星期五, 二月 28, 2020

Khum Sap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 53/413/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทำลาย พึงตัด พึงละความพอใจในกามคุณ เพราะฉะนั้น ความตรึกของ
เรานั้นจักสำเร็จเมื่อไรหนอ.
บทว่า อิณฏฺโฏว ทลิทฺทโก นิธิํ อาราธยิตฺวา ความว่า คนจนบาง
คนเป็นผู้มีการเลี้ยงชีพเป็นปกติ กู้หนี้ เมื่อไม่สามารถจะชำระหนี้ได้ มีคดี
เพราะหนี้ คืออึดอัดใจเพราะหนี้ ถูกเจ้าทรัพย์บีบคั้น ครั้นยินดีคือ
ประสบขุมอาทิผิด อักขระทรัพย์ และชำระหนี้แล้ว พึงเป็นอยู่ ยินดีโดยความสุขฉันใด
แม้เราก็ฉันนั้น เมื่อไรหนอ จะพึงละกามฉันทะอัน เป็นเสมือนกับผู้ไม่มี
หนี้ แล้วประสบความยินดีในพระศาสนาของท่านผู้แสวงหาคุณอันยิ่งใหญ่
คือพระศาสนาของพระพุทธเจ้า อันเป็นเสมือนขุมทรัพย์อันเต็มไปด้วย
รัตนะ มีแก้วมณีและทองคำเป็นต้น เพราะเพียบพร้อมไปด้วยอริยทรัพย์
เพราะฉะนั้น ความตรึกของเรานั้นจักสำเร็จเมื่อไรหนอ.
ครั้นแสดงความเป็นไปแห่งวิตกของตน อันเป็นแล้วด้วยอำนาจ
เนกขัมมวิตกในกาลก่อน แต่การบรรพชาอย่างนี้แล้ว บัดนี้ ครั้นบวช
แล้ว เมื่อจะแสดงอาการอันเป็นเหตุให้สอนตนแล้วจึงบรรลุ จึงได้กล่าว
คาถามีอาทิว่า พหูนิ วสฺสานิ ดังนี้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า พหูนิ วสฺสานิ ตยามฺหิ ยาจิโต
อคารวาเสน อลํ นุ เต อิทํ ความว่า ดูก่อนจิตผู้เจริญ เราถูกท่าน
อ้อนวอนมาหลายปีแล้วมิใช่หรือว่า พอละ คือถึงที่สุดแล้วสำหรับท่าน ด้วย
การอยู่ในท่ามกลางเรือน ด้วยการตามผูกพันทุกข์ต่าง ๆ อยู่หลายปี.
บทว่า ตํ ทานิ มํ ปพฺพชิตํ สมานํ ความว่า ดูก่อนจิต ท่านไม่
ประกอบเรานั้น ผู้เป็นบรรพชิต ด้วยความอุตสาหะเช่นนั้น ด้วยเหตุ
อย่างหนึ่ง อธิบายว่า ทิ้งสมถะและวิปัสสนา ประกอบในความเกียจคร้าน
อันเลว.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 二月 27, 2020

Baep Phaen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   68/20/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แม้พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อจะทรงยกพระพุทธพจน์คือพระ-
ไตรปิฎกขึ้นสู่แบบแผน ก็ทรงยกขึ้นไว้ในภาษามาคธีเท่านั้น. เพราะ
เหตุไร ? ก็เพราะเพื่อจะนำอรรถะมาให้รู้ได้โดยง่าย. จริงอยู่ พระ-
พุทธพจน์ที่ยกขึ้นสู่แบบแผนด้วยมาคธีภาษา ยังไม่บรรลุถึงคลองแห่ง
โสตประสาทของพระอริยบุคคลผู้บรรลุปฏิสัมภิทานั้น เป็นการเนิ่นช้า.
แต่เมื่อโสตประสาทพอพระพุทธพจน์กระทบแล้วเท่านั้น เนื้อความก็
ปรากฏตั้งร้อยนัย พันนัย. ก็พระพุทธพจน์ที่ยกขึ้นสู่แบบแผนอาทิผิด อาณัติกะด้วย
ภาษาอื่น ก็ย่อมต้องเรียนเอาแบบตีความแล้วตีความเล่า. อันธรรมดาว่า
การเรียนพระพุทธพจน์แม้มากมายแล้วบรรลุปฏิสัมภิทา ย่อมไม่มีแก่
ปุถุชน, แต่พระอริยสาวกที่จะชื่อว่าไม่บรรลุปฏิสัมภิทานั้น ย่อมไม่มีเลย.
บทว่า ญาเณสุ ญานํ ความว่า ความรู้แตกฉานในญาณทั้ง ๓
เหล่านั้น ของพระอริยบุคคลผู้กระทำญาณอันมีในที่ทั้งปวงให้เป็น
อารมณ์แล้วพิจารณาอยู่, หรือว่า ญาณอันถึงความกว้างขวางในญาณ
ทั้ง ๓ เหล่านั้น ด้วยสามารถแห่งอารมณ์และกิจเป็นต้น ชื่อว่าปฏิภาณ
ปฏิสัมภิทา.
ก็บัณฑิตพึงทราบ ปฏิสัมภิทา ๔ เหล่านี้ว่า ย่อมถึงซึ่งประเภท
ในฐานะ ๒. ย่อมผ่องใสด้วยเหตุ ๕. ย่อมถึงซึ่งประเภทในฐานะ ๒
เป็นไฉน ? คือ ในเสกขภูมิ ๑ อเสกขภูมิ ๑.
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 二月 25, 2020

Sarana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/117/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดูก่อนผู้มีอายุทั้งหลายอาทิผิด ก็บุคคลเมื่อจะพูดให้ถูก พึงพูดคำใดว่า สาวกอัน
พระศาสดาทรงอาทิผิด อนุเคราะห์แล้ว ถึงความเป็นผู้รู้ยิ่งใหญ่ บุคคลเมื่อจะพูด
ให้ถูก พึงพูดคำนั้นกะเราว่า สาวกอันพระศาสดาทรงอนุเคราะห์แล้วถึง
ความเป็นผู้รู้ยิ่งใหญ่.
[๕๒๔] ครั้งนั้นแล ท่านพระมหาโมคคัลลานะหายจากพระวิหาร
เชตวันไปปรากฏในดาวดึงสเทวโลก เหมือนบุรุษมีกำลังพึงเหยียดแขนที่
คู้ หรือพึงคู้อาทิผิด อักขระแขนที่เหยียด ฉะนั้น ครั้งนั้นแล ท้าวสักกะจอมเทพกับ
เทวดา ๕๐๐ องค์ เข้าไปหาท่านพระโมคคัลลานะถึงที่อยู่ ไหว้ท่านพระ-
มหาโมคคัลลานะแล้ว ได้ประทับยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
ท่านพระมหาโมคคัลลานะได้พูดกะท้าวสักกะจอมเทพว่า ดูก่อนจอมเทพ
การถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะดีนัก เพราะเหตุแห่งการถึงพระพุทธเจ้าเป็น
สรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลก
สวรรค์ การถึงพระธรรมเป็นสรณะดีนัก การถึงพระสงฆ์เป็นสรณะดีนัก
เพราะเหตุแห่งการถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตก
กายตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ท้าวสักกะจอมเทพตรัสว่า ข้าแต่
พระโมคคัลลานะผู้นิรทุกข์ การถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะอาทิผิด อักขระดีนัก เพราะเหตุ
แห่งการถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะ สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกาย
ตายไป ย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ การถึงพระธรรมเป็นสรณะดีนัก . . .
การถึงพระสงฆ์เป็นสรณะดีนัก เพราะเหตุแห่งการถึงพระสงฆ์เป็นสรณะ
สัตว์บางพวกในโลกนี้ เมื่อแตกกายตายไปย่อมเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์.
จบ อนิมิตตปัญหาสูตรที่ ๙
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 二月 23, 2020

Banlu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 76/115/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สุทธิกสุญญตะ
[๔๒๗] ธรรมเป็นอัพยากฤต เป็นไฉน ?
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตระ อันเป็นเครื่องออกไปจากโลก
นำไปสู่นิพพาน เพื่อละทิฏฐิ เพื่อบรรลุอาทิผิด ภูมิเบื้องต้น สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ชนิดสุญญตะ ฯลฯ อยู่ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านี้ชื่อว่า ธรรม
เป็นกุศล
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุ
ปฐมฌาน ชนิดสุญญตะ ฯลฯ อันเป็นวิบาก เพราะกุศลฌานเป็นโลกุตระ
อันได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มี
ในสมัยนั้น ฯลฯ
สภาวธรรมเหล่านี้ ชื่อว่า ธรรมเป็นอัพยากฤต.
[๔๒๘] ธรรมเป็นอัพยากฤต เป็นไฉน ?
โยคาวจรบุคคลเจริญฌานเป็นโลกุตตระอาทิผิด อันเป็นเครื่องออกไปจากโลก
นำไปสู่นิพพาน เพื่อละทิฏฐิ เพื่อบรรลุภูมิเบื้องต้น สงัดจากกาม สงัดจาก
อกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุปฐมฌาน ชนิดสุญญตะ ฯลฯ อยู่ในสมัยใด
ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มีในสมัยนั้น ฯลฯ สภาวธรรมเหล่านั้นชื่อว่า ธรรม
เป็นกุศล
โยคาวจรบุคคลสงัดจากกาม สงัดจากอกุศลธรรมทั้งหลายแล้ว บรรลุ
ปฐมฌาน ชนิดอนิมิตตะ ฯลฯ อันเป็นวิบากอาทิผิด เพราะกุศลฌานโลกุตระอัน
ได้ทำไว้แล้ว ได้เจริญไว้แล้วนั้นแล อยู่ในสมัยใด ผัสสะ ฯลฯ อวิกเขปะ มี
ในสมัยนั้น ฯลฯ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 二月 21, 2020

Phrommachan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 47/323/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปโรวรํ ได้แก่ ที่งามและที่ไม่งาม
หรือที่อยู่ไกลและที่อยู่ใกล้ ด้วยสามารถแห่งโลกิยธรรม และโลกุตรธรรม.
บทว่า อริยธมฺมํ ได้แก่ จตุสัจธรรม.
บทว่า วิทิตฺวา ได้แก่ แทงตลอด.
บทว่า ชานํ ได้แก่ รู้อยู่ซึ่งไญยธรรมทั้งปวง.
บทว่า วาจาภิกงฺขามิ ได้แก่ ข้าพระองค์หวังอยู่ซึ่งพระวาจาของ
พระองค์ ประดุจบุรุษผู้มีตัวอันร้อนในฤดูร้อน ลำบากอยู่ สะดุ้งแล้วหวังอยู่
ซึ่งน้ำฉะนั้น.
บทว่า สุตมฺปวสฺส ได้แก่ ขอพระองค์จงหลั่ง คือว่าจงเปล่ง
ได้แก่ จงปล่อยซึ่งสัททายตนะกล่าวคือสุตะ คือทำสัททายตนะให้เป็นไป.
พระบาลีว่า สุตสฺสํ วสฺส ดังนี้ก็มี อธิบายว่าจงโปรยซึ่งฝนแห่ง
สัททายตนะ มีประการอันพระองค์ตรัสแล้ว.
บัดนี้พระวังคีสะหวังอยู่ซึ่งวาจาเช่นใด เมื่อจะประกาศซึ่งวาจาเช่นนั้น
จึงได้กล่าวคาถาว่า
พระภิกษุชื่อว่า นิโครธกัปปะ ได้
ประพฤติพรหมจรรย์อาทิผิด อักขระ ตามปรารถนา พรหม-
จรรย์ไร ๆ ของท่านนั้นมิได้เปล่า ท่านนิพ-
พานด้วยสอุปาทิเสสนิพพานแล้ว หรือว่าท่าน
เป็นผู้นิพพานแล้วด้วยอนุปาทิเสสนิพพาน
เหมือนอย่างพระอเสขะทั้งหลาย ข้าพระองค์
ทั้งหลาย จักฟังซึ่งข้อนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 二月 20, 2020

Wai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/165/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พวกราชบุรุษก็ได้นำดอกไม้ทั้งหลายมาทูลถวาย. พระราชาได้ถวายดอกไม้
ทั้งหลายแก่พระเถระ. พระเถระก็เอาดอกไม้บูชาที่จะสร้างโลหปราสาท. พอ
เมื่อดอกไม้ทั้งหลาย สักว่าตกลงที่พื้น ได้เกิดมีแผ่นดินหวั่นไหวใหญ่. พระราชา
ตรัสถามว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ! เพราะเหตุไร แผ่นดินจึงไหว ? พระเถระ
ทูลว่า มหาบพิตร ! ในอนาคต โรงพระอุโบสถจักมีแก่สงฆ์ในโอกาสนี้ นี้จัก
เป็นบุรพนิมิตแห่งโรงพระอุโบสถนั้น.
พระราชาเสด็จต่อไปพร้อมกับพระเถระ ได้เสด็จไปถึงอัมพังคณสถาน.
ที่อัมพังคณสถานนั้น ราชบุรุษได้นำผลมะม่วงสุกผลหนึ่งซึ่งสมบูรณ์ด้วยสีและ
กลิ่น มีรสอร่อยยิ่ง มาทูลถวายแด่พระราชาพระองค์นั้น. พระราชาได้ถวาย
ผลมะม่วงนั้นแก่พระเถระเพื่อขบฉัน. พระเถระก็ฉันในที่นั้นนั่นเอง แล้วทูลว่า
ขอพระองค์ทรงปลูกเมล็ดมะม่วงนี้ไว้ ในที่นี้นั่นแล.
พระราชา ทรงรับเอาเมล็ดมะม่วงนั้นแล้ว ทรงเพาะปลูกไว้ในที่นั้น
นั่นเอง แล้วทรงรดน้ำ. พร้อมกับการทรงเพาะปลูกเมล็ดมะม่วงปฐพีหวั่นไหว
แล้ว. พระราชาตรัสถามว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ! เพราะเหตุไร ปฐพีจึงไหว ?
พระเถระทูลว่า มหาบพิตร ! ในอนาคตที่ประชุมสงฆ์ ชื่ออัมพังคณะ จักมีใน
โอกาสนี้ นี้จักเป็นบุรพนิมิตแห่งสันนิบาตสถานนั้น.
พระราชา ทรงโปรยดอกไม้ ๘ กำลงในที่นั้น ทรงไหว้อาทิผิด อักขระแล้วก็เสด็จ
ต่อไปอีกพร้อมกับพระเถระ ได้เสด็จไปถึงสถานที่จะสร้างมหาเจดีย์. ในสถาน
ที่นั้น พวกราชบุรุษ ได้นำดอกจำปาทั้งหลายมาทูลถวายแด่พระราชาองค์นั้น.
พระราชา ได้ถวายดอกจำปาเหล่านั้นแก่พระเถระ. พระเถระก็เอาดอกไม้บูชา
ที่จะสร้างมหาเจดีย์แล้วไหว้. ในทันใดนั้นเอง มหาปฐพีก็หวั่นไหว. พระราชา
ตรัสถามว่า ข้าแต่พระคุณเจ้าผู้เจริญ ! เพราะเหตุไร ปฐพีจึงได้ไหว. พระเถระ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 二月 18, 2020

Charung

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 61/300/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ลูบไล้ด้วยจรุงอาทิผิด สระจันทน์ กลางคืนมีหญิง ๑๖,๐๐๐ คน
เป็นบริจาริกาบำเรอท่านอยู่ แต่กลางวันต้องเสวย
ทุกขเวทนา.
หญิงเหล่านี้ได้เป็นบริจาริกาของท่าน มีถึง
๑๖,๐๐๐นาง ท่านมีอานุภาพมากอย่างนี้ ไม่เคยมีใน
มนุษยโลก น่าขนพองสยองเกล้า.
ในภพปางก่อน ท่านทำกรรมอะไรไว้ จึงต้อง
นำทุกขเวทนามาสู่ตน ท่านทำกรรมอะไรไว้ในมนุษย-
โลก จึงต้องเคี้ยวกินเนื้อหลังของตนเองในบัดนี้.
[๒๒๙๑] ข้าพเจ้าเรียนจบไตรเพท หมกมุ่นอยู่
ในกามทั้งหลาย ได้ประพฤติเพื่อความฉิบหายใช่
ประโยชน์ แก่ชนเหล่าอื่น ตลอดกาลนาน.
บุคคลใดเป็นผู้ขูดเลือดเนื้อผู้อื่น บุคคลนั้นย่อม
ต้องควักเนื้อของตนกิน เช่นเดียวกับข้าพเจ้ากินเนื้อ
หลังของตนอยู่จนทุกวันนี้.
จบกิงฉันทชาดกที่ ๑
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 二月 17, 2020

Phaya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/309/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๘. มัลลิกาวิมาน
ว่าด้วยมัลลิกาวิมาน
พระนารทเถระได้ถามนางมัลลิกาเทพธิดาว่า
[๓๖] ดูก่อนนางเทพธิดา ผู้มีผ้านุ่งห่มและธง
ล้วนแต่สีเหลือง ประดับประดาด้วยเครื่องก็ล้วนเหลือง
เธอถึงจะไม่ประดับด้วยเครื่องประดับอันงดงามเหลือง
อร่ามเช่นนี้ ก็ยังงามโดยธรรมชาติ ดูก่อนนางเทพ-
ธิดา ผู้มีเครื่องประดับล้วนแต่ทองคำธรรมชาติ
แก้วไพฑูรย์ จินดา มีกายาปกคลุมไว้ด้วยร่างแห
ทองคำเหลืองอร่าม เป็นระเบียบงดงามด้วยสายแก้ว
สีต่าง ๆ สายแก้วเหล่านั้น ล้วนแต่สำเร็จด้วยทองคำ
ธรรมชาติ แก้วทับทิม แก้วมุกดา แก้วไพฑูรย์
บางสายก็ล้วนแล้วด้วยแก้วลายคล้ายตาแมว บ้างก็
สำเร็จด้วยแก้วแดงคล้ายสีเลือด บ้างก็สำเร็จด้วย
แก้วอันสดใสเหมือนสีตานกพิราบ เครื่องประดับ
ทั้งหมดที่ตัวของท่านนี้ทุก ๆ สาย ยามต้องลมพัด
มีเสียงไพเราะเหมือนเสียงนกยูง พญาอาทิผิด สระหงส์ทองหรือ
เสียงนกการเวก หรือมิฉะนั้นก็เสียงเบญจางคดุริย-
ดนตรี ที่พวกคนธรรพ์พากันบรรเลงเป็นคู่ ๆ อย่าง
ไพเราะน่าฟังก็ปานกัน อนึ่ง รถของท่านงดงามมาก
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 二月 15, 2020

Kwang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 76/182/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สิเนรุราชนั้น ตามลำดับ* เป็นที่สิ่งสถิตของ
มหาราชทั้งหลาย เป็นถิ่นประจำของหมู่เทพ
และพวกยักษ์.
ยังมีภูเขาชื่อหิมพานต์สูง ๕๐๐ โยชน์
ยาวและกว้าง ๓,๐๐๐ โยชน์ งดงามด้วยยอด
๘๔,๐๐๐ ยอด ชมพูทวีปรุ่งเรืองแล้วด้วย
อานุภาพแห่งต้นชมพูใด ต้นชมพู (ต้นหว้า)
นั้นวัดรอบลำต้นได้ ๑๕ โยชน์ มีกิ่งลำต้น
ยาว ๕๐ โยชน์รอบด้าน กว้างอาทิผิด ได้ร้อยโยชน์
สูงขึ้นร้อยโยชน์เหมือนกัน.
อนึ่ง ประมาณแห่งต้นชมพูนี้อันใด ต้นจิตตปาฏลี (แคฝอย) ของ
พวกอสูรก็ดี ต้นสิมพลี (ไม้งิ้ว) ของพวกครุฑก็ดี ต้นกทัมพะ (ไม้กระทุ่ม)
ในทวีปอมรโคยานก็ดี ต้นกัลปพฤกษ์อาทิผิด ในทวีปอุตตรกุรุก็ดี ต้นสิรีสะ ในทวีป
ปุพพวิเทหะก็ดี ต้นปาริฉัตตกะในดาวดึงส์ทั้งหลายก็ดี ก็มีประมาณนั้นเหมือน
กัน ด้วยเหตุนั้น พระโบราณาจารย์ทั้งหลายจึงกล่าวว่า
ต้นปาฏลี (แคฝอย) ๑ ต้นสิมพลี
(ไม้งิ้ว) ๑ ต้นชมพู (ไม้หว้า) ๑ ต้นปาริฉัตตกะ
(ต้นทองหลาง) ของพวกเทพ ๑ ต้นกทัมพะ
(ไม้กระทุ่ม) ๑ ต้นกัลปพฤกษ์ ๑ ต้นสิรีสะ
(ไม้ซึก) เป็นที่ ๗
* โยชนา เอเต สตต ปพพตา อนุปฏิปาฏิยา สมุคคตา โสปานสทิสา หุตฺวา ฐิตา ภูเขา
๗ เทือกเหล่านี้สูงขึ้นโดยลำดับเป็นเหมือนกับบันไดตั้งอยู่.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 二月 14, 2020

Chaek

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   2/44/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่เป็นอาบัติ
เพราะเนื้อเดนเสือเหลือง.
๔. ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหลายรูปลงจากภูเขาคิชฌกูฏ พบเนื้อ
เดนเสือดาว จึงใช้อนุปสัมบันให้ต้มแกงฉัน แล้วมีความรังเกียจ จึงกราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่เป็นอาบัติ
เพราะเนื้อเดนเสือดาว.
๕. ก็โดยสมัยนั้นแล ภิกษุหลายรูปลงจากภูเขาคิชฌกูฏ พบเนื้อเดน
สุนัขป่า จึงใช้อนุปสัมบันให้ต้มแกงฉัน แล้วมีความรังเกียจ จึงกราบทูลเรื่อง
นั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ไม่เป็นอาบัติ เพราะ
เนื้ออันสัตว์ดิรัจฉานหวงแหน.

เรื่องส่วนไม่มีมูล ๕ เรื่อง
[๑๓๘] ๑. ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่อข้าวสุกของสงฆ์อันภิกษุภัตตุทเทสก์
แจกอาทิผิด อักขระอยู่ ภิกษุรูปหนึ่งพูดว่า ขอท่านจงให้ส่วนของภิกษุอื่นอีก แล้วรับส่วนที่
ไม่มีมูลไป เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติปาราชิกแล้ว กระมังหนอ
จึงกราบทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้อง
อาบัติปาราชิก แต่ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะสัมปชานมุสาวาท.
๒. ก็โดยสมัยนั้นแล เมื่อของเคี้ยวของสงฆ์อันภิกษุขัชชภาชกะแจกอยู่
ภิกษุรูปหนึ่งพูดว่า ขอท่านจงให้ส่วนของภิกษุอื่นอีก แล้วรับส่วนที่ไม่มีมูลไป
เธอได้มีความรังเกียจว่า เราต้องอาบัติปาราชิกแล้ว กระมังหนอ จึงกราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ เธอไม่ต้องอาบัติปาราชิก
แต่ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะสัมปชานมุสาวาท.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 二月 13, 2020

Wethana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   82/56/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปทโสธนวาระ ปัจจนิก
[ ๒๕ ] ธรรมที่ไม่ชื่อว่ารูป, ไม่ชื่อว่ารูปขันธ์ ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่ารูปขันธ์, ไม่ชื่อว่ารูป ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าเวทนาอาทิผิด อักขระ, ไม่ชื่อว่าเวทนาขันธ์ ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าเวทนาขันธ์, ไม่ชื่อว่าเวทนา ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าสัญญา, ไม่ชื่อว่าสัญญาขันธ์ ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าสัญญาขันธ์, ไม่ชื่อว่าสัญญา ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าสังขาร, ไม่ชื่อว่าสังขารขันธ์ ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าสังขารขันธ์, ไม่ชื่อว่าสังขาร ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าวิญญาณ, ไม่ชื่อว่าวิญญาณขันธ์ ใช่ไหม ?
ธรรมที่ไม่ชื่อว่าวิญญาณขันธ์ ไม่ชื่อว่าวิญญาณ ใช่ไหม ?
ปทโสธนวาระ ปัจจนิก จบ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 二月 12, 2020

Chop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์    9/3/5  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๓] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์อาบน้ำ สีกาย คือ ขาบ้าง แขน
บ้าง อกบ้าง หลังบ้าง ที่ฝา ชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า ไฉน
พระสมณะเชื้อสายพระศากยบุตรทั้งหลายอาบน้ำ จึงได้สีกาย คือ ขาบ้าง
แขนบ้าง อกบ้าง หลังบ้าง ที่ฝา เหมือนพวกนักมวยผู้ชกกันด้วยหมัด เหมือน
พวกชาวบ้านผู้ชอบอาทิผิด อักขระแต่งผิวเล่า . . .
พระผู้มีพระภาคเจ้า รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุอาบน้ำ ไม่พึงสีกายที่ฝา รูปใดสี ต้องอาบัติทุกกฏ.
[๔] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์อาบน้ำ ย่อมอาบในสถานที่อันไม่สม-
ควร ชาวบ้านเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า.. . เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภค
กาม ภิกษุทั้งหลายได้ยินพวกนั้นเพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอาทิผิด อยู่ . . . จึงกราบ
ทูลเรื่องนั้นแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า . . . ทรงสอบถามภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้ง-
หลาย ข่าวว่า . . . จริงหรือ.
ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า จริง พระพุทธเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคพุทธเจ้าทรงติเตียน... ครั้นแล้วทรงทำธรรมีกถารับ
สั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอาบน้ำ ไม่พึงอาบในสถาน
ที่อันไม่สมควร รูปใดอาบ ต้องอาบัติทุกกฏ.
[๕] สมัยต่อมา พระฉัพพัคคีย์อาบน้ำถูด้วยมือที่ทำด้วยไม้ ชาวบ้าน
เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาว่า.... เหมือนพวกคฤหัสถ์ผู้บริโภคกาม ภิกษุ
ทั้งหลายได้ยินพวกนั้น เพ่งโทษ ติเตียน โพนทะนาอยู่ ... จึงกราบทูลเรื่อง
นั้น แด่พระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้า... รับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุไม่พึงอาบน้ำถูด้วยมือที่ทำด้วยไม้ รูปใดอาบ ต้องอาบัติทุกกฏ.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 二月 10, 2020

Klahan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 58/292/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๖. สาลุกชาดก
อุบายไม่ให้ถูกฆ่า
[๔๕๗] ท่านอย่าปรารถนาต่อหมูชื่อสาลุกะเลย
เพราะว่าหมูชื่อว่าสาลุกะนี้ บริโภคอาหาร
เป็นเครื่องเดือดร้อน ท่านจงเป็นผู้มีความ
ขวนขวายน้อย เคี้ยวกินแต่ข้าวลีบนี้เถิด
นี้เป็นลักษณะแห่งความอายุยืน.
[๔๕๘] ในไม่ช้า ราชบุรุษผู้มีบริวารมากนั้น ก็
จะเป็นแขกมาประชุมกัน ณ สถานที่นี้ ใน
กาลนั้นท่านก็จะได้เห็นหมูสาลุกะตัวนี้ อัน
เจ้าของให้ทุบด้วยสากตะลุมพุกนอนตายอยู่.
[๔๕๙] วัวชราทั้งสองตัวพอเห็นหมูสาลุกะผู้
กล้าหาญอาทิผิด อักขระอันเจ้าของทุบด้วยสากตะลุมพุก
นอนตายอยู่ ก็คิดร่วมกันว่า ข้าวลีบเท่านั้น
เป็นอาหารอย่างสูงสุดของเรา.
จบ สาลุกชาดกที่ ๖
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 二月 09, 2020

Thoi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 32/323/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
นั่งยังที่อยู่ของเรา บุรุษนี้ใหญ่แท้หนอ มานั่งขัดสมาธิภายในถ้ำ
ได้ แม้รัศมีสรีระของท่านก็แผ่ไปโดยรอบ เราไม่เคยเห็นสิ่งที่น่า
อัศจรรย์ถึงเพียงนี้ บุรุษนี้ จักเป็นยอดของปูชนียบุคคลในโลกนี้
แม้เราควรกระทำสักการะตามสติกำลังถวายพระองค์ จึงไปนำ
ดอกไม้ต่าง ๆ ทั้งที่เกิดในป่า ทั้งที่เกิดบนบกลาดเป็นอาสนะดอกไม้
ตั้งแต่พื้นจนถึงที่นั่งขัดสมาธิ ยืนนมัสการพระตถาคตในที่ตรง
พระพักตรตลอดคืนยังรุ่ง รุ่งขึ้นวันใหม่ก็นำดอกไม้เก่าออก เอา
ดอกไม้ใหม่ลาดอาสนะโดยทำนองนี้ เที่ยวตกแต่งปุบผาสนะถึง ๗ วัน
บังเกิดปีติโสมนัสอย่างแรง ยืนเฝ้าอยู่ที่ประตูถ้ำ ในวันที่ ๗ พระ-
ศาสดาออกจากนิโรธ ประทับยืนที่ประตูถ้ำ พระยาสีหะราชา
แห่งมฤคกระทำประทักษิณพระตถาคต ๓ ครั้ง ไหว้ในที่ทั้ง ๔
แล้วถอยอาทิผิด อักขระออกไปยืนอยู่ พระศาสดาทรงดำริว่า เท่านี้จักพอเป็น
อุปนิสัยแก่เธอ เหาะกลับไปพระวิหารตามเดิม ฝ่ายพระยาสีหะนั้น
เป็นทุกข์เพราะพลัดพรากพระพุทธองค์กระทำกาละแล้วถือปฏิสนธิ
ในตระกูลมหาศาลในกรุงหงสวดี เจริญวัยแล้ว วันหนึ่งไปพระวิหาร
กับชาวกรุง ฟังพระธรรมเทศนา บำเพ็ญมหาทาน ๗ วัน โดยนัย
ที่กล่าวแล้วแต่หลัง กระทำกาละในภพนั้น เวียนว่ายอยู่ในเทวดา
และมนุษย์ทั้งหลาย มาบังเกิดในตระกูลพราหมณ์มหาศาลใน
กรุงราชคฤห์ ในพุทธุปบาทกาลนี้ โดยชื่อมีชื่อว่า ภารทวาชะ
ท่านเจริญวัยแล้ว ศึกษาไตรเพทเที่ยวสอนมนต์แก่มาณพ ๕๐๐ คน
ท่านรับภิกษาของมาณพทุกคนด้วยตนเองเที่ยวในที่ที่เขาเชื้อเชิญ
เพราะตนเป็นหัวหน้า เขาว่าท่านภารทวาชะนี้เป็นคนมักโลเล
อยู่นิดหน่อย คือเที่ยวแสวงหาข้าวต้มข้าวสวยและของเคี้ยวไม่ว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 二月 07, 2020

Huang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 62/142/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ข้าแต่ภิกษุ ท่านสรรเสริญความเจริญ เป็นอัน
มากของภิกษุเหล่านั้น ส่วนข้าพเจ้า ยังกำหนัดในกาม
ทั้งหลาย จะทำอย่างไร กามทั้งหลายที่เป็นของมนุษย์
ทั้งที่เป็นของทิพย์ เป็นที่รักของข้าพเจ้า เมื่อเป็นเช่น
นั้น ข้าพเจ้าจักได้โลกทั้งสองด้วยเหตุไรหนอ.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า วณฺเณน ได้แก่ เหตุ.
ลำดับนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้า จึงทูลกะพระราชานั้นว่า
นรชนผู้กำหนัดในกาม ยินดีในกาม หมกมุ่น
อยู่ในกาม กระทำบาปกรรมแล้ว ย่อมเข้าถึงทุคติ
ส่วนนรชนเหล่าใด ละกามทั้งหลายออกไปแล้ว เป็น
ผู้ไม่มีภัยแต่ไหน ๆ ย่อมบรรลุถึงความที่จิตมีอารมณ์
เป็นหนึ่งเกิดขึ้น นรชนเหล่านั้น ย่อมไม่ไปสู่ทุคติ
ดูก่อนพระเจ้าอรินทมะ อาตมภาพจักแสดงอุปมา
ถวายมหาบพิตร ขอมหาบพิตร จงทรงสดับข้ออุปมา
นั้น บัณฑิตบางพวกในโลกนี้ ย่อมรู้เนื้อความได้ด้วย
ข้ออุปมา มีกาตัวหนึ่ง เป็นสัตว์มีปัญญาน้อย ไม่มี
ความคิด เห็นซากศพช้างลอยอยู่ในห้วงอาทิผิด อาณัติกะน้ำใหญ่ ใน
แม่น้ำคงคา จึงคิดว่า เราได้ยานนี้แล้วหนอ และซาก
ศพช้างนี้ จักเป็นอาหารจำนวนมิใช่น้อย ใจของกา
ตัวนั้น ยินดีแล้วในซากศพช้างนั้น ตลอดทั้งคืนทั้งวัน
เมื่อกาจิกกินเนื้อช้าง ดื่มน้ำมีรสเหมาะส่วน เห็นต้น
ไม้อาทิผิด อาณัติกะอันใหญ่ในป่า ก็ไม่ยอมบินไป แม่น้ำคงคามีปกติ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 二月 04, 2020

Arahat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 83/335/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วิจิกิจฉานุสัย จากที่นั้น ใช่ไหม ?
ไม่ใช่ ฯลฯ
จบ วิจิกิจฉานุสยมูละ ภวราคานุสยมูลี
วิจิกิจฉานุสยมูล จบ

ภวราคานุสยมูล
ภวราคานุสยมูละ อวิชชานุสยมูลี :-
[๑๓๘๑] บุคคลใด ละภวราคานุสัย จากที่ใด, บุคคลนั้น
ย่อมละอวิชชานุสัย จากที่นั้น ใช่ไหม ?
ใช่.
ก็หรือว่า บุคคลใด ละอวิชชานุสัย จากที่ใด, บุคคลนั้น ย่อมละ
ภวราคานุสัย จากที่นั้น ใช่ไหม ?
พระอริยบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยอรหัตมรรค ละอวิชชา-
นุสัย ที่เวทนา ๓ ในกามธาตุ พระอริยบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียง
ด้วยอรหัตมรรคนั้น ย่อมละอวิชชานุสัย จากที่นั้น แต่อาทิผิด พระอริยบุคคล
ผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยอรหัตอาทิผิด อักขระมรรคนั้น ไม่ใช่ย่อมละภวราคานุสัย
จากที่นั้น, บุคคลนั้นนั่นแหละ ย่อมละอวิชชานุสัย ที่รูปธาตุ
 
พระปิฎกธรรม