turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 36/64/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทำไมท่านไม่ให้เราเข้าไปเล่า. คนรับใช้กล่าวว่า แม่หนู ท่านเสนาบดีตั้งพวก
เราให้คอยรักษาการณ์ โดยสั่งว่า พวกเจ้าจงอย่าอาทิผิด สระให้ใคร ๆ อื่นนำของเคี้ยว
และของกินเข้ามาเป็นอันขาด. นางกล่าวว่า ก็พวกท่านเห็นของเคี้ยวของกิน
ในมือของฉันหรือ. คนรับใช้พูดว่า เห็นแต่พวงดอกไม้จ้ะ. นางถามว่า ท่าน
เสนาบดีของพวกท่านไม่ให้ทำแม้การบูชาด้วยดอกไม้ด้วยหรือ. คนรับใช้พูดว่า
ให้จ้ะแม่หนู. นางกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นพวกท่านหลีกไปสิ แล้วเข้าไปเฝ้าพระ-
ผู้มีพระภาคเจ้ากราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ขอพระองค์ทรงให้รับ
พวงดอกไม้เถิดพระเจ้าข้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแลดูคนรับใช้ของเสนาบดี
คนหนึ่ง แล้วให้รับพวงดอกไม้ไว้ นางถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า แล้ว
ตั้งความปรารถนาว่า เมื่อข้าพระบาทบังเกิดในภพน้อยภพใหญ่ ขออย่าให้มี
ชีวิตอยู่ด้วยความหวาดสะดุ้งเลย ในภพที่ข้าพระบาทเกิด ขอให้เป็นที่รักดุจ
พวงดอกไม้นี้ และขอให้มีชื่อว่า สุมนาเถิด. พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า เจ้า
จงมีความสุขเถิด ดังนี้ นางถวายบังคมแล้วกระทำประทักษิณ กราบทูลลา
กลับไป. พระผู้มีพระภาคเจ้าก็เสด็จไปยังเรือนของเสนาบดีประทับนั่งเหนือ
อาสนะที่เขาปูไว้ เสนาบดีถือข้าวยาคูน้อมเข้าไปถวาย. พระศาสดาทรงเอา
พระหัตถ์ปิดบาตรไว้. เสนาบดีกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ หมู่ภิกษุนั่งแล้ว
พระเจ้าข้า. พระศาสดาตรัสว่า เราได้บิณฑบาตหนึ่งในระหว่างทาง. เสนาบดี
นำมาลาออกได้เห็นบิณฑบาต . จูฬุปัฏฐากอาทิผิด อักขระคนรับใช้ใกล้ชิดกล่าวว่า นายขอรับ
ผู้หญิงพูดลวงกระผมว่าดอกไม้. ข้าวปายาสเพียงพอแก่ภิกษุทั้งหมด นับแต่
พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นต้นไป เสนาบดีได้ถวายไทยธรรมของตน. พระศาสดา
เสวยเสร็จแล้ว ตรัสมงคลกถาเสด็จกลับ. เสนาบดีถามว่า หญิงที่ถวายบิณฑบาต
ชื่อไร. ธิดาเศรษฐีขอรับ. เสนาบดีคิดว่า หญิงมีปัญญา เมื่อมาอยู่ในเรือน
ชื่อว่า สวรรค์สมบัติของบุรุษไม่ใช่หาได้ยากเลย ดังนี้ จึงนำนางนั้นมาตั้งไว้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/373/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เมื่อพระโพธิสัตว์ทูลดังนี้ พระเจ้าวิเทหราชทอดพระเนตรดูเสนกะ
ตรัสว่า มโหสถสรรเสริญคนมีปัญญาว่าเป็นผู้สูงสุดมิใช่หรือ เสนกะทูลว่า
ข้าแต่พระมหาราชเจ้า มโหสถยังเด็ก แม้จนวันนี้ปากของเธอก็ยังไม่สิ้นกลิ่น
น้ำนมมิใช่หรือ เธอจะรู้อะไร ทูลฉะนี้แล้วจึงกล่าวคาถานี้ว่า
ศิลปะนี้ หรือเผ่าพันธุ์ หรือร่างกาย ย่อมหาได้
จัดแจงโภคสมบัติให้ไม่ มหาชนย่อมคบหาโครวินท
เศรษฐีผู้มีเขฬะไหลจากคางทั้งสองข้าง ผู้ถึงความสุข
ผู้มีสิริต่ำช้า ข้าพระองค์เห็นความดังนี้ จึงทูลว่า คน
มีปัญญาเป็นคนเลวทราม คนมีสิริเป็นคนประเสริฐแท้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอฬมูคํ ได้แก่ มีน้ำลายไหลเลอะหน้า.
บทว่า โครวินฺทํ ความว่า ได้ยินว่า โครวินทะนั้นเป็นเศรษฐีมีสมบัติ ๘๐
โกฏิ ในพระนครนั้นแล มีรูปร่างแปลก ไม่มีบุตร ไม่มีธิดา ไม่รู้ศิลปะอะไร ๆ
เมื่อเขาพูด น้ำลายไหล ๒ ข้างลูกคาง มีสตรีสองคนดั่งเทพอัปสร ประดับ
ด้วยเครื่องประดับทั้งปวงถือดอกอุบลเขียวที่บานดีแล้ว ยืนอยู่สองข้างคอยรอง
รับน้ำลายด้วยดอกอุบลเขียวแล้วทิ้งอาทิผิด สระดอกอุบลทางหน้าต่าง ฝ่ายพวกนักเลงสุรา
เมื่อจะเข้าร้านเครื่องดื่ม มีความต้องการดอกอุบลเขียว ก็พากันไปประตูเรือน
ของเศรษฐีนั้น แล้วกล่าวว่า ข้าแต่นายโครวินทเศรษฐี ท่านเศรษฐีได้ยิน
เสียงนักเลงเหล่านั้น ยืนที่หน้าต่างกล่าวว่า อะไรพ่อ ขณะนั้นน้ำลายก็ไหล
จากปากของท่าน หญิงสองคนนั้นก็เอาดอกอุบลเขียวรองรับน้ำลายแล้วโยนทั้ง
ไปในระหว่างถนน พวกนักเลงก็เก็บดอกอุบลเหล่านั้นเอาไปล้างน้ำ แล้ว
ประดับตัวเข้าร้านเครื่องดื่ม เศรษฐีนั้นเป็นผู้สมบูรณ์ด้วยสิริอย่างนี้ เสนกะ
เมื่อแสดงเศรษฐีนั้นเป็นตัวอย่าง จึงกล่าวอย่างนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/346/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
องค์เป็นผู้อันปุณณกยักษ์นี้ได้มาแล้วโดยธรรม มิใช่
ได้มาด้วยกรรมอันสาหัสพระเจ้าข้า.
[๑๐๓๔] ท้าววรุณนาคราชอาทิผิด อักขระ ตรัสถามปัญหากะ
วิธุรบัณฑิต ฉันใด แม้พระนางวิมลานาคกัญญา ก็
ตรัสถามปัญหากะวิธุรบัณฑิต ฉันนั้น วิธุรบัณฑิตผู้
เป็นปราชญ์ อันท้าววรุณนาคราชตรัสถามแล้ว ได้
พยากรณ์ปัญหาให้ท้าววรุณนาคราชทรงยินดี ฉันใด
วิธุรบัณฑิตผู้เป็นนักปราชญ์ แม้พระนางวิมลานาค-
กัญญาตรัสถามแล้ว ก็พยากรณ์ให้นางวิมลานาค-
กัญญาทรงยินดี ฉันนั้น วิธุรบัณฑิตผู้เป็นนักปราชญ์
ทราบว่าพระยานาคราชผู้ประเสริฐ และพระนางนาค-
กัญญาทั้งสองพระองค์นั้น ทรงมีพระทัยชื่นชมโสมนัส
ไม่ครั่นคร้ามไม่กลัว ไม่ขนพองสยองเกล้า ได้กราบ
ทูลท้าววรุณอาทิผิด อักขระนาคราชว่า ข้าแต่พระยานาคราช ฝ่าพระ-
บาทอย่าทรงพระวิตกว่า ทรงกระทำกรรมของคนผู้
ประทุษร้ายมิตร และอย่าทรงพระดำริอาทิผิด ว่าจักฆ่าบัณฑิต
นี้ ขอฝ่าพระบาททรงกระทำกิจด้วยเนื้อหทัยของข้า
พระองค์ ตามที่ฝ่าพระบาททรงพระประสงค์เถิด ถ้า
ฝ่าพระบาทไม่ทรงสามารถจะฆ่าข้าพระองค์ ข้า-
พระองค์ จะทำถวายตามพระอัธยาศัยของฝ่าพระบาท
เอง พระเจ้าข้า.
[๑๐๓๕] ปัญญานั่นเอง เป็นหทัยของบัณฑิตทั้ง
หลาย เราทั้งสองนั้นยินดีด้วยปัญญาของท่านยิ่งนัก
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/391/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระผู้เป็นสารถีฝึกนระ ทรงเห็นประชา
สัตว์ที่ควรจะนำไปให้ตรัสรู้ได้ แม้ในสถานที่นับ
ด้วยโยชน์ไม่ถ้วน ก็รีบเสด็จไปทรงแนะนำ
ครั้งนั้น เราเป็นบุตรของพราหมณ์ใน
พระนครหังสวดี เป็นผู้เรียนจบทุกเวท เข้าใจ
ไวยากรณ์ ฉลาดในนิรุตติ เฉียบแหลมในคำภีร์
นิฆัณฑุ เข้าใจตัวบท รู้ชัดในคัมภีร์เกฏุภะอาทิผิด อักขระ ฉลาด
ในฉันท์และกาพย์กลอน
เมื่อเที่ยวเดินพักผ่อน ได้ไปถึงพระวิหาร
หังสาราม ได้เห็นพระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด
อันมหาชนแวดล้อม
เรามีมติเป็นข้าศึก เข้าไปเฝ้าพระพุทธ-
เจ้า ผู้ปราศจากกิเลสธุลี ซึ่งกำลังทรงแสดงธรรม
ได้สดับพระดำรัสอันงามของพระองค์อันปราศจาก
มลทิน
ไม่ได้พบเห็นพระดำรัส ที่ไร้ประโยชน์
ของพระมุนี คือ คำที่ชักอาทิผิด อักขระมาผิด คำที่ต้องกล่าวซ้ำ
หรือคำที่ไม่ถูกทาง เพราะฉะนั้นเราจึงได้บวช
โดยเวลาไม่นานเลยเราก็เป็นผู้แกล้วกล้า
ในธรรมทุกอย่าง ได้รับสมมติให้เป็นเจ้าหมู่เจ้า
คณะ ในพระพุทธพจน์อันละเอียด
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 71/502/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๔๙. อรรถกถาวฏังสกิยเถราปทาน
อปทานของท่านพระวฏังสกิยอาทิผิด อักขระเถระ มีคำเริ่มต้นว่า สุเมโธ นาม
นาเมน ดังนี้.
พระเถระแม้นี้ ก็ได้เคยบำเพ็ญกุศลมาแล้วในพระมุนินทพุทธเจ้า
พระองค์ก่อน ๆ ทุก ๆ ภพนั้นจะสั่งสมแต่บุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระ-
นิพพานเป็นประจำเสมอ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพระนามว่า
สุเมธะ ท่านได้เกิดในเรือนอันมีสกุล บรรลุนิติภาวะแล้ว ดำรงชีวิตอยู่
ในเพศฆราวาส แต่เพราะมองเห็นโทษในเพศฆราวาสนั้น จึงละเรือน
ออกบวชเป็นฤๅษี อยู่ในป่ามหาวัน. ในสมัยนั้นพระผู้มีพระภาคเจ้าทรง
พระนามว่า สุเมธะ. ได้เสด็จมาถึงป่านั้น เพื่อประสงค์ความสงัด.
ครั้งนั้น ดาบสนั้นได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว มีใจเลื่อมใส เก็บเอา
ดอกช้างน้าวซึ่งกำลังแย้มบานมาร้อยเป็นพวงมาลัย วางบูชาที่บาทมูลของ
พระผู้มีพระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงกระทำการอนุโมทนาแล้ว
เพื่อให้เขามีจิตเลื่อมใส. ด้วยบุญอันนั้น เขาจึงได้ท่องเที่ยวไปในเทวโลก
และมนุษยโลก ได้เสวยสมบัติในโลกทั้งสองแล้ว ในพุทธุปบาทกาลนี้
เขาได้เกิดในตระกูลที่สมบูรณ์ด้วยสมบัติ เจริญวัยแล้ว มีศรัทธาเลื่อมใส
จึงได้บวชแล้ว ไม่นานนักก็ได้เป็นพระอรหันต์.
ในกาลต่อมา ท่านได้ระลึกถึงบุพกรรมของตนได้ เกิดความโสม-
นัสใจ เมื่อจะประกาศถึงเรื่องราวที่ตนเคยได้ประพฤติมาแล้วในกาลก่อน
จึงกล่าวคำเริ่มต้นว่า สุเมโธ นาม นาเมน ดังนี้. บทว่า วิเวกมนุพฺรูหนฺโต
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 81/358/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
สัตตมภวิกกถา
[๑๕๑๒] ปรวาที ไม่พึงกล่าวว่า บุคคลผู้มีภพที่ ๗ เป็นอย่างยิ่ง
ละทุคคติได้ หรือ ?
สกวาที ถูกแล้ว.
ส. บุคคลผู้มีภพที่ ๗ เป็นอย่างยิ่ง พึงเข้าถึงนรก พึง
เข้าถึงกำเนิดดิรัจฉาน พึงเข้าถึงภูมิแห่งเปรต หรือ ?
ป. ไม่พึงกล่าวอย่างนั้น ฯลฯ
ส. ถ้าอย่างนั้น บุคคลเกิดในภพที่ ๗ ก็ละทุคคติได้ น่ะสิ.
สัตตมภวิกกถา จบ
อรรถกถาสัตตมภวิกกถาวัณณนายปิ เอเสว นโยติ
แม้ในการพรรณนากถาว่าด้วย พระโสดาบันผู้มีภพที่ ๗ ก็นัยนี้
นั่นแหละ คือเช่นเดียวกับเรื่องบุคคลผู้มีทิฏฐิสมบัติ ดังนี้แล.
อรรถกถาสัตตมภวิกกถา จบ
รวมกถาที่มีในวรรคนี้คือ
๑. สังวโรกัมมันติกถา ๒. กัมมกถา ๓. สัทโทวิปาโกติกถา
๔. สฬายตนกถา ๕. สัตตักขัตตุปรมกถา ๖. โกลังโกลเอกพีชีอาทิผิด อักขระกถา
๗. ชีวิตาโวโรปนกถา ๘. ทุคคติกถา ๙. สัตตมภวิกกถา.
วรรคที่ ๑๒ จบ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 51/43/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดอกกระดึงทอง ๓,๐๐๐ ดอกมาบูชา เราเป็นผู้มีความ
อิ่มใจ ประนมกรอัญชลี นมัสการทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า
ไหว้พระเจดีย์ทราย เหมือนถวายบังคมพระสัมพุทธเจ้า
ในที่เฉพาะพระพักตร์ ฉะนั้น ในเวลาที่กิเลสและความ
ตรึก เกี่ยวด้วยกามเกิดขึ้น เราย่อมนึกถึง เพ่งดูสถูป
ที่ได้ทำไว้ เราอาศัยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้นำสัตว์
ออกจากที่กันดาร ผู้นำชั้นพิเศษตักเตือนตนว่า ท่าน
ควรระวังกิเลสไว้ ดูก่อนท่านผู้นิรทุกข์ การยังกิเลส
ให้เกิดขึ้นไม่สมควรแก่ท่าน ครั้งนั้น เมื่อเราคำนึงถึง
พระสถูป ย่อมเกิดความเคารพขึ้นพร้อมกัน เราบรร-
เทาวิตกที่น่าเกลียดเสียได้ เปรียบเหมือนช้างตัว
ประเสริฐ ถูกเครื่องแทงหูเบียดเบียน ฉะนั้น เรา
ประพฤติอยู่เช่นนี้ ได้ถูกพระยามัจจุราชย่ำยี เราทำ
กาลกิริยา ณ ที่นั้นแล้ว ได้ไปยังพรหมโลก เราอยู่ใน
พรหมโลกนั้นตราบเท่าหมดอายุ แล้วมาบังเกิดใน
ไตรทิพย์ ได้เป็นจอมเทวดาเสวยราชสมบัติในเทวโลก
๘๐ ครั้ง ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๓๐๐ ครั้ง และได้
เป็นพระเจ้าประเทศราชอันไพบูลย์ โดยคณานับมิได้
เราได้เสวยผลของดอกกระดึงทองเหล่านั้น ดอก
กระดึงทอง ๒๒,๐๐๐ ดอก แวดล้อมเราทุกภพ เพราะ
เราเป็นผู้บำเรอพระสถูป ฝุ่นละอองย่อมไม่ติด
ที่ตัวเรา เหงื่อไม่ไหล เรามีรัศมีซ่านออกจากตัว โอ
พระสถูปเราได้สร้างไว้ดีแล้ว แม่น้ำอมริกาอาทิผิด สระ เราได้
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/631/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ทั้งหลาย เมื่อภิกษุนั้นปวารณาอยู่ ภิกษุรูปหนึ่งห้ามปวารณาของภิกษุรูปนั้น
สงฆ์พึงสอบสวนสืบสวนทั้ง ๒ ฝ่าย แล้วปรับอาบัติตามธรรม.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากภิกษุรูปนั้นทำกรณียกิจนั้น ในชนบทเสร็จ
แล้ว กลับมาสู่อาวาสนั้นภายในวันเพ็ญเดือน ๑๒ เป็นที่ครบ ๔ เดือน หาก
เมื่อภิกษุเหล่านั้นกำลังปวารณา ภิกษุอีกรูปหนึ่งงดปวารณาของภิกษุรูปนั้น
ภิกษุผู้งดปวารณา อันภิกษุผู้ถูกงดพึงกล่าวอย่างนี้ว่า อาวุโส ท่านไม่เป็นใหญ่
ในปวารณาของผม เพราะผมปวารณาเสร็จแล้ว ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย หากเมื่อ
ภิกษุเหล่านั้นปวารณาอยู่ ภิกษุนั้นงดปวารณาของภิกษุอีกรูปหนึ่ง ทั้ง ๒ ฝ่าย
สงฆ์พึงสอบสวนสืบสวนเป็นการสงฆ์ ปรับอาบัติตามธรรมแล้วจึงปวารณาเถิด.
ปวารณาอาทิผิด อักขระขันธกะที่ ๔ จบ
เรื่องในขันธกะนี้มี ๔๖ เรื่อง
หัวข้อประจำขันธกะ
[๒๕๒] ๑. เรื่องภิกษุจำพรรษาในโกศลชนบท มาเฝ้าพระศาสดา
๒. เรื่องจำพรรษาไม่ผาสุกเหมือนปศุอาทิผิด สัตว์อยู่ร่วมกัน ๓. เรื่องการปวารณาที่
เหมาะสมเพื่อว่ากล่าวกัน ๔. เรื่องพระฉัพพัคคีย์นั่งราบบนอาสนะปวารณา
๕. เรื่องวันปวารณามี ๒ วัน ๖. เรื่องอาการที่ทำปวารณา ๗. เรื่องให้
ภิกษุอาพาธมอบปวารณา ๘. เรื่องภิกษุถูกพวกญาติคุมตัวไว้ ๙. เรื่องภิกษุ
ถูกพระราชาคุมตัวไว้ ๑๐. เรื่องภิกษุถูกพวกโจรจับไว้ ๑๑. เรื่องภิกษุถูกพวก
นักเลงจับไว้ ๑๒. เรื่องภิกษุถูกภิกษุผู้เป็นข้าศึกจับไว้ ๑๓. เรื่องสงฆ์ปวารณา
๕ รูป ๑๔. เรื่องคณะปวารณา ๔ รูป ๑๕. เรื่องคณะปวารณา ๓ รูป
๑๖. เรื่องคณะปวารณา ๒ รูป ๑๗. เรื่องภิกษุรูปเดียวอธิษฐานปวารณา ๑๘.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/642/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เยภุยยสิกา มีนิทานเป็นนิทาน มีนิทานเป็นสมุทัย มีนิทานเป็นชาติ
มีนิทานเป็นแดนเกิดก่อน มีนิทานเป็นองค์ มีนิทานเป็นสมุฏฐาน
ติสสปาปิยสิกา มีนิทานเป็นนิทาน มีนิทานเป็นสมุทัย มีนิทานเป็น
ชาติ มีนิทานเป็นแดนเกิดก่อน มีนิทานเป็นองค์ มีนิทานเป็นสมุฏฐาน
ติณวัตถารกะ มีนิทานเป็นนิทาน มีนิทานเป็นสมุทัย มีนิทานเป็น
ชาติ มีนิทานเป็นแดนเกิดก่อน มีนิทานเป็นองค์ มีนิทานเป็นสมุฏฐาน
ถ. สัมมุขาวินัย มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็น
ชาติ มีอะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
สติวินัย มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ มีอะไร
เป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
อมูฬหวินัย มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ
มีอะไรเป็นเเดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
ปฏิญญาตกรณะ มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็น
ชาติ มีอะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
เยภุยยสิกา มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ มี
อะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
ตัสสปาปิยสิกา มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ
มีอะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
ติณวัตถารกะอาทิผิด สระ มีอะไรเป็นนิทาน มีอะไรเป็นสมุทัย มีอะไรเป็นชาติ
อะไรเป็นแดนเกิดก่อน มีอะไรเป็นองค์ มีอะไรเป็นสมุฏฐาน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/665/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในพระบัญญัติ คือ วินัยปิฎก และในอนุ-
โลมิกะ คือ มหาประเทศ เธอจงพิจารณา
วัตรคือการซักถามนั้น อย่าให้เสียคติที่เป็น
ไปในสัมปรายภพอาทิผิด อักขระ เธอผู้ใฝ่หาประโยชน์เกื้อ-
กูล จงซักถามถ้อยคำที่กอปรด้วยประโยชน์
โดยกาล สำนวนที่กล่าวโดยผลุนผลันของ
จำเลยและโจทก์ เธออย่าพึงเชื่อถือ โจทก์
ฟ้องว่าต้องอาบัติ แต่จำเลยปฏิเสธว่าไม่ได้
ต้องอาบัติ เธอต้องสอบสวนทั้งสองฝ่ายพึง
ปรับตามคำรับสารภาพ และถ้อยคำสำนวน
คำรับสารภาพ เรากล่าวไว้ในหมู่ภิกษุลัชชี
แต่ข้อนั้น ไม่มีในหมู่ภิกษุอลัชชี อนึ่ง ภิกษุ
อลัชชีพูดมาก เธอพึงปรับตามถ้อยคำสำ-
นวน ดังกล่าวแล้ว.
อลัชชีบุคคล
[๑,๐๗๐] อุ. อลัชชีเป็นคนเช่นไร
คำรับสารภาพของผู้ใดฟังไม่ขึ้น ข้าพระ-
พุทธเจ้าทูลถามพระองค์ถึงข้อนั้น คนเช่นไร
พระองค์ตรัสเรียกว่า อลัชชีบุคคล
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 28/470/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กัน คือ กำหนดธรรมที่เป็นไปในภูมิ ๓ ทั้งหมด ด้วยการกำหนดกลาปะ๑
แล้วพิจารณา จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์ เพราะฉะนั้น ภิกษุรูปที่ ๔ แม้
นั้น จึงบอกเฉพาะมรรคที่ตนบรรลุแล้ว.
ฝ่ายภิกษุรูปที่ถามนี้ ก็ยิ่งไม่พอใจด้วยคิดว่า คำพูดของภิกษุเหล่านี้
เข้ากันไม่ได้ (เพราะ) ภิกษุรูปที่ ๑ ดำรงอยู่ในสปเทสสังขารกล่าว
ภิกษุรูปที่ ๒ ดำรงอยู่ในนิปปเทสอาทิผิด อักขระสังขารกล่าว ภิกษุรูปที่ ๓ ก็เหมือนเดิม
คือดำรงอยู่ในสปเทสสังขารกล่าว ( ฝ่าย ) ภิกษุรูปที่ ๔ ก็ดำรงอยู่ใน
นิปปเทสสังขารเช่นกันกล่าว จึงได้เรียนถามภิกษุนั้นว่า ผู้มีอายุ นิพพาน
ซึ่งมีทัสสนะอันบริสุทธิ์นี้ ท่านรู้ได้ตามธรรมดาของตน หรือว่าใครบอก
ท่าน. ภิกษุนั้นก็ตอบว่า ผู้มีอายุ พวกผมจะรู้อะไร แต่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า
มีอยู่ในโลก กับทั้งเทวโลก พวกผมอาศัยพระองค์จึงรู้พระนิพพานนั้น.
ภิกษุรูปที่ถามนั้น คิดว่า ภิกษุเหล่านี้ ไม่สามารถบอกให้ถูกอัธยาศัย
ของเราได้ เราเองจะไปทูลถามพระสัพพัญญูพุทธเจ้าเท่านั้น จึงจะหมดความ
สงสัย ดังนี้แล้ว เข้าไปเฝ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าจนถึงที่ประทับ.
๑. ปาฐะว่า ยถา นาม ปาริภูมิโอติณฺโณ มหาหตฺถี หตฺเถน คเหตพฺพํ หตฺเถเนว
มุญฺจิตฺวา คณฺหาติ ปาเทหิ ปหริตฺวา คเหตพฺพํ ปหริตฺวา คณฺหาติ เอวเมว
สกลเตภูมิกธมเม กลาปคหเณ...ฉบับพม่าเป็น ยถานาม จาริภูมิํ โอติณฺโณ
มหาหตฺถี หตฺเถน คเหตพฺพํ หตฺเถเนว ลุญฺจิตฺวา คณฺหาติ ปาเทหิ ปหริตฺวา
คเหตพฺพํ ปาเทหิ ปหริตฺวา คณฺหาติ เอวเมว สกเล เตภูมิกธมฺเม กลาปคฺ-
คาเหน...แปลตามฉบับพม่า.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/403/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ภิกษุนั้น เธอส้องเสพเจริญกระทำให้มากซึ่งมรรคนั้น เมื่อเธอส้องเสพเจริญ
กระทำให้มากซึ่งมรรคนั้น ย่อมละสังโยชน์ได้ อนุสัยก็ย่อมสิ้นไป
อาวุโสทั้งหลาย ผู้ใดผู้หนึ่ง เป็นภิกษุก็ตาม ภิกษุณีก็ตาม มา
พยากรณ์การบรรลุพระอรหัตในสำนักของเรา ด้วยมรรค ๔ นี้ โดยประการ
ทั้งปวง หรือด้วยมรรคใดมรรคหนึ่งใน ๔ มรรคนั้น.
จบยุคนัทธอาทิผิด อักขระสูตรที่ ๑๐
จบปฏิปทาวรรคที่ ๒
อรรถกถายุคนัทธสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในยุคนัทธสูตรที่ ๑๐ ดังต่อไปนี้ :-
บทว่า สมถปุพฺพงฺคมํ ได้แก่ ทำสมถะไปเบื้องหน้า คือ ให้เป็น
ปุเรจาริก. บทว่า มคฺโค สญฺชายติ ได้แก่ โลกุตรมรรคที่ ๑ ย่อมเกิดขึ้น.
บทว่า โส ตํ มคฺคํ. ความว่า ชื่อว่าอาเสวนะเป็นต้น ไม่มีแก่มรรคอัน
เป็นไปในขณะจิตเดียว. แต่เมื่ออาทิผิด อาณัติกะยังมรรคที่ ๒ ให้เกิดขึ้น ท่านกล่าวว่า เธอ
ส้องเสพเจริญทำให้มากซึ่งมรรคนั้นนั่นแล. บทว่า วิปสฺสนา ปุพฺพงฺคมํ
ได้แก่ทำวิปัสสนาไปเบื้องหน้า คือ ให้เป็นปุเรจาริก บทว่า สมถํ ภาเวติ
ความว่า โดยปกติผู้ได้วิปัสสนาตั้งอยู่ในวิปัสสนา ย่อมยังสมาธิให้เกิดขึ้น.
บทว่า ยุคนทฺธํ ภเวติ ได้แก่ เจริญทำให้เป็นคู่ติดกันไป. ใน
ข้อนั้น ภิกษุไม่สามารถจะใช้จิตดวงนั้นเข้าสมาบัติ แล้วใช้จิตดวงนั้นนั่นแล
พิจารณาสังขารได้. แต่ภิกษุนี้เข้าสมาบัติเพียงใด ย่อมพิจารณาสังขาร
เพียงนั้น พิจารณาสังขารเพียงใด ย่อมเข้าสมาบัติเพียงนั้น. ถามว่า อย่างไร.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 64/419/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น วิกมฺเปยฺย ความว่า ราชเสวกไม่
พึงหวั่นไหวปฏิบัติราชกิจเหล่านั้น. บทว่า โย จสฺส ความว่า หนทางที่
เขาตบแต่งไว้เป็นอันดี เพื่อเป็นมรรควิถีเสด็จพระราชดำเนิน. บทว่า สุปฏิยา-
ทิโต ความว่า เป็นราชเสวกแม้จะได้พระราชานุญาตอาทิผิด สระ ก็ไม่ควรเดินไปทาง
นั้น.
ราชเสวกไม่พึงบริโภคสมบัติที่น่าใคร่ ทัดเทียม
กับพระราชาในกาลไหน ๆ ควรเดินหลังในทุกสิ่ง
ทุกอย่าง ราชเสวกนั้น พึงอยู่ในราชสำนักได้ ราช-
เสวกไม่ควรใช้สอยประดับประดาเสื้อผ้า มาลา เครื่อง
ลูบไล้ทัดเทียมกับพระราชาไม่พึงประพฤติอากัปกิริยา
หรือพูดจาทัดเทียมกับพระราชา ควรทำอากัปกิริยา
เป็นอย่างหนึ่ง ราชเสวกนั้นพึงอยู่ในราชสำนักได้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น รญฺโญ ความว่า เป็นราชเสวก
ไม่พึงบริโภคโภคสมบัติที่น่าใคร่ ทัดเทียมกับพระราชา เพราะพระราชาย่อม
ทรงกริ้วต่อบุคคลเช่นนั้น. บทว่า สพฺพตฺถ ความว่า พึงเดินตามหลัง ปฏิบัติ
ให้ต่ำกว่าทุกสิ่งทุกอย่าง ในกามคุณมีรูปเป็นต้น. บทว่า อญฺญํ กเรยฺย
ความว่า พึงกระทำอากัปกิริยาอย่างอื่น จากราชอากัปกิริยา. บทว่า ส ราชวสติํ
วเส ความว่า บุคคลนั้น พึงเข้าไปเฝ้าพระราชาแล้วพึงอยู่.
เมื่อพระราชาทรงพระสำราญอยู่กับหมู่อำมาตย์
อันพระสนมกำนัลในเฝ้าแหนอยู่ เสวกามาตย์เป็นผู้
ฉลาด ไม่พึงทำการทอดสนิท ในพระสนมกำนัลใน
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 38/509/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหตุอันบุคคลผู้มีปัสสัทธิวิบัติขจัดเสียแล้ว เมื่อสุขไม่มี สัมมาสมาธิชื่อว่า
มีเหตุอันบุคคลผู้มีสุขวิบัติขจัดเสียแล้ว เมื่อสัมมาสมาธิไม่มี ยถาภูตญาณ-
ทัสสนะ ชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มีสัมมาสมาธิวิบัติขจัดเสียแล้ว เมื่อยถาภูต-
ญาณทัสสนะไม่มี นิพพิทาชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มียถาภูตญาณทัสสนะวิบัติ
ขจัดเสียแล้ว เมื่อนิพพิทาไม่มี วิราคะชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มีนิพพิทาวิบัติ
ขจัดเสียแล้ว เมื่อวิราคะไม่มี วิมุตติญาณทัสสนะชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มี
วิราคะวิบัติขจัดเสียแล้ว.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เปรียบเทียบต้นไม้มีกิ่งและใบวิบัติแล้ว แม้
กะเทาะของต้นไม้นั้นย่อมไม่บริบูรณ์ แม้เปลือก แม้กะพี้ แม้แก่นอาทิผิด อักขระของ
ต้นไม้นั้น ก็ย่อมไม่บริบูรณ์ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อวิปฏิสารชื่อว่า
มีเหตุอันบุคคลผู้ทุศีลมีศีลวิบัติขจัดเสียแล้ว เมื่ออวิปฏิสารไม่มี ความ
ปราโมทย์ชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มีอวิปฏิสารวิบัติขจัดเสียแล้ว ฯลฯ วิมุตติ-
ญาณทัสสนะชื่อว่ามีเหตุอันบุคคลผู้มีวิราคะวิบัติขจัดเสียแล้ว ฉันนั้นเหมือน
กัน.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อวิปฏิสารของบุคคลผู้มีศีล สมบูรณ์ด้วยศีล
ย่อมเป็นธรรมมีเหตุสมบูรณ์ เมื่ออวิปฏิสารมีอยู่ ความปราโมทย์ของ
บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยอวิปฏิสาร ย่อมเป็นธรรมมีเหตุสมบูรณ์ เมื่อความ
ปราโมทย์มีอยู่ ปีติของบุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยความปราโมทย์ ย่อมเป็นธรรม
มีเหตุสมบูรณ์ เมื่อปีติมีอยู่ ปัสสัทธิของบุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยปีติ ย่อม
เป็นธรรมมีเหตุสมบูรณ์ เมื่อปัสสัทธิมีอยู่ สุขของบุคคลผู้สมบูรณ์ด้วย
ปัสสัทธิ ย่อมเป็นธรรมมีเหตุสมบูรณ์ เมื่อสุขมีอยู่ สัมมาสมาธิของ
บุคคลผู้สมบูรณ์ด้วยสุข ย่อมเป็นธรรมมีเหตุสมบูรณ์ เมื่อสัมมาสมาธิมีอยู่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 10/445/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้าพเจ้าจักตอบสมถขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้งนิเทศ พระ-
บัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๒ ตัว.
[๙๓๒] ข้าพเจ้าจักถามขุททกวัตถุขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อม
ทั้งนิเทศ พระบัญญัติสูงสุด ปรับอาบัติเท่าไร
ข้าพเจ้าจักตอบขุททกวัตถุขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้งนิเทศ
พระบัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๓ ตัว.
[๙๓๓] ข้าพเจ้าจักถามเสนาสนขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้ง
นิเทศ พระบัญญัติสูงสุด ปรับอาบัติเท่าไร
ข้าพเจ้าจักตอบเสนาสนขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้งนิเทศ
พระบัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๓ ตัว.
[๙๓๔] ข้าพเจ้าจักถามสังฆเภทอาทิผิด อักขระขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้ง
นิเทศ พระบัญญัติสูงสุด ปรับอาบัติเท่าไร
ข้าพเจ้าจักตอบสังฆเภทขันธกะ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้งนิเทศ
พระบัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๒ ตัว.
[๙๓๕] ข้าพเจ้าจักถามขันธกะว่าด้วยสมาจาร พร้อมทั้งนิทาน พร้อม
ทั้งนิเทศ พระบัญญัติสูงสุด ปรับอาบัติเท่าไร
ข้าพเจ้าจักตอบขันธกะว่าด้วยสมาจาร พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้ง
นิเทศ พระบัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๑ ตัว.
[๙๓๖] ข้าพเจ้าจักถามขันธกะว่าด้วยปาติโมกข์ พร้อมทั้งนิทาน
พร้อมทั้งนิเทศ พระบัญญัติสูงสุด ปรับอาบัติเท่าไร
ข้าพเจ้าจักตอบขันธกะว่าด้วยปาติโมกข์ พร้อมทั้งนิทาน พร้อมทั้ง
นิเทศ พระบัญญัติสูงสุดปรับอาบัติ ๑ ตัว.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/458/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
จึงไม่ถือความพอใจของเขาเป็นเกณฑ์ นำหญิงที่มีชาติตระกูลเสมอกัน
มาให้เขา. เขาก็มิได้คัดค้านมารดา ได้อยู่ร่วมกันกับหญิงนั้น. แม้หญิง
นั้นก็คิดว่า สามีของเราบำรุงเลี้ยงมารดาด้วยความอุตสาหะอันยิ่งใหญ่
แม้เราก็ควรจักบำรุงเลี้ยงท่าน เมื่อเราทำอย่างนี้ก็จักเป็นที่รักของสามี
คิดดังนี้แล้วก็บำรุงแม่ผัวโดยเคารพ. อุบาสกผู้เลี้ยงมารดาคิดว่า หญิงนี้
บำรุงเลี้ยงมารดาของเราโดยเคารพ จึงนับแต่นั้นมาเขาได้ให้ของกินที่มี
รสอร่อยที่ได้มา ๆ แก่นางผู้เดียว. ครั้นเวลาต่อมา หญิงนั้นคิดว่าบุรุษ
ผู้นี้ ให้ของกินที่มีรสอร่อย ๆ ที่ได้มา ๆ แก่เราเท่านั้น เขาคงจักต้อง
การขับไล่มารดาเป็นแน่ เราจักทำอุบายขับไล่แก่เขา นางลืมตัวคิดไป
โดยไม่ไตร่ตรองอย่างนี้ วันหนึ่ง จึงบอกสามีว่า คุณพี่ เมื่อพี่ออกไป
ข้างนอก มารดาของพี่ด่าฉัน. เขาได้นิ่งเสีย นางคิดว่าเราจักใส่โทษ
หญิงแก่นี้ แล้วทำตระกูลผัวให้แก่บุตร. ตั้งแต่นั้นมาเมื่อนางจะให้ข้าว
ยาคู ก็ให้ที่ร้อนจัดบ้าง เย็นจัดบ้าง ไม่เค็มบ้าง เค็มจัดบ้าง. เมื่อแม่ผัว
บอกว่า แม่หนู ข้าวยาคูร้อนจัด หรือเค็มจัด นางก็เติมน้ำเย็นใส่เสีย
จนเต็ม. เมื่อแม่ผัวบอกอีกว่า เย็นมากไป เค็มมากไป นางก็ส่งเสียง
ขึ้นว่า เมื่อกี้อาทิผิด สระแม่บอกว่า ร้อนจัด เค็มจัด ใครจักสามารถทำให้ถูกใจ
แม่ได้ แม้น้ำสำหรับอาบ นางก็ต้มจนร้อนจัดแล้วราดบนหลัง. เมื่อ
แม่ผัวบอกว่า แม่หนู หลังแม่ไหม้หมดแล้ว นางก็เอาน้ำเย็นเติมใส่
เสียจนเต็ม. เมื่อแม่ผัวบอกว่า เย็นจัดไป แม่หนู นางก็เที่ยวพูดกับ
ชาวบ้านว่า แม่ผัวฉันพูดว่า น้ำสำหรับอาบร้อนจัดอยู่เดี๋ยวนี้ แล้วกลับ
พระปิฎกธรรม