turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 58/702/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ความเสมอกันเพราะอาหาร คือต่างก็มีสัตว์
ตัวเมียและอาหารคนละชนิดไม่เหมือนกัน
ภายหลัง เมื่อสุนัขจิ้งจอกยุยงทำลายความ
สนิทสนมจนถึงให้ตาย ท่านจงเห็นเหตุนั้น
ซึ่งฉันคิดไว้ถูกต้องแล้ว.
พวกสุนัขจิ้งจอกพากันกัดกินโคผู้และ
ราชสีห์ เพราะคำส่อเสียดใด คำส่อเสียด
นั้น ย่อมเป็นไปถึงตัดมิตรภาพ เพราะเนื้อ
คือสุนัขจิ้งจอกเป็นเหตุ ดุจดาบคมอาทิผิด อักขระ ฉะนั้น.
ดูก่อนนายสารถี ท่านจงดูการนอนตาย
ของสัตว์ทั้งสองนี้ ผู้ใดเชื่อถือถ้อยคำของ
คนส่อเสียด ผู้มุ่งทำลายความสนิทสนม ผู้
นั้นจะต้องนอนตายอย่างนี้.
ดูก่อนนายสารถี นรชนเหล่าใดไม่เชื่อ
ถือถ้อยคำของตนส่อเสียด ผู้มุ่งทำลายความ
สนิทสนม นรชนเหล่านั้นย่อมได้ประสบ
สุขเหมือนคนไปสวรรค์ ฉะนั้น.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 53/187/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถ้อยคำที่พระศาสดาทรงติเตียน ภิกษุผู้มีจิตไม่สงบใน
ภายใน พากันเรียนทำแต่ศิลปะที่ไม่ควรทำ มีการ
ประดับร่มเป็นต้น ย่อมไม่หวังประโยชน์ในทางบำเพ็ญ
สมณธรรม. ภิกษุทั้งหลายผู้มุ่งแต่สิ่งของดี ๆ ให้มาก
จึงนำเอาดินเหนียวบ้าง น้ำมันบ้าง จุรณเจิมบ้าง น้ำ
บ้าง ที่นั่งบ้าง อาหารบ้าง ไม้สีฟันบ้าง ผลมะขวิดบ้าง
ดอกไม้บ้าง ของเคี้ยวบ้าง บิณฑบาตบ้าง ผลมะขาม
ป้อมบ้าง ไปให้แก่คฤหัสถ์ทั้งหลาย. ภิกษุทั้งหลายพา
กันประกอบเภสัช เหมือนพวกหมอรักษาโรค ทำกิจน้อย
ใหญ่อย่างคฤหัสถ์ ตกแต่งร่างกายเหมือนหญิงแพศยา
ประพฤติตนเหมือนกษัตริย์ผู้เป็นใหญ่ บริโภคอามิสด้วย
อุบายเป็นอันมาก คือทำให้คนหลงเชื่อ หลอกลวง เป็น
พยานโกงตามโรงศาล ใช้เล่ห์เหลี่ยมต่าง ๆ อย่าง
นักเลง. เที่ยวแส่หา (ปัจจัย) ในการอ้างเลศ การเลียบ
เคียง การปริกัป มีการเลี้ยงชีพเป็นเหตุ ใช้อุบายรวบอาทิผิด อักขระ-
รวมทรัพย์ไว้เป็นอันมาก ย่อมยังบริษัทให้บำเรอตน
เพราะเหตุแห่งการงาน แต่มิให้บำรุงโดยธรรม เที่ยว
แสดงธรรมตามถิ่นต่าง ๆ เพราะเหตุแห่งลาภ มิใช่มุ่ง
ประโยชน์. ภิกษุเหล่านั้นทะเลาะวิวาทกันเพราะเหตุแห่ง
ลาภสงฆ์ เป็นผู้เหินห่างจากอริยสงฆ์ เลี้ยงชีวิตด้วยการ
อาศัยลาภของผู้อื่น ไม่มีหิริ ไม่ละอาย. จริงอย่างนั้น
ภิกษุบางพวกไม่ประพฤติตามสมณธรรมเสียเลย เป็น
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/214/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๘๕๕] ก็พระนางรุจาราชธิดานั้น ประดับด้วย
เครื่องสรรพาภรณ์เสด็จไป ณ ท่ามกลางหญิงสหาย
เพียงดังสายฟ้าแลบออกจากเมฆ เสด็จเข้าสู่จันทก-
ปราสาท พระราชธิดาเสด็จเข้าไปเฝ้าพระเจ้าวิเทหราช
ถวายบังคมพระชนกนาถ ผู้ทรงยินดีในวินัย แล้ว
ประทับอยู่ ณ ตั่งอันวิจิตรด้วยทองคำส่วนหนึ่ง.
[๘๕๖] ก็พระเจ้าวิเทหราช ทอดพระเนตรเห็น
พระนางรุจาราชธิดาผู้ประทับอยู่ท่ามกลางหญิงสหาย
ซึ่งเป็นดังสมาคมแห่งนางเทพอัปสร จึงตรัสถามว่า
ลูกหญิงยังรื่นรมย์อยู่ในปราสาทและยังประพาสอยู่ใน
อุทยานเล่นน้ำในสระโบกขรณีเพลิดเพลินอยู่หรือ เขา
ยังนำของเสวยมากอย่างมาให้ลูกหญิงเสมอหรือ ลูก-
หญิงและเพื่อนหญิงของลูก ยังเก็บดอกไม้ต่างๆ ชนิด
มาร้อยพวงมาลัยและยังช่วยกันทำเรือนหลังเล็ก ๆ เล่น
เพลิดเพลินอยู่หรือ ลูกหญิงขาดแคลนอะไรบ้าง เขา
รีบนำสิ่งของมาให้ทันใจลูกอยู่หรือ ลูกรักผู้มีพักตร์
อันผ่องใส จงบอกความชอบใจแก่พ่อเถิด แม้อาทิผิด อาณัติกะสิ่งนั้น
จะเสมอดวงจันทร์ พ่อก็จักให้เกิดแก่ลูกจนได้.
[๘๕๗] พระนางรุจาราชธิดา ได้สดับพระดำรัส
ของพระเจ้าวิเทหราชแล้ว กราบทูลว่า ข้าแต่พระมหา
ราชา กระหม่อมฉันย่อมได้สิ่งอาทิผิด สระของทุก ๆ อย่างในสำนัก
ของทูลกระหม่อม พรุ่งนี้ ๑๕ ค่ำ เป็นวันทิพย์ ขอราช
บุรุษทั้งหลายจงนำพระราชทรัพย์พันหนึ่งมาให้กระ-
หม่อมฉันจักให้ทานแก่วณิพกทั้งปวงตามที่ให้มาแล้ว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/188/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บ่นเรียกหาว่า พ่อสาม ๆ เที่ยวอยู่ในป่าใหญ่ ลูกศร
คือความโศก ที่สองนี้แหละ ยังหัวใจของข้าพระองค์
ให้หวั่นไหว เพราะข้าพระองค์ไม่ได้เห็นท่านทั้งสอง
ผู้จักษุบอด ข้าพระองค์เห็นจักละเสียซึ่งชีวิต.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า. อุสามตฺตํ ได้แก่ พอเป็นอาหาร
ได้ยินว่า คำว่า อุสา เป็นชื่อของโภชนาหาร ความว่า บิดามารดาทั้งสอง
นั้นยังมีโภชนาหาร. บทว่า อถ สาหสฺส ชีวิตํ ความว่า มีชีวิต อยู่ได้
ประมาณหกวัน พระมหาสัตว์กล่าวคำนี้ หมายถึงผลาผลที่นำมาตั้งไว้ อีก
อย่างหนึ่ง บทว่า อุสา ได้แก่ ไออุ่น ด้วยบทนั้น พระมหาสัตว์แสดง
ความนี้ว่า ในร่างกายของบิดามารดาทั้งสองนั้นพอมีไออุ่นอาทิผิด อาณัติกะอยู่ เมื่อเป็นเช่นนี้
ก็จะมีชีวิตอยู่ได้หกวัน ด้วยผลาผลที่ข้าพระองค์นำมา. บทว่า มริสฺสเร
แปลว่า จักตาย ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ความทุกข์เพราะถูกพระองค์ยิงนี้ ถึง
เป็นความทุกข์ก็จริง แต่ไม่เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ เพราะเหตุไรจึง
กล่าวอย่างนี้. บทว่า ปุมุนาอาทิผิด สระ ได้แก่ อันบุรุษ ความว่า ความทุกข์เห็น
ปานนั้นนี้ อันบุรุษพึงได้ประสบทั้งนั้น ก็เพราะความทุกข์ที่ข้าพระองค์ไม่ได้เห็น
คุณแม่ปาริกานั้น เป็นความทุกข์ของข้าพระองค์ ยิ่งกว่าความทุกข์เพราะถูก
พระองค์ ยิงนี้ร้อยเท่าพันเท่าแสนเท่า. บทว่า จิรํ รตฺตาย รุจฺจติ ความว่า
จักอาทิผิด อักขระร้องไห้ตลอดราตรีนาน. บทว่า อฑฺฒรตฺเต ได้แก่ ในสมัยกึ่งราตรี.
บทว่า รตฺเต วา ได้แก่ ในสุดท้ายราตรี. บทว่า อวสุสฺสติ ได้แก่ จักเหือด
แห้ง อธิบายว่า จักเหือดแห้งไปเหมือนแม่น้ำอาทิผิด อักขระน้อยในฤดูร้อน. บทว่า อุฏาน-
ปาทจริยาย ความว่า ข้าแต่พระราชาผู้ใหญ่ ข้าพระองค์ลุกขึ้นคืนละสองสามครั้ง
หรือวันละสองสามครั้ง ปฏิบัติรับใช้บิดามารดาทั้งสองนั้น นวดมือเท้าของท่าน
ทั้งสองนั้น ด้วยความหมั่นเพียรของข้าพระองค์ บัดนี้ ท่านทั้งสองผู้มีจักษุมืด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/182/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยอกุศลขันธ์ทั้งหลาย และมหาภูตรูป
ทั้งหลายเกิดขึ้น, จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ทั้งหลายเกิดขึ้น เพราะ
วิปปยุตตปัจจัย.
[๗๓] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะอัตถิอาทิผิด อักขระปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์เกิดขึ้น ฯ ล ฯ.
อัตถิปัจจัย แสดงได้ ๙ วาระ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.
[๗๔] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะนัตถิปัจจัย ฯ ล ฯ
เพราะวิคตปัจจัย
นัตถิปัจจัย ก็ดี วิคตปัจจัย ก็ดี แสดงได้ ๓ วาระ เหมือนกับ
อารัมมณปัจจัย.
[๗๕] กุศลธรรม อาศัยกุศลธรรมเกิดขึ้น เพราะอวิคตปัจจัยอาทิผิด อักขระ
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลขันธ์เกิดขึ้น ฯ ล ฯ.
อวิคตปัจจัย แสดงได้ ๙ วาระ เหมือนกับ สหชาตปัจจัย.
ปัจจัยทั้ง ๒๓ เหล่านี้ ผู้สาธยายพึงจำแนกให้พิสดาร.
การนับจำนวนวาระในอนุโลมนัย
[๗๖] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ. ในอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ ในสมนันตร-
ปัจจัย มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๙ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/227/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เพราะเหตุปัจจัย เพราะฉะนั้น เว้นเหตุปัจจัยเสีย โมหมูลจิตก็เกิดได้
เพราะปัจจัยอันเหมาะแก่ตนที่เหลือในธรรมที่ตรงกันข้ามทั้งหมด. บัณฑิต
พึงทราบเนื้อความไปตามนัยนี้. คำนี้ว่า อเหตุกํ วิปากาพฺยากตํ พึง
ทราบด้วยอำนาจจิตที่ยังรูปให้เกิดขึ้น แม้ในบทอื่นที่เช่นนี้ก็นัยนี้เหมือน
กัน.
ใน นอธิปติปัจจัย แม้อธิบดี จะไม่ได้อธิปติปัจจัย เพราะไม่มี
อธิบดีที่สองเกิดร่วมกับตนก็จริง แต่อธิบดีจะไม่มีอธิบดีเหมือนโมหะที่
สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและอุทธัจจะ เป็นอเหตุกะหาได้ไม่. ก็ในเวลาที่กุศล-
ธรรมเป็นต้น ไม่ทำฉันทะเป็นต้น ให้เป็นอธิบดีเกิดขึ้น กุศลธรรม
เป็นต้นทั้งหมดไม่เป็นอธิบดี เพราะฉะนั้น เทศนามีอาทิว่า เอกํ ขนฺธํ
ปฏิจฺจ ตโย ขนฺธา นี้ พึงทราบว่า พระองค์เทศนาไว้ด้วยอำนาจเทศนา
มีการรวบรวมไว้ซึ่งอธิบดีทั้งหมด ไม่ใช่ยกขึ้นเพียงอธิบดีแยกกันไป
เหมือนโมหะ. ใน นอนันตรปัจจัย และ นสมนันตรอาทิผิด อักขระปัจจัย มี รูป
เท่านั้นเป็นปัจจยุบบัน เหมือนใน นอารัมมณปัจจัย. เพราะเหตุ
นั้นท่านจึงกล่าวว่า นอารมฺมณปจฺจยสทิสํ. สหชาตปัจจัยขาดหายไป.
นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคตปัจจัยก็ขาดหายไปเหมือนสหชาต-
ปัจจัย. เพราะเหตุไร ? เพราะปัจจัยเหล่านี้ไม่มีอะไรเกิดแยกกัน. จริงอยู่
เพราะการบอกปัดเสียซึ่งสหชาตปัจจัย นิสสยปัจจัย อัตถิปัจจัย และอวิคต-
ปัจจัย รูปธรรมและอรูปธรรมแม้สักอย่างหนึ่งก็เกิดขึ้นไม่ได้ เพราะฉะนั้น
ปัจจัยเหล่านั้นจึงลดไป. ในวิภังค์แห่ง นอัญญมัญญปัจจัย พึงทราบการ
เว้นหทยวัตถุด้วยคำว่า กฏัตตารูป อาศัยวิปากาพยากตขันธ์เกิดขึ้นใน
ปฏิสนธิกาล. รูปเท่านั้นเป็นปัจจยุบบันในวิภังค์แห่ง นอุปนิสสยปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 61/653/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บทว่า อทฺทสาสิ ความว่า พระดาบสนั้นตรวจตราดูอาศรมแล้ว
คิดว่า ใครกันหนอ ทำให้เราถึงสีลวิบัติ แล้วปริเทวนาการด้วยเสียงอันดัง
ได้มองเห็นแล้ว. บทว่า หริตรุกฺเข ความว่า ได้เห็นต้นไม้มีใบเขียวสด
ขึ้นล้อมโรงไฟ กล่าวคือกองกูณฑ์อยู่โดยรอบ. บทว่า นวปตฺตวนํ ความว่า
หมู่ไม้ดาดาษไปด้วยใบไม้อ่อน ๆ.
บทว่า รุทํ แปลว่า ปริเทวนาการอยู่. คาถาปริเทวนาการของพระ
ดาบสนั้นอย่างนี้ว่า เรามิได้บูชาไฟ มิได้บริกรรมมนต์. บทว่า ปหาปิตํ
ความว่า อะไรบันดาลให้การบูชาไฟต้องเสื่อมลง. ป อักษร เป็นเพียงอุปสรรค.
บทว่า ปาริจริยาย ความว่า พระดาบสปริเทวนาการว่า ก่อนแต่นี้
ใครหนอเล้าโลมจิตของเรา ด้วยการบำเรอด้วยกิเลส. ห อักษร ในบทว่า โย
เม เตชาหสํภูตํ นี้ เป็นเพียงนิบาต ความก็ว่า อิสิสิงคดาบสปริเทวนาการว่า
ผู้ใดยึดคือ ยังฌานคุณ อันเป็นเองโดยเดชแห่งสมณะของเราให้พินาศ ดุจ
ยังเรือในห้วงมหรรณพ อันเต็มไปด้วยรัตนะต่าง ๆ ให้พินาศฉะนั้น ผู้นั้นคือ
ใครกันเล่า ? อลัมพุสาเทพกัญญาได้ยินดังนั้น ก็คิดว่า ถ้าเราไม่บอก ดาบส
นี้จักสาปอาทิผิด อักขระแช่งเรา เอาเถอะเราจักบอกให้ท่านทราบ จึงยืนปรากฏกายกล่าวคาถา
ความว่า
ดิฉันอันท้าวเทวราช ทรงใช้มาเพื่อบำเรอท่าน
จึงได้ครอบงำจิตของท่านด้วยจิตของดิฉัน ท่านไม่
รู้สึกตัว เพราะประมาท.
พระอิสิสิงคดาบสได้ฟังถ้อยคำของนางแล้ว ระลึกถึงโอวาทที่บิดาให้ไว้
ก็ปริเทวนาการว่า เพราะเรามิได้ทำตามคำบิดา จึงถึงความพินาศอย่าง
ใหญ่หลวง ดังนี้แล้ว ได้กล่าวคาถา ๔ คาถา ความว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/181/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระเถระก้าวขึ้นไปตามบันไดที่ติดมุขทางทิศตะวันตกแล้ว เริ่มกระทํา
การบูชาด้วยดอกไม้อาทิผิด อาณัติกะ ณ แท่นบูชา ซึ่งตั้งอยู่ภายในที่นั้นแล พื้นที่แห่งแท่น
บูชาก็เต็มไปด้วยดอกไม้ทั้งหลาย และตกลงไปยังพื้นชั้นล่าง ให้เต็มสูงขึ้นมี
ประมาณถึงหัวเข่า จากนั้น พระเถระก็หยั่งลงสู่ระเบียงเบื้องหลังบนฐาน
สำหรับบูชาแล้วบูชาอยู่ แม้ดอกไม้ก็เต็มรอบแล้ว พระเถระทราบความที่
ดอกไม้เหล่านั้นเต็มรอบแล้ว จึงเกลี่ยดอกไม้ไปในพื้นเบื้องต่ำแล้วจึงไป ลาน
แห่งพระเจดีย์ทั้งปวงก็มีดอกไม้เต็มรอบแล้ว เมื่อลานพระเจดีย์มีดอกไม้เต็ม
รอบแล้วจึงกล่าวว่า “สามเณร ดอกไม้ยังไม่หมด” สามเณรเรียนท่านว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงคว่ำธมกรก พระเถระจึงคว่ำปากธมกรกแล้ว
สะบัด ดอกไม้ทั้งหลายจึงสิ้นไปในกาลนั้น.
พระเถระให้ธมกรกคืนแก่สามเณรแล้วทำปทักษิณพระเจดีย์เดินไปตาม
กำแพงประมาณ ๖๐ ศอก แล้วไหว้ในทิศทั้ง ๔ ขณะที่กำลังเดินไปสู่บริเวณ
ก็คิดว่า “สามเณรนี้มีฤทธิ์มาก จักอาจเพื่อรักษาอิทธานุภาพนี้ได้ตลอดไปหรือ
ไม่หนอ” ในลำดับนั้นก็ทราบว่า สามเณรนี้จักไม่อาจรักษาฤทธานุภาพไว้ได้
จึงได้กล่าวกะสามเณรว่า “สามเณร บัดนี้เธอมีฤทธิ์มาก แต่ในกาลสุดท้ายที่
ฤทธิ์เห็นปานนี้พินาศไปแล้ว เธอจักดื่มน้ำข้าวอันช่างหูกตาบอดข้างหนึ่งเอามือ
ขยำแล้ว” ดังนี้. ก็ข้อที่ฤทธิ์เสื่อมไปนี้ เป็นข้อบกพร่องของความเป็นคนหนุ่ม
สามเณรนั้นสลดจิตด้วยคำของอุปัชฌาย์ ทั้งมิได้กล่าวขอกรรมฐานว่า “ ข้าแต่
ท่านผู้เจริญ ขอท่านจงบอกกรรมฐานแก่กระผม” ดังนี้ แต่คิดว่า “อุปัชฌาย์
ของเราพูดอะไร” ได้เดินไปแล้ว เหมือนบุคคลผู้ไม่ได้ยินถ้อยคำนั้น.
พระเถระครั้นไหว้มหาเจดีย์และมหาโพธิ์แล้ว ให้สามเณรถือบาตร
และจีวร ได้ไปสู่มหาวิหารชื่อว่า กุเฏฬิติสละโดยลำดับ. สามเณรผู้ติดตาม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 69/183/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในระหว่าง เมื่อนับต่ำกว่า ๕ จิตตุปบาท ย่อมดิ้นรนในโอกาสคับแคบ ดุจ
ฝูงโคที่ถูกขังไว้ในคอกอันคับแคบ เมื่อนับเกิน ๑๐ จิตตุปบาทอาศัยการนับ
เท่านั้น เมื่อแสดงเป็นตอน ๆ ในระหว่าง จิตย่อมหวั่นไหวว่า กรรมฐาน
ของเราถึงยอดแล้วหรือยังหนอ เพราะฉะนั้น ควรนับเว้นโทษเหล่านี้เสีย.
อนึ่ง เมื่อนับควรนับเหมือนการตวงข้าวเปลือกนับช้า ๆ ก่อน เพราะ
ตวงข้าวเปลือกให้เต็มทะนาน แล้วนับหนึ่ง แล้วเกลี่ยลง เมื่อเต็มอีก ครั้นเห็น
หยากเยื่อไร ๆ ก็ทิ้งเสียนับหนึ่ง หนึ่ง. แม้ในการนับสอง สอง ก็มีนัยนี้
เหมือนกัน.
ผู้ใดกำหนดลมอัสสาสปัสสาสะ แม้ด้วยวิธีนี้อย่างนี้ กำหนดนับว่า
หนึ่ง หนึ่ง ไปจนถึง สิบ สิบ เมื่อผู้นั้นนับอย่างนี้ ลมอัสสาสปัสสาสะทั้งเข้า
และออกย่อมปรากฏ. ต่อแต่นั้นกุลบุตรควรละการนับเหมือนตวงข้าวเปลือกที่
นับช้า ๆ นั้นเสีย แล้วนับด้วยการนับของคนเลี้ยงโคคือนับเร็ว เพราะโคบาล
ผู้ฉลาด เอาก้อนกรวดใส่พก ถือเชือกและไม้ไปคอกแต่เช้าตรู่ ตีที่หลังโค
นั่งบนปลายเสาเขื่อนดีดก้อนกรวด นับโคที่ไปถึงประตูว่า หนึ่ง สอง. โคที่
อยู่อย่างลำบากในที่คับแคบมาตลอด ๓ ยาม จึงออกเบียดเสียดกันและกัน
รีบออกเป็นหมู่ ๆ. โคบาลนั้นรีบนับว่า สาม สี่อาทิผิด อาณัติกะ ห้า สิบ. เมื่อโคบาลนับ
โดยนัยก่อน ลมอัสสาสปัสสาสะปรากฏสัญจรไปเร็ว ๆ บ่อย ๆ.
แต่นั้น โคบาล ครั้นรู้ว่าลมอัสสาสปัสสาสะสัญจรบ่อย ๆ จึงไม่นับ
ทั้งภายในทั้งภายนอก นับเฉพาะที่ถึงประตูเท่านั้น แล้วรีบนับเร็ว ๆ ว่า ๑
๒ ๓ ๔ ๕, ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖, ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗, ๘ ๙ ๑๐.
จริงอยู่ ในกรรมฐานอันเนื่องด้วยการนับจิต ย่อมมีอารมณ์เป็นหนึ่ง
ด้วยกำลังการนับ ดุจจอดเรือไว้ที่กระแสเชี่ยว ด้วยความค้ำจุนของถ่อ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/192/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อย่างนี้เป็นต้น
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสมงคลแห่งคาถานี้ไว้ ๔ มงคล คือการบำรุง
มารดา ๑ การบำรุงบิดา ๑ การสงเคราะห์บุตรภรรยา ๑ และการงาน
ไม่อากูล ๑ หรือ ๕ มงคล เพราะแยกการสงเคราะห์บุตรและภรรยาออกเป็น
๒ หรือ ๓ มงคล เพราะรวมการบำรุงมารดาและบิดาเป็นข้อเดียวกัน . ก็
ความที่มงคลเหล่านั้น เป็นมงคล ได้ชี้แจงไว้ในมงคลนั้น ๆ แล้ว ทั้งนั้นแล.
จบพรรณนาความแห่งคาถานี้ว่า มาตาปิตุอุปฏฺฐานํ
พรรณนาคาถาว่า ทานญฺจ
บัดนี้ จะพรรณนาในคาถานี้ว่า ทานญฺจ. ชื่อว่า ทาน เพราะเขาให้
ด้วยวัตถุนี้ ท่านอธิบายว่า เขามอบทรัพย์ที่มีอยู่ของตนให้แก่ผู้อื่น. การประพฤติ
ธรรมหรือความประพฤติที่ไม่ปราศจากธรรม ชื่อว่า ธรรมอาทิผิด อักขระจริยา. ชื่อว่า ญาติ
เพราะใคร ๆ ก็รู้ว่า ผู้นี้พวกของเรา. ไม่มีโทษ ชื่อว่า อนวัชชะ ท่าน
อธิบายว่า ใคร ๆ นินทาไม่ได้ ติเตียนไม่ได้. คำที่เหลือมีนัยที่กล่าวมาแล้ว
ทั้งนั้นแล. นี้เป็นการพรรณนาบท .
ส่วนการพรรณนาความ พึงทราบดังนี้. เจตนาเป็นเหตุบริจาคทาน.
วัตถุ ๑๐ มีข้าวเป็นต้น ซึ่งมีความรู้ดีเป็นหัวหน้า เฉพาะผู้อื่น หรือความ
ไม่โลภ ที่ประกอบด้วยจาคเจตนานั้น ชื่อว่า ทาน. จริงอยู่ บุคคลย่อมมอบ
ให้วัตถุนั้น แก่ผู้อื่น ด้วยความไม่โลภ. ด้วยเหตุนั้น ข้าพเจ้าจึงกล่าวว่า ชื่อว่า
ทาน เพราะเขาให้ทานด้วยวัตถุนี้ ตรัสว่าเป็นมงคล เพราะเป็นเหตุประสบผลวิ-
เศษที่เป็นไปในปัจจุบัน และเป็นไปภายหน้า มีความเป็นผู้ที่ชนเป็นอันมากรัก
และพอใจเป็นต้น. ในเรื่องทานนี้ พึงระลึกถึงสูตรทั้งหลาย เป็นต้น อย่างนี้ว่า
ดูก่อนสีหะ ทานบดีผู้ทายกย่อมเป็นที่รักที่พอใจของชนเป็นอันมาก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/326/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ย่อหัวข้อสมุฏฐาน
[๘๒๖] สังขารทั้งปวงที่ปัจจัยปรุง
แต่ง ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา และ
บัญญัติ คือ พระนิพพาน ท่านวินิจฉัยว่า
เป็นอนัตตา เมื่อดวงจันทร์ คือ พระพุทธเจ้า
ยังไม่เกิดขึ้น เมื่อดวงอาทิตย์ คือ พระ-
พุทธเจ้า ยังไม่อุทัยขึ้นมา เพียงแต่ชื่อของ
สภาคอาทิผิด อักขระธรรมเหล่านั้น ก็ยังไม่มีใครรู้จัก พระ
มหาวีรเจ้าทั้งหลาย เป็นผู้มีพระจักษุ ทรงทำ
ทุกรกิริยามีอย่างต่าง ๆ ทรงบำเพ็ญบารมี
แล้วเสด็จอุบัติในโลกเป็นไปกับพรหมโลก
พระองค์ทรงแสดงพระสัทธรรม อันดับเสีย
ซึ่งทุกข์ นำมาซึ่งความสุข พระอังคีรส
ศากยมุนี ผู้อนุเคราะห์แก่ประชาทุกถ้วน
หน้า อุดมกว่าสรรพสัตว์ ดุจราชสีห์ ทรง
แสดงพระไตรปิฎก คือ พระวินัย ๑ พระ-
สุตตันตะ ๑ พระอภิธรรม ๑ ซึ่งมีคุณมาก
อย่างนี้ พระสัทธรรมจะเป็นไปได้ ผิว่า
พระวินัย คือ อุภโตวิภังค์ ขันธกะ และ
มาติกา ที่ร้อยกรองด้วยคัมภีร์บริวาร เหมือน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 84/231/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โสมนัสสินทริยมูล
โสมนัสสินทริยมูละ อุเปกขินทริยมูลี:-
[๕๒๔] โสมนัสสินทรีย์กำลังเกิดเเก่บุคคลใด, อุเปกขินทรีย์
ก็กําลังเกิดแก่บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
ไม่ใช่.
ก็หรืออาทิผิด สระว่าอุเปกขินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใด, โสมนัสสินก็กำลัง
เกิดแก่บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
ไม่ใช่.
จบ โสมนัสสินทริยมูละ อุเปกขินทริยมูลี
โสมนัสอาทิผิด อักขระสินทริยมูละ สัทธินทริยมูลี:-
[๕๒๕] โสมนัสสินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใด, สัทธินทรีย์ก็
กำลังเกิดแก่บุคคลนั้น ใช่ไหม ?
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 22/186/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๑๓๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อสัตบุรุษเป็นผู้ประกอบด้วยธรรมของ
อสัตบุรุษอย่างไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ไม่มีหิริ ไม่มี
โอตตัปปะ มีสุตะน้อย เกียจคร้าน มีสติหลงลืม มีปัญญาทราม ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย อย่างนี้แล อสัตบุรุษชื่อว่าเป็นผู้ประกอบด้วยธรรมของอสัตบุรุษ.
[๑๓๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษเป็นผู้ภักดีต่ออสัตอาทิผิด อักขระบุรุษอย่าง
ไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ มีสมณพราหมณ์ชนิดที่ไม่มีศรัทธา ไม่มีหิริ ไม่
มีโอตตัปปะ มีสุตะน้อย เกียจคร้าน มีสติหลงลืม มีปัญญาทราม เป็นมิตร
เป็นสหาย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล อสัตบุรุษชื่อว่าเป็นผู้ภักดีต่อ
อสัตบุรุษ.
[๑๓๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษเป็นผู้มีความคิดอย่างอสัต
บุรุษอย่างไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ ย่อมคิดเบียดเบียนตนเองบ้าง คิด
เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง คิดเบียดเบียนทั้งตนเองและผู้อื่นทั้งสองฝ่ายบ้าง ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล อสัตบุรุษชื่อว่าเป็นผู้มีความคิดอย่างอสัตบุรุษ.
[๑๓๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษเป็นผู้มีความรู้อย่างอสัตบุรุษ
อย่างไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ ย่อมรู้เพื่อเบียดเบียนตนเองบ้าง รู้เพื่อ
เบียดเบียนผู้อื่นบ้าง รู้เพื่อเบียดเบียนทั้งตนเองอาทิผิด และผู้อื่นทั้งสองฝ่ายบ้าง ดู
ก่อนภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล อสัตบุรุษชื่อว่าเป็นผู้รู้อย่างอสัตบุรุษ.
[๑๓๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษเป็นผู้มีถ้อยคำอย่างอสัตบุรุษ
อย่างไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ เป็นผู้มักพูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ
เจรจาเพ้อเจ้อ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อย่างนี้แล อสัตบุรุษชื่อว่าเป็นผู้มีถ้อย
คำอย่างอสัตบุรุษ.
[๑๓๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อสัตบุรุษเป็นผู้มีการงานอย่างอสัตบุรุษ
อย่างไร คือ อสัตบุรุษในโลกนี้ มักเป็นผู้ทำชีวิตสัตว์ให้ตกล่วง มักถือเอา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 22/196/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ธรรมในตติยฌาน
[๑๕๗] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก (คือ) สารีบุตร
เป็นผู้วางเฉย เพราะปีติคลายไป มีสติสัมปชัญญะอยู่ และเสวยสุขด้วยนาม-
กาย ซึ่งพระอริยเจ้า เรียกว่า เป็นผู้วางเฉย มีสติ อยู่เป็นสุข เข้าตติย-
ฌานอยู่. ก็ธรรมทั้งหลายใน ตติยฌาน คือ อุเบกขา สุข สติ สัมป-
ชัญญะ เอกัคคตาจิต ผัสสะ เวทนา สัญญา เจตนา วิญญาณ
ฉันทะ อธิโมกข์ วิริยะ สติ อุเบกขา มนสิการ เป็นอันสารีบุตร
กำหนดได้แล้ว ตามลำดับบท ธรรมเหล่านั้นที่สารีบุตรรู้แจ้งแล้ว ทั้งที่เกิด
ขึ้น ตั้งอยู่ และถึงความดับไป. เธอรู้ชัดอาทิผิด อักขระอย่างนี้ว่า ธรรมที่ยังไม่มีแก่เรา
ย่อมมี ที่มีแล้วก็เสื่อมไปอย่างนี้. เธอไม่ยินดี ไม่ยินร้าย ไม่ถูกตัณหาทิฏฐิ
อาศัย ไม่ติดใจในธรรมเหล่านั้น หลุดพ้นแล้ว พรากไปได้แล้ว มีใจที่ถูก
ทำให้ปราศจากเขตแดนแล้วอยู่. เธอรู้ชัดว่า คุณพิเศษเป็นเหตุสลัดออกไป
(จากภพ) ยิ่งขึ้นไปอีก ยังมีอยู่ (และ) เธอยังมีความเห็นต่อไปว่า ธรรม
เป็นเครื่องสลัดออกยังมีอยู่ เพราะกระทำความรู้นั้นให้มากขึ้น.
ธรรมในจตุตถฌาน
[๑๕๘] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ประการอื่นยังมีอีก (คือ) สารีบุตรเข้า
จตุตถฌาน อันไม่มีทุกข์ไม่มีสุข เพราะละสุขละทุกข์ได้แล้ว และดับ โสม-
นัสโทมนัส ก่อนๆ ได้แล้ว มีสติบริสุทธิ์ เพราะอุเบกขา อยู่ ก็ธรรม
ทั้งหลายในจตุตถฌานคือ อุเบกขาอทุกขมสุขเวทนา ความไม่คำนึง
ถึงแห่งใจเพราะบริสุทธิ์แล้ว สติบริสุทธิ์ เอกัคคาตาจิต ผัสสะ
เวทนา สัญญา เจตนา วิญญาณ ฉันทะ อธิโมกข์ วิริยะ สติ
อุเบกขา มนสิการ เป็นอันสารีบุตรกำหนดได้แล้ว ตามลำดับบท ธรรม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 87/197/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นทัสสเนนปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์
๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓. โมหะ และ
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ.
๔. ภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ฯลฯ มี ๓ วาระ.
[๙๘๒] ๗. เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็น
ปัจจัยแก่เนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม ด้วยอำนาจของ
อัตถิปัจจัย
มี ๕ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ
และ อินทริยะ
ที่เป็น สชาตะ ได้แก่
ขันธ์ ๑ ที่เป็นเนวทัสสเนนนภาวนายปหาตัพพเหตุกธรรม เป็นปัจจัย
แก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย ฯลฯ
โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ เป็นปัจจัยแก่
จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ของอสัญญสัตว์ทั้งหลาย ฯลฯ
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ ฯลฯอาทิผิด โดยความเป็นของไม่
เที่ยง ฯลฯ
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
พระปิฎกธรรม