星期二, 三月 10, 2020

Rachanuyat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/419/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น วิกมฺเปยฺย ความว่า ราชเสวกไม่
พึงหวั่นไหวปฏิบัติราชกิจเหล่านั้น. บทว่า โย จสฺส ความว่า หนทางที่
เขาตบแต่งไว้เป็นอันดี เพื่อเป็นมรรควิถีเสด็จพระราชดำเนิน. บทว่า สุปฏิยา-
ทิโต ความว่า เป็นราชเสวกแม้จะได้พระราชานุญาตอาทิผิด สระ ก็ไม่ควรเดินไปทาง
นั้น.
ราชเสวกไม่พึงบริโภคสมบัติที่น่าใคร่ ทัดเทียม
กับพระราชาในกาลไหน ๆ ควรเดินหลังในทุกสิ่ง
ทุกอย่าง ราชเสวกนั้น พึงอยู่ในราชสำนักได้ ราช-
เสวกไม่ควรใช้สอยประดับประดาเสื้อผ้า มาลา เครื่อง
ลูบไล้ทัดเทียมกับพระราชาไม่พึงประพฤติอากัปกิริยา
หรือพูดจาทัดเทียมกับพระราชา ควรทำอากัปกิริยา
เป็นอย่างหนึ่ง ราชเสวกนั้นพึงอยู่ในราชสำนักได้.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า น รญฺโญ ความว่า เป็นราชเสวก
ไม่พึงบริโภคโภคสมบัติที่น่าใคร่ ทัดเทียมกับพระราชา เพราะพระราชาย่อม
ทรงกริ้วต่อบุคคลเช่นนั้น. บทว่า สพฺพตฺถ ความว่า พึงเดินตามหลัง ปฏิบัติ
ให้ต่ำกว่าทุกสิ่งทุกอย่าง ในกามคุณมีรูปเป็นต้น. บทว่า อญฺญํ กเรยฺย
ความว่า พึงกระทำอากัปกิริยาอย่างอื่น จากราชอากัปกิริยา. บทว่า ส ราชวสติํ
วเส ความว่า บุคคลนั้น พึงเข้าไปเฝ้าพระราชาแล้วพึงอยู่.
เมื่อพระราชาทรงพระสำราญอยู่กับหมู่อำมาตย์
อันพระสนมกำนัลในเฝ้าแหนอยู่ เสวกามาตย์เป็นผู้
ฉลาด ไม่พึงทำการทอดสนิท ในพระสนมกำนัลใน
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: