเป็นดังนั้น กุลบุตรแม้ผู้นั้น
ประสงค์จะอยู่ในวิหารที่ตนอาทิผิด อักขระอยู่ไซร้ แต่นั้น ก็พึงให้กรรมฐานโดยสังเขป ถ้า
กุลบุตรนั้น ประสงค์อยู่ในวิหารอื่น ก็พึงบอกกรรมฐานพิสดาร พร้อมทั้งข้อ
ที่ควรทำก่อน โดยบอกข้อที่ควรละและข้อที่ควรกำหนดรู้เป็นต้น พร้อมทั้ง
ประเภทจริตโดยบอกกรรมฐานที่เหมาะแก่ราคจริตเป็นต้น กุลบุตรผู้นั้นครั้น
เรียนกรรมฐานพร้อมข้อที่ควรทำก่อน ทั้งประเภทนั้นแล้วบอกลาอาจารย์ งด
เว้น เสนาสนะ ๑๘ ประเภท ที่ท่านกล่าวว่าควรงดเว้น อย่างนี้ว่า
อาวาสใหญ่ อาวาสใหม่ อาวาสเก่า อาวาสใกล้
ทาง อาวาสใกล้ตระพังหิน อาวาสมีใบไม้ อาวาสมี
ดอกไม้ อาวาสมีผลไม้ อาวาสที่คนปรารถนา อาวาส
ที่ใกล้นคร อาวาสที่ใกล้คนเข้าไปตัดไม้ อาวาสที่ใกล้
ไร่นา อาวาสที่มีอารมณ์เป็นข้าศึก อาวาสใกล้ท่าเรือ
อาวาสใกล้ชายแดนอาทิผิด อักขระ อาวาสมีสีมา อาวาสที่เป็นอสัป-
ปายะ อาวาสที่ไม่ได้กัลยาณมิตร บัณฑิตรู้จักสถานที่
๑๘ ประเภทนี้ดังนี้แล้ว พึงเว้นเสียให้ห่างไกลเหมือน
คนเดินทาง เว้นทางมีภัยเฉพาะหน้าฉะนั้น.
แล้วเข้าไปยังเสนาสนะที่ประกอบด้วยองค์ ๕ ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่าง
นี้ว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เสนาสนะประกอบด้วย
องค์ ๕ เป็นอย่างไร ดูก่อนภิกษุทั้งหลายเสนาสนะใน
พระธรรมวินัยนี้ เป็นเสนาสนะที่ไม่ไกลนัก ที่ไม่ใกล้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 9/520/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย แม้นี้ ก็เป็นอาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดง
อาบัติทุกกฏนั้น.
ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าถูกมารดลใจ จึงไม่ได้
ทูลอ้อนวอนพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดำรงอยู่ตลอด
กัป ขอพระสุคตจงทรงดำรงอยู่ตลอดกัป เพื่อประโยชน์แก่ชนมาก เพื่อความ
สุขแก่ชนมาก เพื่ออนุเคราะห์แก่สัตวโลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อ
ความสุขแก่เทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ข้าพเจ้าไม่เห็นเหตุนั้นว่าเป็นอาบัติทุกกฏ
แต่เพราะเชื่อท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้ายอมแสดงอาบัติทุกกฏนั้น .
พระเถระทั้งหลายกล่าวต่อไปว่า ท่านอานนท์ ข้อที่ท่านได้ทำการ
ขวนขวายให้มาตุคามบวชในพระธรรมวินัย ที่พระตถาคตทรงประกาศแล้ว แม้
นี้ก็เป็นอาบัติทุกกฏแก่ท่าน ท่านจงแสดงอาบัติทุกกฏนั้น.
ท่านพระอานนท์กล่าวว่า ท่านเจ้าข้า ข้าพเจ้าทำการขวนขวายให้
มาตุคามบวชในพระธรรมวินัยที่พระตถาคตทรงประกาศแล้วด้วยคิดว่าพระนาง
มหาปชาบดีโคตมีนี้ เป็นพระเจ้าแม่น้าอาทิผิด สระของพระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นผู้ประคับ
ประคอง เลี้ยงดูทรงประทานขีรธาราแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อพระพุทธ-
มารดาทิวงคต ได้ยังพระผู้มีพระภาคเจ้าให้เสวยถัญญธารา ข้าพเจ้าไม่เห็น
เหตุนั้นว่าเป็นอาบัติทุกกฏ แต่เพราะเชื่อท่านทั้งหลาย ข้าพเจ้ายอมแสดงอาบัติอาทิผิด
ทุกกฏนั้น.
เรื่องพระปุราณเถระ
[๖๒๓] สมัยนั้น ท่านพระปุราณะเที่ยวจาริกในชนบททักขิณาคิรี
พร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ รูป คราวเมื่อพระเถระทั้งหลาย
สังคายนาพระธรรมและพระวินัยเสร็จแล้ว ได้พักอยู่ในชนบททักขิณาคิรีตาม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/234/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๒. หัตถินาควรรค
๒. การบำเพ็ญศีลบารมี
๑. สีลวนาคจริยา
ว่าด้วยจริยาวัตรของพระยาช้างสีลวนาค
[๑๑] ในกาลเมื่อเราเป็นกุญชรเลี้ยงมารดาอยู่ใน
ป่าหิมพานต์ ในกาลนั้น ในพื้นแผ่นดินนี้
ไม่มีอะไรที่จะเสมอด้วยศีลคุณของเรา พราน
ป่าพบเราในป่าใหญ่แล้ว ได้กราบทูลแด่พระ-
ราชาว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ช้างมงคลอัน
สมควร เป็นช้างพระที่นั่งทรง มีอยู่ในป่าใหญ่
อันการจับช้างนั้นไม่ต้องขุดคู แม้การปักเสา
ตะลุงและการขุดหลุมอาทิผิด อักขระลวงก็ไม่ต้อง ในขณะที่
จับเข้าที่งวงเท่านั้น ช้างนั้นก็จะมา ณ ที่นี้เอง
พระเจ้าข้า ฝ่ายพระราชาได้ทรงฟังคำของพราน
ป่านั้นแล้วทรงดีพระทัย ทรงส่งควาญช้างซึ่ง
เป็นอาจารย์ผู้ฉลาดศึกษาดีแล้ว ควาญช้างนั้น
ไปแล้ว ได้พบช้างกำลังถอนเหง้าอาทิผิด บัวอยู่ใน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 80/264/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ป. ถูกแล้ว.
ส. ถ้าอย่างนั้น ก็ไม่พึงกล่าวว่า บรรดากิเลสวัฏที่
พระอรหันต์ตัดแล้ว ยังมีบางอย่างที่ยังจะต้อง
ตัดอีก น่ะสิ ?
[๒๔๙] ส. พระอรหันต์เสื่อมจากอรหัตผลได้ หรือ ?
ป. ถูกอาทิผิด อักขระแล้ว.
ส. กิจที่ทำแล้ว ต้องกลับสร้างสมอีก มีหรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯ ล ฯ
ส. กิจที่ทำแล้ว ต้องกลับสร้างสมอีก มีหรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
ส. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสว่า การกลับสร้าง
สมกิจที่ทำแล้วไม่มี กิจอื่นที่จำต้องทำอีกก็ไม่มี แก่ภิกษุนั้นผู้
พ้นแล้วโดยชอบ ผู้มีจิตสงบแล้ว บรรดารูป เสียง กลิ่น รส
ผัสสะ ธัมมารมณ์ทุกอย่าง ทั้งที่น่าปรารถนา และไม่น่าปรารถนา
ไม่ยังจิตของท่านผู้คงที่ อันตั้งมั่น หลุดพ้นแล้ว ให้หวั่นไหวได้
ดุจภูเขาศิลาล้วนเป็นแท่งทึบย่อมไม่สะเทือนเพราะลม ฉะนั้น
เพราะภิกษุนั้นย่อมพิจารณาเห็นแต่ความสิ้นไปแห่งจิตนั้น ๆ ดังนี้๑
เป็นสูตรมีอยู่จริง มิใช่หรือ ?
ป. ถูกแล้ว.
๑. วิ. มหา. ๕/๔
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 80/455/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 5/288/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระบัญญัติ
๘๗. ๒. อนึ่ง เหล่าภิกษุณีใด สองรูป มีผ้าลาดและผ้าห่มผืน
เดียวกันนอน เป็นปาจิตตีย์.
เรื่องภิกษุณี ๒ รูป จบ
สิกขาบทวิภังค์
[๒๖๒] บทว่า อนึ่ง. . .ใด ความว่า ผู้ใด คือ ผู้เช่นใด. . .
ที่ชื่อว่า เหล่าภิกษุณี ได้แก่ เหล่าภิกษุณีที่เรียกกันว่าภิกษุณีอุป-
สัมบัน.
พากย์ว่า สองรูปมีผ้าลาดและผ้าห่มผืนอาทิผิด สระเดียวกันนอน นั้น คือ
ลาดก็ผืนนั้น ห่มก็ผืนนั้น ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
บทภาชนีย์
ติกะปาจิตตีย์
[๒๖๓] ผ้าลาดและผ้าห่มผืนเดียวกันภิกษุณีสำคัญว่า ผ้าลาดและ
ผ้าห่มผืนเดียวกันนอน ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
ผ้าลาดและผ้าห่มผืนเดียวกัน ภิกษุณีสงสัย นอน ต้องอาบัติปาจิตตีย์
ผ้าลาดและผ้าห่มผืนเดียวกัน ภิกษุณีสำคัญว่า ผ้าลาดและผ้าห่มต่าง
ผืนกัน ต้องอาบัติปาจิตตีย์.
จตุกกะทุกกฏ
ผ้าลาดผืนเดียวกัน ผ้าห่มต่างผืน๑ ต้องอาบัติทุกกฏ.
ผ้าลาดต่างผืน ผ้าห่มผืนเดียวกัน๒ ต้องอาบัติทุกกฏ.
๑. ยุ ม. ผ้าลาดผืนเดียวกัน สำคัญว่าเป็นผ้าห่มต่างผืนกัน
๒. ยุ ม. ผ้าลาดต่างผืน สำคัญว่าเป็นผ้าห่มผืนเดียวกัน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 5/90/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทรงติเตียนแล้วบัญญัติสิกขาบท
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียนว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เหตุไฉน
ภิกษุณีจัณฑกาลีถูกตัดสินให้แพ้ในอธิกรณ์เรื่องหนึ่งแล้วจึงได้โกรธ ขัดใจ
กล่าวอย่างนี้ว่า พวกภิกษุณีถึงฉันทาคติ โทสาคติ โมหาคติ และภยาคติ
ดังนี้เล่า การกระทำของนางนั่น ไม่เป็นไปเพื่อความเลื่อมใสของชุมชนที่ยังไม่อาทิผิด สระ
เลื่อมใส . . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลภิกษุณีทั้งหลายจงยกสิกขาบทนี้ขึ้นแสดง
อย่างนี้ ว่าดังนี้ :-
พระบัญญัติ
๑๙. ๘. อนึ่ง ภิกษุณีใด ถูกตัดสินให้แพ้ในอธิกรณ์เรื่อง
หนึ่งแล้วโกรธ ขัดใจ กล่าวอย่างนี้ว่า พวกภิกษุณีถึงฉันทาคติ
โทสาคติ โมหาคติ และภยาคติ ดังนี้ ภิกษุณีนั้น อันภิกษุณีทั้งหลาย
พึงว่ากล่าวอย่างนี้ว่า แม่เจ้าถูกตัดสินให้แพ้ในอธิกรณ์เรื่องหนึ่งแล้ว
อย่าโกรธ ขัดใจ กล่าวอย่างนี้ว่า พวกภิกษุณีถึงฉันทาคติ โทสาคติ
โมหาคติ และภยาคติ ดังนี้ แม่เจ้าต่างหาก ถึงฉันทาคติบ้าง โทสาคติ
บ้าง โมหาอาทิผิด สระคติบ้าง ภยาคติบ้าง และภิกษุณีนั้น อันภิกษุณีทั้งหลาย
ว่ากล่าวอยู่อย่างนี้ ยังยกย่องอยู่อย่างนั้นเทียว ภิกษุณีนั้น อันภิกษุณี
ทั้งหลายพึงสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบ เพื่อให้สละกรรมนั้น
หากเธอถูกสวดสมนุภาสกว่าจะครบสามจบอยู่ สละกรรมนั้นเสียได้
การสละได้อย่างนั้น นั่นเป็นการดี หากเธอไม่สละ ภิกษุณีแม้นี้ก็
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/224/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จะไม่เสด็จมาน่ะสิ. เจ้าลิจฉวีอีกพวกหนึ่งตรัสว่า ธรรมดาพระพุทธเจ้า ทรง
เอ็นดูสัตว์ เหตุไร จะไม่เสด็จมาเล่า. ก็พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น บัดนี้
ประทับอยู่กรุงราชคฤห์ พระเจ้าพิมพิสารทรงอุปฐากอยู่ เกรงท้าวเธอจะไม่ให้
เสด็จมา. ตรัสว่า ถ้าอย่างนั้นเราจะทูลพระเจ้าพิมพิสารให้ทรงเข้าพระทัยแล้ว
นำพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมา แล้วทรงมอบเครื่องบรรณาการเป็นอันมากส่ง
เจ้าลิจฉวีสองพระองค์ พร้อมด้วยกองกำลังขนาดใหญ่ไปยังราชสำนักพระเจ้า-
พิมพิสาร โดยสั่งว่า ขอท่านทูลพระเจ้าพิมพิสารให้เข้าพระทัยแล้ว นำพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมา เจ้าลิจฉวีทั้งสองพระอาทิผิด สระองค์เสด็จไปถวายเครื่องบรรณาการ
แด่พระเจ้าพิมพิสาร แล้วแจ้งให้ทรงทราบเรื่องราวแล้วทูลว่า ข้าแต่พระมหา-
ราชเจ้า ขอพระองค์ทรงพระกรุณาโปรดส่งพระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จมายังนคร
ของข้าพระองค์ด้วยเถิด. พระราชาไม่ทรงรับรองตรัสว่า พวกท่านทรงรู้เอาเอง
เถิด. เจ้าลิจฉวีก็ทูลรับว่า ดีละ พระเจ้าข้า แล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาค-
เจ้า ถวายบังคมแล้วกราบทูลอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ภัย ๓ อย่าง
เกิดขึ้นในนครของข้าพระองค์ ถ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าฟังเสด็จมาไซร้ ความ
สวัสดีก็จะพึงมีแก่พวกข้าพระองค์ พระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณา
ว่าเมื่อตรัสรัตนสูตรในกรุงเวสาลีการอารักขาจักแผ่ไปแสนโกฏิจักรวาลอาทิผิด อักขระ จบสูตร
สัตว์ ๘๔,๐๐๐ จักตรัสรรู้ธรรม แล้วจึงทรงรับนิมนต์. ครั้งนั้น พระเจ้า-
พิมพิสารทรงสดับข่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับนิมนต์แล้ว โปรดให้
โฆษณาไปในพระนครว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับนิมนต์เสด็จไปกรุงเวสาลี
แล้ว เสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
พระองค์ทรงรับ จะเสด็จไปกรุงเวสาลีหรือพระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า
ถวายพระพร มหาบพิตร. ท้าวเธอทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ถ้าอย่างนั้น
โปรดทรงรอจนกว่าจะจัดแจงหนทางถวายนะ พระเจ้าข้า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/238/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ตระกูลอุโบสถก็มี จากตระกูลช้างฉัททันต์ก็มี ถ้ามาจากตระกูลอุโบสถก็เป็นพี่
ของช้างทั้งหมด ถ้ามาจากตระกูลฉัททันต์ ก็เป็นน้องของช้างทั้งหมด มีการ
ศึกษาที่ศึกษาแล้ว ฝึกมาแล้ว ช้างนั้นพาบริษัทประมาณ ๑๒ โยชน์ ตระเวน
ทั่วชมพูทวีป ไปแล้วกลับมาเอง ก่อนอาหารเช้านั่นแล.
อสัสรัตนะ ก็เกิดติดตามหัตถิอาทิผิด อักขระรัตนะแม้นั้นนั่นแล คือม้าขาวปลอด
เท้าแดง ศีรษะดังกา มีผมดังหญ้ามุงกระต่าย มาจากตระกูลอาทิผิด อักขระพระยาม้าพลาหก.
ในข้อนี้ คำที่เหลือก็เช่นเดียวกับหัตถิรัตนะนั่นแหละ.
มณีรัตนะ ก็เกิดติดตามอัสสรัตนะแม้นั้น มณีนั้นเป็นแก้วไพฑูรย์
งามโดยธรรมชาติ แปดเหลี่ยม เจียระไนอย่างดี โดยยาวก็เสมือนดุมแห่งจักร
มาจากเวปุลลบรรพต มณีนั้น ยามมืดแม้ที่ประกอบด้วยองค์ ๔ อยู่ถึงยอดธง
ของพระราชา ก็ส่องแสงสว่างไปตั้งโยชน์ ซึ่งโดยแสงสว่าง พวกมนุษย์สำคัญ
ว่ากลางวัน ก็ประกอบการงาน มองเห็นโดยที่สุดแม้กระทั่งมดดำมดแดง.
อิตถีรัตนะ ก็เกิดติดตามมณีรัตนะแม้นั้นแล คือสตรีที่เป็นพระอัคร-
มเหสีโดยปกติหรือมาจากอุตตรกุรุทวีป หรือจากราชตระกูลมัททราช เว้นจาก
โทษ ๖ มีสูงเกินไปเป็นต้น ล่วงวรรณะของมนุษย์ แต่ไม่ถึงวรรณะทิพย์ ซึ่ง
สำหรับพระราชา ก็จะมีกายอุ่นเมื่อยามเย็น จะมีกายเย็นเมื่อยามร้อน มีสัมผัส
เหมือนปุยนุ่นที่ชีแล้ว ๗ ครั้ง กลิ่นจันทน์จะโชยออกจากกาย กลิ่นอุบลจะโชย
ออกจากปาก และเป็นผู้ประกอบด้วยคุณสมบัติเป็นอันมาก มีตื่นก่อนเป็นต้น.
คหปตรัตนะ ก็เกิดติดตามอิตถีรัตนะแม้นั้นแล ก็คือเศรษฐี ผู้ทำ
การงานโดยปกติของพระราชา ซึ่งพอจักรรัตนะเกิดขึ้น ก็ปรากฏทิพยจักษุ
เห็นขุมทรัพย์ได้ประมาณโยชน์หนึ่งโดยรอบ ทั้งที่ไม่มีเจ้าของ ทั้งที่มีเจ้าของ
ก็เข้าเฝ้าพระราชาทูลปรารถนาว่า ข้าแต่เทวราช ขอพระองค์โปรดทรงวาง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 76/202/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จักกระทบ หรือพึงกระทบ ที่จักขุ อันเป็นสิ่งที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้
นี้เรียกว่า รูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุบ้าง รูปทั้งนี้เรียกว่า รูปายตนะ.
รูปที่เรียกว่า รูปายตนะ นั้น เป็นไฉน ?
รูปใด เป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นได้และกระทบได้
ได้แก่ สีเขียวคราม สีเหลือง สีแดง สีขาว สีดำ สีหงสบาท สีคล้ำ สีเขียว
ใบไม้ สีม่วง ยาว สั้น ละเอียด หยาบ กลม รี สี่เหลี่ยม หกเหลี่ยม
แปดเหลี่ยม สิบหกเหลี่ยม ลุ่ม ดอน เงา แดด แสงอาทิผิด อักขระสว่าง มืด เมฆ
หมอก ควัน ละออง แสงจันทร์ แสงอาทิตย์ แสงดาว แสงกระจก
แสงแก้วมณี แสงสังข์ แสงมุกดา แสงแก้วไพฑูรย์ แสงทอง แสงเงิน
หรือรูปแม้อื่นใด เป็นสี อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นได้และกระทบได้
มีอยู่, เพราะปรารภรูปใด จักขุสัมผัสอาศัยจักขุ เกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่
หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภรูปใด เวทนาอันเกิดแก่
จักขุสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ จักขุวิญญาณอาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว
หรือเกิดขึ้นอยู่ หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น ฯลฯ จักขุสัมผัส มีรูปใด
เป็นอารมณ์ อาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่ หรือจักเกิดขึ้น หรือพึง
เกิดขึ้น ฯลฯ เวทนาอันเกิดแต่จักขุสัมผัส ฯลฯ สัญญา ฯลฯ เจตนา ฯลฯ
จักขุวิญญาณ มีรูปใดเป็นอารมณ์ อาศัยจักขุเกิดขึ้นแล้ว หรือเกิดขึ้นอยู่
หรือจักเกิดขึ้น หรือพึงเกิดขึ้น, รูปนี้เรียกว่า รูปบ้าง รูปายตนะบ้าง รูปธาตุ
บ้าง รูปทั้งนี้เรียกว่า รูปายตนะ.
[๕๒๒] รูปที่เรียกว่า สัททายตนะ นั้น เป็นไฉน ?
เสียงใด อาศัยมหาภูตรูป ๔ เป็นสิ่งที่เห็นไม่ได้แต่กระทบได้ ได้แก่
เสียงกลอง เสียงตะโพน เสียงสังข์ เสียงบัณเฑาะว์ เสียงขับร้อง เสียง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 17/347/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อังคณกิเลสที่ ๗
[ ๖๓ ] ท่านครับ ภิกษุลางรูปในพระธรรมวินัยนี้ พึงเกิดความ
ปรารถนาอย่างนี้ว่า ถ้ากระไรหนอ เราเท่านั้นควรฉันในโรงฉันแล้ว
อนุโมทนา ภิกษุอื่นควรฉันในอาทิผิด สระโรงฉันแล้วไม่ต้องอนุโมทนา นี้เป็นฐานะ
ที่จะมีได้. ภิกษุอื่นพึงฉันในโรงฉันแล้วอนุโมทนา ภิกษุนั้นฉันในโรงฉัน
แล้วไม่ต้องอนุโมทนา นี้เป็นฐานะที่จะมีได้. เธอก็จะโกรธไม่แช่มชื่น
เพราะคิดว่า ภิกษุอื่นฉันในโรงฉันแล้วอนุโมทนา เราฉันในโรงฉันแล้ว
ไม่ได้อนุโมทนา ความโกรธและอาทิผิด สระความไม่แช่มชื่น ทั้ง ๒ นี้ชื่อว่า อังคณะ.
อังคณกิเลสที่ ๘
[๖๔] ท่านครับ ภิกษุลางรูปในพระธรรมวินัยนี้ พึงเกิดความ
ปรารถนาอย่างนี้ว่า ถ้ากระไรหนอ เราเท่านั้นควรแสดงธรรมแก่ภิกษุ
ทั้งหลายผู้ไปถึงอาราม ภิกษุอื่นไม่ควรแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ไปถึง
อารามเลย นี้เป็นฐานะที่จะมีได้. ภิกษุอื่นพึงแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายผู้
ไปถึงอาราม ภิกษุนั้นไม่ต้องแสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ไปถึงอาราม
นี้เป็นฐานะที่จะมีได้. เธอก็จะโกรธไม่แช่มชื่น เพราะคิดว่า ภิกษุอื่นแสดง
ธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายผู้ไปถึงอาราม เราไม่ได้แสดงธรรมแก่ภิกษุทั้งหลาย
ผู้ไปถึงอาราม ความโกรธและความไม่แช่มชื่น ทั้ง ๒ นี้ชื่อว่า อังคณะ.
อังคณกิเลสที่ ๙
[๖๕] ท่านครับ ภิกษุลางรูปในพระธรรมวินัยนี้ พึงเกิดความ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 84/247/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็หรือว่า มนินทรีย์ กำลังเกิดในภูมิใด, จักขุนทรีย์ก็กำลังเกิด
ในภูมินั้น ใช่ไหม ?
ในอรูปภูมิ มนินทรีย์กำลังเกิดในภูมินั้น แต่จักขุนทรีย์ไม่ใช่
กำลังเกิดในภูมินั้น. ในปัญจโวการภูมิ มนินทรีย์กำลังเกิด และจักขุน-
ทรีย์ก็กำลังเกิดในภูมินั้น.
จบ จักขุนอาทิผิด สระทริยมูละ สัทธินทริย ฯลฯ ปัญญินทริย มนินทริยมูลี
จักขุนทริยมูล จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 84/263/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จักขุเกิดได้ กำลังเกิด โสตินทรีย์กำลังเกิด และจักขุนทรีย์กำลังเกิด
แก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น.
จบ จักขุนทริยมูละ โสตินทริยมูลี
จักขุนทริยมูละ ฆานินทริยมูลี:-
[๕๕๙] จักขุนทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, ฆานินทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่มีจักขุเกิดได้ แต่ฆานะเกิดไม่ได้ กำลังเกิดอาทิผิด สระอยู่ จักขุนทรีย์
กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น และฆานินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่
บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลที่มีจักขุเกิดได้ และที่มีฆานะเกิดได้
กำลังเกิดอยู่ จักขุนทรีย์กำลังเกิด และฆานินทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคล
เหล่านั้นในภูมินั้น.
ก็หรือว่าฆานินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลในภูมิใด, จักขุนทรีย์ก็
กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลที่มีฆานะเกิดได้ แต่จักขุนทรีย์เกิดไม่ได้ กำลังเกิดอยู่
ฆานินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น แต่จักขุนทรีย์ไม่ใช่
กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมินั้น, บุคคลที่มีฆานะเกิดได้ และที่มี
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/237/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
วาระที่มี ปุเรชาตปัจจัยเป็นมูล พึงแสดงให้พิสดารเหมือนอย่าง
วาระที่มี เหตุปัจจัยเป็นมูล.
[๑๕๔] เพราะอาเสวนปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน
นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉา-
ชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย
มี ๓ วาระ ในนมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ ในนวิปปยุตตปัจจัย มี ๓
วาระ.
[๑๕๕] เพราะอาเสวนปัจจัย เหตุปัจจัย ในนอธิปติปัจจัย มี ๓
วาระ ... ในนปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี๓ วาระ
ในนกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ ในนวิปปยุตต-
ปัจจัย มี ๓ วาระ.
วาระที่มี อาเสวนปัจจัยเป็นมูล แสดงเหมือนกับวาระที่มี เหตุ-
ปัจจัยเป็นมูล.
[๑๕๖] เพราะกัมมปัจจัย ในนเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ... ใน
นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอนันตร-อาทิผิด สระ
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอัญญมัญญ-
ปัจจัย มี ๕ วาระ ในนอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ในนปุเรชาตปัจจัย
มี ๗ วาระ ในนปัจฉาชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาเสวนปัจจัย มี ๙
วาระ ในนวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ ในนอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/280/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทายัชชภาณวาร
พระราหุลกุมารทรงผนวชเป็นสามเณร
[๑๑๘] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในพระนครราชคฤห์
ตามพระพุทธาภิรมย์แล้ว เสด็จจาริกไปทางพระนครกบิลพัสดุ์ เสด็จเที่ยวจาริก
โดยอาทิผิด อักขระลำดับถึงพระนครกบิลพัสดุ์แล้ว ทราบว่า พระองค์ประทับอยู่ ณ นิโคร-
ธาราม เขตพระนครกบิลพัสดุ์ สักกชนบทนั้น ครั้นเวลาเช้า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงอันตรวาสกแล้ว ทรงถือบาตรจีวร เสด็จพระพุทธดำเนินไปสู่พระราช
นิเวศน์ของพระเจ้าสุทโธทนศากยะ ครั้นแล้วประทับนั่งเหนือพระพุทธอาสน์
ที่เขาปูลาดถวาย ครั้งนั้นพระเทวีราหุลมารดาได้มีพระเสาวนีแก่ราหุลกุมารว่า
ดูก่อนราหุล พระสมณะนั้นเป็นบิดาของเจ้า เจ้าจงไปทูลขอทรัพย์มรดกต่อ
พระองค์ จึงราหุลกุมารเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นถึงแล้วได้ประทับ
ยืนเบื้องพระพักตร์พระผู้มีพระภาคเจ้า พลางกราบทูลว่า ข้าแต่พระสมณะ
พระฉายาของพระองค์เป็นสุข ทันใดนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จอุฏฐาการ
จากพระพุทธอาสน์แล้วกลับไป จึงราหุลกุมารได้ตามเสด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า
ไปเบื้องหลัง ๆ พลางทูลขอว่า ข้าแต่พระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์
มรดกแก่หม่อมฉัน ข้าแต่อาทิผิด อักขระพระสมณะ ขอได้โปรดประทานทรัพย์มรดกแก่
หม่อมฉัน .
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัส เรียกท่านพระสารีบุตรมารับสั่งว่า
ดูก่อนสารีบุตร ถ้าเช่นนั้น เธอจงให้ราหุลกุมารบวช.
ท่านพระสารีบุตรทูลถามว่า ข้าพระพุทธเจ้าจะให้ราหุลกุมารทรงผนวช
อย่างไร พระพุทธเจ้าข้า ?
พระปิฎกธรรม