Nikhron
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 20/120/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนคฤหบดี ท่านจงมนสิการ ครั้นแล้ว จงพยากรณ์ คำหลังกับ
คำก่อนก็ดี คำก่อนกับคำหลังก็ดี ของท่านไม่ต่อกันเลย ดูก่อนคฤหบดี ก็ท่าน
กล่าวคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าจะมั่นอยู่ในคำสัตย์เจรจาต่อกัน
ขอเราทั้งสองจงเจรจาปราศรัยกันในเรื่องนี้เถิด.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสอย่างนี้ก็จริง ถึงอย่าง
นั้นกายทัณฑะเท่านั้นมีโทษมากกว่า ในการทำบาปกรรมในการเป็นไปแห่งบาป
กรรม วจีทัณฑะ มโนทัณฑะ หามีโทษมากเหมือนกายทัณฑะไม่.
[๗๐] ดูก่อนคฤหบดี ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน นิครนถ์อาทิผิด อักขระ
ในโลกนี้พึงเป็นผู้สำรวมด้วยการสังวรโดยส่วน ๔ คือห้ามน้ำทั้งปวง ประกอบ
ด้วยการห้ามบาปทั้งปวง กำจัดบาปด้วยการห้ามบาปทั้งปวง อันการห้ามบาป
ทั้งปวงถูกต้องแล้วเมื่อเขาก้าวไป ถอยหลัง ย่อมถึงการฆ่าสัตว์ตัวเล็ก ๆ เป็น
อันมาก ดูก่อนคฤหบดี ก็นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติวิบากเช่นไรแก่นิครนถ์ผู้นี้.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นิครนถ์นาฏบุตรมิได้บัญญัติกรรม อันเป็นไป
โดยไม่จงใจว่ามีโทษมากเลย.
ดูก่อนคฤหบดี ก็ถ้าจงใจเล่า.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เป็นกรรมมีโทษมาก.
ดูก่อนคฤหบดี ก็นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในส่วนไหน.
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ นิครนถ์นาฏบุตรบัญญัติเจตนาลงในส่วนมโน-
ทัณฑะ.
ดูก่อนคฤหบดี ท่านจงมนสิการ ครั้นแล้ว จงพยากรณ์ คำหลังกับ
คำก่อนก็ดี คำก่อนกับคำหลังก็ดี ของท่านไม่ต่อกันเลย ดูก่อนคฤหบดี ก็ท่าน
กล่าวคำนี้ไว้ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าจะมั่นอยู่ในคำสัตย์เจรจากัน ขอ
เราทั้งสองจงเจรจาปราศัยกันในเรื่องนี้เถิด.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论