Rian
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 70/194/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ ทีฆนิกายอาทิผิด อักขระ มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตรนิกาย และขุททก-
นิกาย ย่อมถึงการสงเคราะห์ลงในขุททกนิกาย, ในบรรดานวังคสัตถุศาสน์
คือ สุตตะ เคยยะ ไวยากรณะ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูต-
ธรรม เวทัลละ ท่านสงเคราะห์ลงในคาถา. ในบรรดาธรรมขันธ์
๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ซึ่งท่านพระอานนท์กล่าวไว้อย่างนี้ว่า
ธรรมเหล่าใดที่คล่องปากขึ้นใจของข้าพเจ้า ธรรมเหล่านั้น
มี ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ คือที่ข้าพเจ้าเรียนอาทิผิด อักขระจากพระพุทธเจ้า
๘๒,๐๐๐ เรียนจากภิกษุ ๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ดังนี้.
เป็นอันสงเคราะห์ลงใน ๒-๓ พระธรรมขันธ์.
บัดนี้ ท่านเมื่อจะแสดงอปทานนั้น จึงกล่าวว่า พระพุทธเจ้าผู้เป็น
พระธรรมราชาสมบูรณ์ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน มีจำนวนนับไม่ถ้วน ดังนี้.
ในคำเหล่านั้นมีวินิจฉัยดังต่อไปนี้.
บารมี ๑๐ ถ้วนนั่นเอง จัดเป็นบารมี ๓๐ ถ้วน ด้วยอำนาจบารมี
๑๐ อุปบารมี ๑๐ และปรมัตถบารมี ๑๐ โดยเป็นอย่างต่ำ อย่างกลาง
และอย่างสูง. ผู้บริบูรณ์ดี คือผู้สมบูรณ์ ประกอบ พร้อมพรั่ง บรรลุ
ประกอบพร้อมด้วยบารมี ๑๐ ถ้วนนั้น เพราะเหตุนั้น จึงชื่อว่า ผู้สมบูรณ์
ด้วยบารมี ๓๐ ถ้วน. ชื่อว่า ราชา เพราะยังหมู่สัตว์ผู้อยู่ในสกลโลกทั้ง ๓
และกายของตนให้ยินดี คือให้อาทิผิด สระยึดติดด้วยพรหมวิหารสมาบัติ ๔ คือ
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา หรือด้วยความเป็นผู้มีจิตเป็นอันเดียว
ด้วยธรรมเครื่องอยู่แห่งผลสมาบัติ, พระราชาโดยธรรม ชื่อว่า
พระธรรมราชา, พระพุทธเจ้าทั้งหลายเป็นอย่างนี้. อธิบายว่า พระพุทธ-
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论