星期五, 十二月 31, 2021

Lup Lai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/794/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期四, 十二月 30, 2021

Aparamatthapi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 75/181/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期三, 十二月 29, 2021

Bhagavato

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/429/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปฏิสัมภิทา ๔ ฯลฯ คำสอนของพระพุทธ-
เจ้า ข้าพเจ้าได้ทำเสร็จแล้ว.
ทราบว่า ท่านพระนทีกัสสปเถระ ได้กล่าวคาถาเหล่านี้ไว้ ด้วย
ประการฉะนี้แล.
จบนทีกัสสปเถราปทาน

๕๕๒. อรรถกถานทีกัสสปเถราปทาน

พึงทราบเรื่องราวในอปทานที่ ๒ ดังต่อไปนี้:-
อปทานของท่านพระนทีกัสสปเถระ มีคำเริ่มต้นว่า ปทุมุตฺตรสฺส
ภวคโตอาทิผิด ดังนี้.
แม้พระเถระรูปนี้ ก็ได้เคยบำเพ็ญกุศลมาแล้ว ในพระพุทธเจ้าพระ-
องค์ก่อน ๆ ได้สั่งสมบุญอันเป็นอุปนิสัยแห่งพระนิพพานไว้เป็นอันมากในภพ
นั้น ๆ ในกาลแห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ปทุมุตตระ ท่านได้บังเกิด
ในเรือนอันมีสกุล บรรลุนิติภาวะแล้ว วันหนึ่งได้มองเห็นพระศาสดาเสด็จไป
บิณฑบาตแล้ว มีใจเลื่อมใส ได้น้อมถวายผลมะม่วงผลหนึ่ง มีสีดุจมโนศิลา
ซึ่งบังเกิดผลครั้งแรก ของต้นมะม่วงที่ตนเองปลูกไว้. ด้วยบุญกรรมอันนั้น
เขาจึงท่องเที่ยวไปในเทวโลกและมนุษย์โลก ในพุทธุปบาทกาลนี้ ได้บังเกิด
เป็นน้องชายของท่านอุรุเวลกัสสปะ. ในตระกูลพราหมณ์ ในแคว้นมคธะ ไม่
ปรารถนาอยู่เป็นฆราวาส เพราะมีอัธยาศัยเพื่อออกจากทุกข์ จึงบวชเป็น
พระดาบสได้พร้อมกับพวกพระดาบสจำนวน ๓๐๐ คน ช่วยกันสร้างอาศรม
พระปิฎกธรรม

星期日, 十二月 26, 2021

Tathakhot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 9/442/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๕๑๔] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ในกรุงกบิลพัสดุ์ ตาม
พระพุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จหลีกจาริกทางพระนครเวสาลี เสด็จจาริกโดยลำดับ
ถึงพระนครเวสาลี ข่าวว่า พระองค์ประทับอยู่ที่กูฏาคารสาลาป่ามหาวัน เขต
พระนครเวสาลีนั้น.
ครั้งนั้น พระนางมหาปชาบดีโคตมีให้ปลงพระเกสา ทรงพระภูษา
ย้อมฝาด พร้อมด้วยนางสากิยานีมากด้วยกัน เสด็จหลีกไปทางพระนครเวสาลี
เสด็จถึงเมืองเวสาลี กูฏาคารสาลาป่ามหาวัน โดยลำดับ เวลานั้นพระนางมี
พระบาททั้งสองพอง มีพระวรกายเกลือกกลั้วด้วยธุลี มีทุกข์ เสียพระทัย มี
พระพักตร์นองด้วยน้ำพระเนตร ได้ประทับยืนกันแสงอยู่ที่ซุ้มพระทวาร
ภายนอก.
ท่านพระอานนท์ได้เห็นพระนางมหาปชาบดีโคตมี มีพระบาททั้งสอง
พอง มีพระวรกายเกลือกกลั้วด้วยธุลี มีทุกข์ เสียพระทัย มีพระพักตร์นอง
ด้วยน้ำพระเนตร ประทับยืนกันแสงอยู่ที่ซุ้มพระทวารภายนอก ครั้นแล้วได้
ถามว่า ดูก่อนโคตมี เพราะเหตุไร พระนางจึงมีพระบาททั้งสองพอง มี
พระวรกายเกลือกกลั้วด้วยธุลี มีทุกข์ เสียพระทัย มีพระพักตร์ชุ่มด้วยน้ำ
พระเนตร ประทับยืนกันแสงอยู่ที่ซุ้มพระทวารภายนอก.
พระนางตอบว่า พระอานนท์เจ้าข้า เพราะพระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ทรง
อนุญาตให้สตรีออกจากเรือนบวชเป็นบรรพชิต ในพระธรรมวินัยที่พระคถาคตอาทิผิด
ประกาศแล้ว .
พระอานนท์กล่าวว่า ดูก่อนโคตมี ถ้าเช่นนั้น พระนางจงรออยู่ที่นี่
แหละสักครู่หนึ่ง จนกว่าอาตมาจะทูลขอพระผู้มีพระภาคเจ้าให้สตรีออกจากเรือน
บวชเป็นบรรพชิต ในพระธรรมวินัยที่พระตถาคตประกาศแล้ว .
พระปิฎกธรรม

星期四, 十二月 23, 2021

Chanu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/41/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่าด้วยการอาราธนาของพรหม

[๔๔] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้นแล ท้าวมหาพรหมองค์หนึ่งได้ทราบ
พระปริวิตกในพระทัยของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาอาทิผิด สัมพุทธเจ้าพระนามว่า
วิปัสสี ด้วยใจ แล้วจึงดำริว่า ผู้เจริญทั้งหลาย โลกจะฉิบหายเสียละหนอ ผู้เจริญ
ทั้งหลายโลกจะพินาศเสียละหนอ เพราะว่าพระทัยของพระผู้มีพระภาคอรหันต
สัมมาสัมพุทธเจ้า พระนามว่าวิปัสสี ได้น้อมไปเพื่อความขวนขวายน้อยเสีย
แล้ว มิได้น้อมไปเพื่อจะทรงแสดงธรรม.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้นแล ท้าวมหาพรหมนั้นหายไปในพรหมโลก
มาปรากฏอาทิผิด อักขระเฉพาะพระพักตร์พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า
วิปัสสี เหมือนบุรุษที่มีกำลัง เหยียดออกซึ่งแขนที่คู้เข้าไว้ หรือคู้เข้าซึ่งแขนที่
ได้เหยียดออกไว้ฉะนั้น.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้นแล ท้าวมหาพรหมกระทำผ้าอุตตราสงค์
เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง คุกชานุมณฑลอาทิผิด อักขระเบื้องขวาลงบนแผ่นดิน ประนมมือไปทางที่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี ประทับอยู่แล้วได้
กราบทูลกะพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสีว่า ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงแสดงธรรม ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ขอพระสุคตอาทิผิด สระจงทรงแสดงธรรม ในโลกนี้สัตว์ที่มีกิเลสเพียงดังธุลีในจักษุเบาบาง
ยังมีอยู่ เพราะมิได้ฟังธรรม สัตว์เหล่านั้นจึงเสื่อมเสียไป ผู้ที่รู้ทั่วถึงธรรมได้
ยังจักมี.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย เมื่อท้าวมหาพรหมนั้นกราบทูลเช่นนี้ พระผู้มี
พระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี ได้ตรัสกะท้าวมหาพรหม
นั้นว่า ดูกรพรหม แม้เราก็ได้ดำริแล้วเช่นนี้ว่า ไฉนหนอ เราพึงแสดงธรรม
ดูกรพรหม แต่เรานั้นได้คิดเห็นดังนี้ว่า ธรรมที่เราบรรลุแล้วนี้ เป็นธรรมลึกซึ้ง
เห็นได้ยาก รู้ตามได้ยาก สงบประณีต จะคาดคะเนเอาไม่ได้ ละเอียด รู้ได้เฉพาะ
พระปิฎกธรรม

星期三, 十二月 22, 2021

Krachap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/203/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระสมณโคดมถูกถามอย่างนี้แล้ว จะทรงพยากรณ์อย่างนี้ว่า ดูก่อนราชกุมาร
ตถาคตไม่พึงกล่าววาจาอันไม่เป็นที่รัก ไม่เป็นที่ชอบใจของคนอื่น ดังนี้ไซร้
พระองค์พึงทูลพระสมณโคดมอย่างนี้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เมื่อเป็นอย่าง
นั้น อย่างไรพระองค์จึงทรงพยากรณ์พระเทวทัตว่า เทวทัตจักเกิดในอบาย
จักเกิดในนรก ตั้งอยู่สิ้นกัปหนึ่ง เป็นผู้อันใครๆ เยียวยาไม่ได้ ดังนี้ เพราะ
พระวาจาของพระองค์นั้น พระเทวทัตโกรธ เสียใจ ดูก่อนพระราชกุมาร
พระสมณโคดมถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้ว จะไม่อาจกลืนเข้า ไม่
อาจคายออกได้เลย เปรียบเหมือนกระจับอาทิผิด อักขระเหล็กที่ติดอยู่ในคอของบุรุษ บุรุษนั้น
จะไม่อาจกลืนเข้า ไม่อาจคายออกได้ ฉันใด ดูก่อนราชกุมาร พระสมณ-
โคดมก็ฉันนั้น ถูกพระองค์ทูลถามปัญหาสองเงื่อนนี้แล้วจะไม่อาจกลืนเข้า ไม่
อาจคายออกได้เลย.
อภัยราชกุมารรับคำนิครนถ์นาฏบุตรแล้ว เสด็จลุกจากอาสนะ ทรง
อภิวาทนิครนถ์นาฏบุตร ทรงทำประทักษิณแล้วเสด็จเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระ-
ภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วประทับนั่ง ณ ที่ควร
ส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว ทรงแหงนดูพระอาทิตย์ทรงพระดำริว่า วันนี้มิใช่
กาลจะยกวาทะแก่พระผู้มีพระภาคเจ้า วันพรุ่งนี้เถิด เราจักยกวาทะแก่พระผู้
มีพระภาคเจ้าในนิเวศน์ของเราดังนี้แล้ว จึงกราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคเจ้ามีพระองค์เป็นที่ ๔ จงทรงรับ
ภัตตาหารของหม่อมฉัน เพื่อเสวยในวันพรุ่งนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับ
ด้วยดุษณีภาพ ลำดับนั้น อภัยราชกุมารทรงทราบว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงรับแล้ว เสด็จลุกจากอาสนะ ถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ทำอาทิผิด ประทัก-
ษิณแล้ว เสด็จหลีกไป ครั้งนั้น พอล่วงราตรีนั้นไป เวลาเช้า พระผู้มี-
พระปิฎกธรรม

星期二, 十二月 21, 2021

Nikhron

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/120/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนคฤหบดี ท่านจงมนสิการ ครั้นแล้ว จงพยากรณ์ คำหลังกับ
คำก่อนก็ดี คำก่อนกับคำหลังก็ดี ของท่านไม่ต่อกันเลย ดูก่อนคฤหบดี ก็ท่าน
กล่าวคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าจะมั่นอยู่ในคำสัตย์เจรจาต่อกัน
ขอเราทั้งสองจงเจรจาปราศรัยกันในเรื่องนี้เถิด.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้ก็จริง ถึงอย่าง
นั้นกายทัณฑะเท่านั้นมีโทษมากกว่า ในการทำบาปกรรมในการเป็นไปแห่งบาป
กรรม วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมากเหมือนกายทัณฑะไม่.
[๗๐] ดูก่อนคฤหบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน นิครนถ์อาทิผิด อักขระ
ในโลกนี้พึงเป็นผู้สำรวมด้วยการสังวรโดยส่วน ๔ คือห้ามน้ำทั้งปวง ประกอบ
ด้วยการห้ามบาปทั้งปวง กำจัดบาปด้วยการห้ามบาปทั้งปวง อันการห้ามบาป
ทั้งปวงถูกต้องแล้วเมื่อเขาก้าวไป ถอยหลัง ย่อมถึงการฆ่าสัตว์ตัวเล็ก ๆ เป็น
อันมาก ดูก่อนคฤหบดี ก็นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติวิบากเช่นไรแก่นิครนถ์ผู้นี้.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นิครนถ์นาฏบุตรมิได้บัญญัติกรรม อันเป็นไป
โดยไม่จงใจว่ามีโทษมากเลย.
ดูก่อนคฤหบดี ก็ถ้าจงใจเล่า.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นกรรมมีโทษมาก.
ดูก่อนคฤหบดี ก็นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในส่วนไหน.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในส่วนมโน-
ทัณฑะ.
ดูก่อนคฤหบดี ท่านจงมนสิการ ครั้นแล้ว จงพยากรณ์ คำหลังกับ
คำก่อนก็ดี คำก่อนกับคำหลังก็ดี ของท่านไม่ต่อกันเลย ดูก่อนคฤหบดี ก็ท่าน
กล่าวคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าจะมั่นอยู่ในคำสัตย์เจรจากัน ขอ
เราทั้งสองจงเจรจาปราศัยกันในเรื่องนี้เถิด.
พระปิฎกธรรม

星期日, 十二月 19, 2021

Angkhuttara

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 55/209/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อาการละอาย ถูกอุจจาระ ปัสสาวะบีบคั้นจนอาจมเล็ดก็ถ่ายอุจจาระ ปัสสาวะ
ไม่ได้ ฉะนั้น บุคคลบางคนกลัวภัยในอบายจึงไม่กระทำบาปกรรม ในข้อนั้น
มีความอุปมาดังต่อไปนี้:-
เหมือนอย่างว่า ในก้อนเหล็ก ๒ ก้อน ก้อนหนึ่งเย็น แต่เปื้อนคูถ
ก้อนหนึ่งร้อน ไฟติดโพลง. ในก้อนเหล็ก ๒ ก้อนนั้น บัณฑิตเกลียดไม่จับ
ก้อนเย็น เพราะก้อนเย็นเปื้อนคูถ ไม่จับก้อนร้อน เพราะกลัวไฟไหม้ฉันใด.
ในข้อที่ว่าด้วยหิริและโอตตัปปะนั้นก็ฉันนั้น พึงทราบการหยั่งลงสู่ลัชชีธรรมอัน
เป็นภายในแล้วไม่ทำบาปกรรม เหมือนบัณฑิตเกลียดก้อนเหล็กเย็นที่เปื้อนคูถ
จึงไม่จับ และพึงทราบการไม่ทำบาปเพราะกลัวภัยในอบาย เหมือนการที่บัณฑิต
ไม่จับก้อนเหล็กร้อน เพราะกลัวไหม้ฉะนั้น.
แม้บททั้งสองนี้ที่ว่า หิริมีลักษณะยำเกรง โอตตัปปะมีลักษณะกลัว
โทษและเห็นภัย ดังนี้ ย่อมปรากฏเฉพาะในการงดเว้นจากบาปเท่านั้น. จริง
อยู่. คนบางคนยังหิริอันมีลักษณะยำเกรงให้เกิดขึ้นด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ
พิจารณาถึงความเป็นใหญ่โดยชาติ ๑ พิจารณาถึงความเป็นใหญ่แห่งอาทิผิด อักขระ
พระศาสดา ๑ พิจารณาถึงความเป็นใหญ่โดยทรัพย์มรดก ๑ และ
พิจารณาถึงความเป็นใหญ่แห่งเพื่อนพรหมจารี ๑ แล้วไม่ทำบาป.
คนบางคนยังโอตตัปปะอันมีลักษณะกลัวโทษและมักเห็นภัย ให้ตั้งขึ้น
ด้วยเหตุ ๔ ประการ คือ ภัยในการติเตียนตน ๑ ภัยในการที่คนอื่น
ติเตียน ๑ ภัยคืออาชญา ๑ และภัยในทุคติ ๑ แล้วไม่ทำบาป ในข้อ
ที่ว่าด้วยหิริโอตตัปปะนั้น พึงกล่าวการพิจารณาความเป็นใหญ่โดยชาติเป็นต้น
และภัยในการติเตียนตนเป็นต้น ให้พิสดาร ความพิสดารอาทิผิด อักขระของการพิจารณา
ความเป็นใหญ่โดยชาติเป็นต้นเหล่านั้น ได้กล่าวไว้แล้วในอรรถกถาอังคุตตรอาทิผิด สระ-
นิกาย.
พระปิฎกธรรม

星期三, 十二月 15, 2021

Rueang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 20/538/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในกามและความชื่นชมในภพเป็นต้น. แล้วกล่าวติรัจฉานกถาหลายอย่าง มี
พูดถึงเรื่องพระราชาเป็นต้นโดยลำดับ. จริงอยู่การพูดอันเป็นการขัดขวาง
ทางสวรรค์และนิพพาน ชื่อว่า ติรัจฉานกถา เพราะไม่นำออกไปจากภพได้
ในกถาเหล่านั้นการพูดถึงเรื่องอาทิผิด ของพระราชาเป็นไปโดยนัยมีอาทิว่า พระเจ้ามหา-
สมมตราช พระเจ้ามันธาตุราช พระเจ้าธรรมาโศกราช มีอานุภาพอย่างนี้
ชื่อว่า ราชกถา. ในโจรกถาเป็นต้นก็มีนัยนี้เหมือนกัน. การพูดอาศัยกามคุณ
โดยนัยมีอาทิว่า พระราชาองค์โน้น พระรูปพระโฉมงดงาม น่าชม ดังนี้ ก็เป็น
ติรัจฉานกถา. แต่การพูดเป็นทำนองอย่างนี้ว่า แม้พระราชาองค์นั้นมีอานุภาพ
มากอย่างนี้ ก็ยังสวรรคตดังนี้ ชื่อว่าย่อมตั้งอยู่ในความเป็นกรรมฐานกถา.
แม้ในโจรทั้งหลายการพูดอาศัยกามคุณว่า โอ เขากล้าหาญ เพราะอาศัยกรรม
ของโจรเหล่านั้นว่า โจรมูลเทพมีอานุภาพมากอย่างนี้ โจรเมฆมาละ มีอานุภาพ
มากอย่างนี้ ดังนี้ ก็เป็น ติรัจฉานกถา. แม้ในการรบ การพูดในภารตยุทธ
เป็นต้น ด้วยความพอใจ ในกามว่าคนโน้น ถูกคนโน้นฆ่าอย่างนี้ ถูกแทง
อย่างนี้ ดังนี้ก็เป็น ติรัจฉานกถา. แต่การพูดในเรื่องทั้งหมดเป็นทำนอง
อย่างนี้ว่า แม้ชนเหล่านั้นก็ยังตายได้ดังนี้เป็นกรรมฐานกถาทีเดียว.
อีกอย่างหนึ่งในเรื่องข้าวเป็นต้น ไม่ควรพูดด้วยสามารถความชื่นชม
ในกามว่า เราเคี้ยว กิน ดื่ม บริโภค ข้าวเป็นต้นมีสี มีกลิ่น มีรส มีผัสสะอย่าง
นี้. แต่ควรพูดถึงเรื่องน้ำเป็นต้นทำให้มีประโยชน์ว่า เราได้ถวายข้าวผ้าที่นอน
ดอกไม้ ของหอมอันสมบูรณ์ด้วยสีอย่างนี้แก่ท่านผู้มีศีลในครั้งก่อน. เราได้ทำ
การบูชาที่พระเจดีย์ดังนี้. แม้ในการพูดถึงเรื่องญาติเป็นต้น ก็ไม่ควรพูดด้วย
สามารถความชื่นชมว่า ญาติของเราเป็นผู้กล้า เป็นผู้สามารถ หรือว่าเมื่อก่อน
เราได้เที่ยวไปด้วยยานอันสวยงามอย่างนี้. แต่ควรพูดทำให้มีประโยชน์ว่า แม้
พระปิฎกธรรม

星期一, 十二月 13, 2021

Duai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 1/116/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
พระรักขิตเถระ ผู้มีฤทธิ์มาก ไปยัง
วนวาสีชนบทแล้ว ได้ยืนอยู่บนอากาศ
กลางหาว แล้วแสดงอาทิผิด อักขระอนมตักคิยกถา (แก่
มหาชน) ในวนวาสีชนบทนั้นแล.
[พระโยนกอาทิผิด อักขระธรรมรักขิตเถระไปประกาศพระศาสนาที่อปรันตกอาทิผิด อักขระชนบท]
ฝ่ายพระโยนกธรรมรักขิตเถระ ไปยังอปรันตกชนบทแล้ว ให้ชน
ชาวอปรันตกชนบทเลื่อมใส ด้วยอัคคิขันธูปมสุตตันตกถา๑แล้ว ก็ให้สัตว์
ประมาณสามหมื่นเจ็ดพันดื่มอมตธรรม. บุรุษออกบรรพชา แต่ขัตติยตระกูล
หนึ่งพันคน. และสตรีออกบรรพชาหกพันถ้วน.พระเถระนั้นได้ประดิษฐาน
พระศาสนาให้ดำรงมั่นอยู่ในอปรันตกชนบทนั้นแล้ว ด้วยประการฉะนี้.
พระโยนกธรรมรักขิตเถระ ย่างเข้า
สู่อปรันตกอาทิผิด อักขระชนบทแล้ว ก็ให้ชนเป็นอันมาก
ในอปรันตกชนบทนั่นเลื่อมใสแล้ว ด้วย
อัคคิขันธูปมสูตร๒ แล.
[พระมหาธรรมรักขิตเถระไปประกาศพระศาสนาที่มหารัฐ]
ส่วนพระมหาธรรมรักขิตเถระ ไปยังมหารัฐชนบทแล้ว ให้ชนชาว
มหารัฐชนบทเลื่อมใส ด้วยอาทิผิด อักขระมหานารทกัสสปชาดกกถา ๓ แล้ว ก็ให้สัตว์ประมาณ
แปดหมื่นสี่พันตั้งอยู่ในมรรคและผล. ประชาชนจำนวนหนึ่งหมื่นสามพันคน
บวชแล้ว. พระเถระนั้น ได้ประดิษฐานพระศาสนาให้ดำรงมั่นอยู่ในมหารัฐ
ชนบทนั้นแล้ว ด้วยประการฉะนี้.
๑. องฺ สตฺตก. ๒๓/๑๒๙-๑๓๗. ๒-๓. สํ. นินทาน. ๑๖/๒๑๒-๒๒๘.
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 11, 2021

Than

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 58/651/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ก็พร่าพราย. เศรษฐีนั้นไม่อาจดำรงสติไว้ได้ จึงล้มทับหญ้าลงไป.
ท้าวสักกะเสด็จเที่ยวตรวจดูกิริยาอาการของเศรษฐีนั้นอยู่. ทันใดนั้น
ท้าวเธอเสด็จมาประทับยืนในอากาศ ตรัสกล่าวอาทิผิด คาถาที่ ๑ ว่า :-
ดูก่อนวิสัยหะ แต่ก่อนท่านได้ให้ทานอาทิผิด อาณัติกะ
เมื่อท่านให้อยู่อย่างนั้น ความเสื่อมได้มี
แก่อาทิผิด อักขระท่านแล้ว ต่อแต่นั้นไป ถ้าท่านจักไม่ให้
ทานอาทิผิด อาณัติกะไซร้ เมื่อท่านประหยัดไว้ โภคะทั้งหลาย
ก็คงดำรงอยู่ตามเดิม.
อธิบายคำที่เป็นคาถานั้นว่า ท่านวิสัยหะผู้เจริญ เมื่อก่อน
แต่กาลนี้ เมื่อทรัพย์ในเรือนของท่านยังมีอยู่ ท่านได้ให้ทานทำ
สกลชมพูทวีปทั้งสิ้นให้ยกงอนไถขึ้นแล้ว และเมื่อท่านนั้นให้ทานอยู่
อย่างนี้ ธรรมคือความเสื่อมได้แก่สภาวะคือความเสื่อมโภคะจึงได้มี
ขึ้น คือทรัพย์ทั้งมวลหมดสิ้นไป แม้ถ้าเบื้องหน้าแต่นี้ ท่านจะไม่
ให้ทานไซร้ คือจะไม่ให้อะไร ๆ แก่ใคร ๆ เมื่อท่านประหยัดไว้ คือ
ไม่ให้อยู่ โภคะทั้งหลายจะพึงดำรงอยู่เหมือนอย่างเดิม ท่านจง
ปฏิญญาว่า ตั้งแต่นี้ไปจักไม่ให้ทาน เราจักให้โภคะทั้งหลายแก่ท่าน.
พระมหาสัตว์ได้ฟังดำรัสของท้าวสักกะนั้นแล้วจึงถามว่า ท่าน
เป็นใคร. ท้าวสักกะตรัสว่าเราเป็นท้าวสักกะ. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า
ธรรมดาท้าวสักกะ พระองค์เองให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ
พระปิฎกธรรม

星期五, 十二月 10, 2021

Mani

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 43/527/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
กุฎุมพีกำหนดไว้ว่า “ พราหมณ์นี้ มีประสงค์จะถือเอาแก้วมณี”
ด้วยอาการแห่งการเข้าไปแห่งพราหมณ์นั้นนั่นแล คิดว่า “ โอหนอ !
พราหมณ์ไม่ควรถือเอา.”
แม้พราหมณ์นั้น วางมือไว้แทบบาทมูลคล้ายจะถวายบังคมพระ-
ศาสดา ถือเอาแก้วมณีอาทิผิด ซ่อนไว้ในเกลียวผ้า หลีกไปแล้ว. กุฎุมพีไม่อาจ
ยังจิตให้เลื่อมใสในพราหมณ์นั้นได้.
ในกาลจบธรรมกถา กุฏุมพีนั้นเข้าไปเฝ้าพระศาสดา กราบทูลว่า
“ พระเจ้าข้า รัตนะ ๗ ประการอันข้าพระองค์โปรยล้อมรอบพระคันธกุฎี
สิ้น ๓ ครั้ง โดยถ่องแถวเพียงเข่า, เมื่อชนทั้งหลายถือเอารัตนะเหล่านั้น
ขึ้นชื่อว่า ความอาฆาตมิได้มีแล้วแก่ข้าพระองค์, จิตยิ่งเลื่อมใสขึ้นเรื่อย ๆ,
แต่วันนี้ ข้าพระองค์คิดว่า ‘ โอหนอ ! พราหมณ์นี้ ไม่ควรถือเอา
แก้วมณี,’ เมื่อพราหมณ์นั้นถือเอาแก้วมณีไปแล้ว, จึงไม่อาจยังจิตให้
เลื่อมใสได้.”
พระศาสดาทรงสดับคำของกุฎุมพีนั้นแล้ว ตรัสว่า “ อุบาสก ท่านไม่
อาจเพื่อจะทำของมีอยู่ของตน ให้เป็นของอันชนเหล่าอื่นพึงนำไปไม่ได้
มิใช่หรือ ?” ดังนี้แล้ว ได้ประทานนัยแล้ว.
กุฎุมพีนั้น ดำรงอยู่ในนัยที่พระศาสดาประทานแล้ว ถวายบังคม
พระศาสดา ได้ทำการปรารถนาว่า “ พระเจ้าข้า พระราชาหรือโจรแม้
หลายร้อย ชื่อว่าสามารถเพื่อจะข่มเหงข้าพระองค์ ถือเอาแม้เส้นด้ายแห่ง
ชายผ้าอันเป็นของข้าพระองค์ จงอย่ามี นับแต่วันนี้เป็นต้นไป, แม้ไฟก็
อย่าไหม้ของ ๆ ข้าพระองค์, แม้น้ำก็อย่าพัด.”
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十二月 09, 2021

Samannagato

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 65/326/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
และเพราะไม่ได้ราตรี คืออุเบกขาเวทนาซึ่งเป็นสภาคะกัน. อนึ่ง เมื่อ
อุเบกขานั้นไม่บริสุทธิ์ สติเป็นต้นแม้เกิดร่วมกัน ก็ไม่บริสุทธิ์ไปด้วย
เหมือนรัศมีแห่งดวงจันทร์ไม่บริสุทธิ์ในกลางวัน ฉะนั้น, เพราะฉะนั้น
จึงมิได้กล่าวในฌานเหล่านั้น แม้ฌานเดียวว่า มีอุเบกขาเป็นเหตุ
ให้สติบริสุทธิ์. แต่ในจตุตถฌานนี้ ดวงจันทร์คือ ตัตรมัชฌัตตุเปกขา
นี้ บริสุทธิ์อย่างยิ่ง เพราะไม่มีเดชแห่งธรรมที่เป็นข้าศึกมีวิตกเป็นต้น
ครอบงำ และเพราะได้ราตรีคือ อุเบกขาเวทนา ซึ่งเป็นสภาคะกัน.
สติเป็นต้นแม้ที่เกิดร่วมกัน ย่อมบริสุทธิ์ผุดผ่อง เพราะตัตร-
มัชฌัตตุเปกขานั้นบริสุทธิ์ เหมือนรัศมีแห่งดวงจันทร์บริสุทธิ์ฉะนั้น
เพราะฉะนั้น จตุตถฌานนี้เท่านั้น พึงทราบว่า ท่านกล่าวว่า มีอุเบกขา
เป็นเหตุให้สติบริสุทธิ์.
บทว่า จตุตฺถํ ความว่า ที่ ๔ โดยลำดับการนับ ฌานนี้ชื่อว่า
จตุตถะ เพราะอรรถว่า เกิดขึ้นเป็นที่ ๔ ดังนี้ก็มี.
บทว่า ปญฺญวา โหติ ความว่า ชื่อว่า เป็นผู้มีปัญญา เพราะ
อรรถว่า ปัญญาของภิกษุนั้นมีอยู่.
บทว่า อุทยตฺถคามินิยา ได้แก่ เครื่องให้ถึงความเกิดด้วย
เครื่องให้ถึงความดับด้วย.
บทว่า สมนฺนอาทิผิด อักขระาคโต ได้แก่ บริบูรณ์.
บทว่า อริยาย ได้แก่ ปราศจากโทษ.
บทว่า นิพฺเพธิกาย ได้แก่ เป็นไปในฝักฝ่ายอาทิผิด สระแห่งการชำแรกกิเลส.
บทว่า ทุกฺขกฺขยคามินิยาอาทิผิด อักขระ ได้แก่ เครื่องให้ถึงนิพพาน. ในบท
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十二月 07, 2021

Phueng

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 36/560/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เพราะฉะนั้น ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระทำกาละเลย เพราะการกระทำ
กาละของผู้มีความห่วงใยเป็นทุกข์ และพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงติเตียน.
ดูก่อนคฤหบดี ก็ท่านจะพึงมีความห่วงใยอย่างนี้ว่า นกุลมารดา-
คฤหปตานียังไม่ถึงการหยั่งลง ยังไม่ถึงที่พึ่งอาทิผิด อาณัติกะ ยังไม่ถึงความเบาใจ ยังไม่ข้ามพ้น
ความสงสัย ยังไม่ปราศจากความเคลือบแคลง ยังไม่ถึงความแกล้วกล้า
ในธรรมวินัยนี้ ยังไม่หมดความเชื่อถือต่อผู้อื่นในศาสนาของพระศาสดา แต่
ข้อนั้นท่านไม่พึงเห็นอย่างนี้ เพราะพวกสาวิกาของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์
นั้น ที่ยังเป็นคฤหัสถ์นุ่งห่มผ้าขาว ได้ถึงการหยั่งลง ได้ถึงที่พึ่ง ถึงความเบาใจ
ข้ามพ้นความสงสัย ปราศจากความเคลือบแคลง ถึงความแกล้วกล้า ในธรรม-
วินัยนี้ ไม่มีความเชื่อถือต่อผู้อื่นในศาสนาของพระศาสดา มีประมาณเท่าใด
ดิฉันก็เป็นคนหนึ่งในจำนวนสาวิกาเหล่านั้น ก็ผู้ใดพึงมีความสงสัยหรือเคลือบ-
แคลง ขอผู้นั้นจงเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
ซึ่งประทับอยู่ที่ป่าเภสกาลามิคทายวัน ใกล้นครสุงสุมารคีระ แคว้นภัคคะ
แล้วจงทูลถามเถิด เพราะฉะนั้น ท่านอย่าเป็นผู้มีความห่วงใยกระทำกาละเลย
เพราะการกระทำกาละของผู้มีความห่วงใยเป็นทุกข์ และพระผู้มีพระภาคเจ้า
ก็ทรงติเตียน.
ครั้งนั้นแล เมื่อนกุลบิดาคฤหบดีอันนกุลมารดาคฤหปตานีกล่าวเตือน
นี้ ความเจ็บป่วยนั้นได้สงบระงับโดยพลัน และนกุลบิดาคฤหบดีได้หายจากการ
เจ็บป่วยนั้น ก็และการเจ็บป่วยนั้น อันนกุลบิดาคฤหบดีละได้แล้วโดยประการ
นั้น ครั้งนั้นนกุลบิดาคฤหบดีพอหายจากการเจ็บป่วยไม่นาน ถือไม้เท้าเข้าไป
เฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายบังคมแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง
ครั้นแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ตรัสกะนกุลบิดาคฤหบดีว่า ดูก่อนคฤหบดี
เป็นลาภของท่าน ท่านได้ดีแล้ว ที่นกุลมารดาคฤหปตานีเป็นผู้อนุเคราะห์
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 04, 2021

Kon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 48/662/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เนื้อความของสองคาถานั้น ดังต่อไปนี้ บทว่า ปารํ สมุทฺทสฺส
เป็นต้น ความว่า ไปทะเลทราย คือหนทางที่ประกอบด้วยทรายทั้งฝั่งโน้น
ฝั่งนี้ ชื่อว่า ทางที่มีเชิงหวาย เพราะเถาหวายพันกันจะต้องไปให้ดี สู่ทาง
ที่มีหลักตอ เพราะจะต้องก่นอาทิผิด หลักตอทั้งหลายแล้วจึงไปได้ ทิศเป็นอันมาก
ที่ไปได้ยาก อย่างนี้คือแม่น้ำมีแม่น้ำจันทรภาคาเป็นต้น และประเทศที่
ไม่เรียบราบของภูเขาทั้งหลาย เพราะโภคทรัพย์เป็นเหตุ และพวกท่าน
เมื่อไปอย่างนี้ ก็โลดแล่นเข้าไปถึงแว่นแคว้นของพระราชาอื่น ๆ เห็น
พวกมนุษย์ชาวต่างประเทศ คือผู้อยู่ต่างถิ่น ในแว่นแคว้นนั้น สิ่งอัศจรรย์
คือควรยกนิ้วให้อันใด ที่พวกท่าน คือท่านทั้งหลายผู้เป็นอย่างนี้ ได้
ฟังหรือได้เห็น ดูก่อนพ่อค้าทั้งหลาย เราขอฟังสิ่งอัศจรรย์อันนั้น ใน
สำนักของพวกท่าน เทพบุตรประสงค์จะให้พ่อค้าเหล่านั้นกล่าวถึงความ
อัศจรรย์แห่งวิมานของตน จึงถาม ด้วยประการฉะนี้.
ถูกเทพบุตรถามอย่างนี้แล้ว พวกพ่อค้ากล่าวว่า
ข้าแต่พ่อกุมาร สมบัติของมนุษย์ที่แล้ว ๆ มา
ทั้งหมด พวกข้าพเจ้าไม่เคยได้ยินหรือได้เห็น
อัศจรรย์กว่าวิมานของท่านนี้เลย พวกข้าพเจ้าดูวิมาน
ของท่านอันมีรัศมีไม่ทรามแล้วไม่อิ่มเลย สระโบก-
ขรณีเลื่อนลอยไปในอากาศ มีสวนป่าไม้มาก มี-
บุณฑริกบัวขาวมาก มีต้นไม้ออกผลเป็นนิจ โชย-
กลิ่นหอมตลบไป เสาวิมานเหล่านี้เป็นเสาแก้ว
ไพฑูรย์ สูงร้อยศอก ส่วนยาวประดับด้วยศิลา
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十二月 03, 2021

Phut Phong

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 72/47/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ผ้าใหม่ ผ้ากัมพล ผ้าเปลือกไม้ ผ้าฝ้าย
เราได้ทุกอย่าง นี้เป็นผลแห่งข้าวใหม่
หมู่ทาสี หมู่ทาส และนารี ที่ประดับ
ประดาอย่างสวยงาม เราได้ทุกจำพวก นี้เป็นผล
แห่งข้าวใหม่
หนาวหรือร้อนไม่เบียดเบียนเรา เราไม่มี
ความเร่าร้อน อนึ่ง ทุกข์ทางใจ ไม่มีในหทัย
ของเรา
เชิญเคี้ยวสิ่งนี้ เชิญบริโภคสิ่งนี้ เชิญ
นอนบนที่นอนนี้ คำเช่นนี้ เราได้ทุกประการ
นี้เป็นผลแห่งข้าวใหม่
บัดนี้ ชาตินี้เป็นชาติหลังสุดภพสุดท้าย
กำลังเป็นไป ถึงทุกวันนี้ ไทยธรรมของเรา ก็ทำ
เราให้ยินดีอยู่ทุกเมื่อ
เราได้ถวายข้าวใหม่ในหมู่สงฆ์ผู้ประ-
เสริฐสุด ย่อมเสวยอานิสงส์ ๘ ประการ อัน
สมควรแก่กรรมอาทิผิด อักขระของเรา
คือ เราเป็นผู้มีผิวพรรณผุดผ่องอาทิผิด ๑ มียศ ๑
มีโภคทรัพย์มากมาย ใคร ๆ ลักไม่ได้ ๑ มีภักษา
มากทุกเมื่อ มีบริษัทไม่ร้าวรานกันทุกเมื่อ
สัตว์ที่อาศัยแผ่นดินล้วนยำเกรงเรา ๑
เราได้ไทยธรรมก่อน จะในท่ามกลางสงฆ์ หรือ
เฉพาะพระพักตร์ พระพุทธเจ้าผู้ประเสริฐสุด
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十一月 30, 2021

Rachawasati

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 64/430/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระวิธุรบัณฑิตผู้มีธุรกิจหาผู้อื่นเสมอเหมือนมิได้ ได้แสดงราชวสดี-
ธรรมสอนบุตรภรรยาญาติและมิตรด้วยพุทธลีลา จบลงด้วยประการฉะนี้แล.
จบราชวสดีอาทิผิด อักขระกัณฑ์
เมื่อพระมหาสัตว์พร่ำสอนบุตรภรรยาญาติและมิตรเป็นต้น อย่างนี้นั่น
แลจบลง ก็เป็นวันที่ ๓. พระมหาสัตว์นั้น ครั้นทราบว่าครบกำหนดวันแล้ว
อาบน้ำแต่เช้าตรู่ บริโภคโภชนาหารที่รสเลิศต่าง ๆ คิดว่า เราพร้อมด้วย
มาณพจักทูลลาพระราชาไป ดังนี้แล้วแวดล้อมด้วยหมู่ญาติไปสู่พระราชนิเวศน์
ถวายบังคมแล้วยืนอยู่ ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ได้กราบทูลถ้อยคำอันสมควรที่
ตนจะพึงกราบทูล.
พระศาสดาเมื่อจะทรงประกาศเนื้อความนั้นจึงตรัสพระคาถาว่า
วิธุรบัณฑิตผู้มีปัญญาเครื่องพิจารณา ครั้นพร่ำ
สอนหมู่ญาติอย่างนี้แล้ว หมู่ญาติมิตรพากันห้อมล้อม
เข้าไปเฝ้าพระราชา ถวายบังคมพระยุคลบาทด้วยเศียร
เกล้า และทำประทักษิณท้าวเธอ แล้วประคองอัญชลี
กราบบังคมทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ทรงปราบศัตรู
มาณพนี้ปรารถนาจะทำตามความประสงค์จึงจะนำข้า-
พระองค์ไป ข้าพระองค์จะกราบอาทิผิด อักขระทูลประโยชน์แห่งญาติ
ทั้งหลาย ขอเชิญพระองค์ทรงสดับประโยชน์นั้น ขอ
พระองค์ ได้ทรงพระกรุณาเอาพระทัยใส่ดูแลบุตร
ภรรยาของข้าพระองค์ทั้งทรัพย์อื่น ๆ ที่อยู่ในเรือน
โดยที่หมู่ญาติของข้าพระองค์ จะไม่เสื่อมในภายหลัง
ในเมื่อข้าพระองค์ถวายบังคมลาไปแล้ว ความพลั้ง
พลาดของข้าพระองค์นี้ เหมือนบุคคลพลาดล้มบน
 
พระปิฎกธรรม