Anulomam
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/427/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มรรค ตรัสด้วยอำนาจภูมิที่ต่างกัน. ก็คำว่า กุศล ในคำว่า กุสลํ
วฏฺฐานสฺส นี้ ได้แก่กุศลอันเป็นไปในภูมิ ๓. บทว่า วุฏฺฐานํ คือ
วิบากอันเป็นไปในภูมิ ๓. พระโยคาวจรทั้งหลาย ย่อมออกจากกุศลชวน-
วิถีด้วยวิบากเหล่านั้น ฉะนั้น วิบากนั้นท่านจึงเรียกว่า วุฏฐานะ วุฏฐานะ
นั้นมี ๒ อย่าง คือตทารัมมณะ ๑ ภวังค์ ๑. บรรดาวุฏฐานะเหล่านั้น
แม้ทั้งสองอย่างเป็นวุฏฐานะของกามาวจรกุศล ภวังค์อย่างเดียวเป็นวุฏ-
ฐานะแห่งมหัคคตกุศล. คำว่า มคฺโค ผลสฺส นี้ พระองค์ตรัสแยก
ไว้ เพราะโลกุตตรวิบากเป็นวุฏฐานะไม่ได้ เหตุที่นับเนื่องในชวนวิถี.
สองบทว่า เสกฺขานํ อนุโลมํอาทิผิด อักขระ ความว่า กุศลย่อมไม่เป็นอนันตร-
ปัจจัยแก่เสขธรรม เพราะฉะนั้น จึงทรงทำการแยกไว้. บทว่า ผลสมา-
ปตฺติยา คือ ผลสมาบัติของโสดาปัตติผล สกทาคามิผล และอนาคามิผล.
บทว่า ผลสมาปตฺติยาอาทิผิด อักขระ คือ อนาคามิผลสมาบัติ. ในอกุศลจิตย่อมได้
วุฏฐานวิบากทั้งสอง.
ในคำว่า วิปากาพฺยากตา กิริยาพฺยากตา นี้ ผู้ศึกษาพึงทราบ
วิปากาพยากตะอาทิผิด อาณัติกะเฉพาะแก่วิปากาพยากตะด้วยกันเท่านั้น และกิริยาพยากตะ
เฉพาะแก่กิริยาพยากตะด้วยกันเท่านั้นเหมือนกัน. คำว่า ภวงฺคํ อาวชฺชอาทิผิด อักขระ-
นาย เป็นต้น ตรัสด้วยอำนาจธรรมที่เจือกัน. ในคำว่า กิริยา นั้น
กามาวจรกิริยา เป็น อนันตรปัจจัย แก่วุฏฐานวิบากทั้งสอง มหัคคต-
กิริยา เป็น อนันตรปัจจัย แก่ภวังค์เท่านั้น. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเริ่ม
คำว่า กุศลธรรมทั้งหลายที่เกิดก่อน ๆ เป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เกิด
หลัง ๆ ด้วยอำนาจของอนันตรปัจจัย แล้วแสดงวาระ ๗ วาระเหล่าใด
ไว้ในปัจจัยวิภังค์ในหนหลังว่า กุศลเป็นปัจจัยแก่กุศล กุศลเป็นปัจจัยแก่
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论