Yuet Thue
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 47/466/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เย กาเม หิตฺวา อคหา จรนฺติ
สุสํยตตฺตา ตสรํว อุชฺชุ.
ชนเหล่าใดละกามได้แล้วไม่ยึดอาทิผิด สระถือ
อะไรเที่ยวไป มีตนสำรวมดีแล้ว เหมือน
กระสวยที่พุ่งตรงไปฉะนั้น.
บทว่า ชเหตฺวา แปลว่า ละแล้ว. บาลีว่า ชหิตฺวา บ้าง. ความก็
อย่างเดียวกัน . บทว่า อตฺตทีปา ท่านกล่าวถึงพระขีณาสพทำที่พึ่งของตนเที่ยว
ไปในคุณของตน. ห อักษรในบทว่า เย เหตฺถ เป็นนิบาตในอรรถเพียงทำ
บทให้เต็ม. ข้อนี้มีอธิบายว่า ชนเหล่าใดรู้ความสืบต่อแห่งขันธ์และอายตนะ
เป็นต้นตามความเป็นจริงว่า นี้คือขันธ์และนี้คืออายตนะ เมื่อรู้สภาวะตามความ
เป็นจริงด้วยสามารถแห่งความเป็นของไม่เที่ยงเป็นต้น ย่อมรู้อย่างนี้ว่า อยมนฺ-
ติมา นตฺถิ ปุนพฺภโว ชาตินี้มีในที่สุด ภพใหม่ไม่มีดังนี้ อธิบายว่า ชาติ
ของเราทั้งหลายนี้มีในที่สุด บัดนี้ภพใหม่ไม่มี. บทว่า โย เวทคู ชนใดเป็น
ผู้ถึงเวท พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสคาถานี้หมายถึงพระองค์ในบัดนี้.
ในบทเหล่านั้น บทว่า สตีมา มีสติ คือประกอบด้วยสติอันเป็นวิหาร-
ธรรมเนืองนิตย์ ๖ อย่าง. บทว่า สนฺโพธิปตฺโต คือบรรลุสัพพัญญุตญาณ.
บทว่า สรณํ พหุนฺนํ คือเป็นที่พึ่งของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นอันมาก
ให้พ้นจากความกลัวและการเบียดเบียน.
พราหมณ์ครั้นได้ฟังทักขิไณยบุคคลอย่างนี้แล้วชอบใจ กราบทูลว่า
อทฺธา อโมฆา คำถามของข้าพระองค์ไม่เปล่าประโยชน์แน่นอน.
ในบทเหล่านั้น บทว่า ตฺวญฺเหตฺถ ชานาสิ ยถา ตถา อิทํ พระ-
องค์ทรงทราบไญยธรรมนี้ในโลกนี้อย่างถ่องแท้ ความว่า จริงอยู่พระองค์ทรง
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论