星期一, 五月 10, 2021

Katham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 2/333/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บทว่า อูหตรโชชลฺลํ-¹ ความว่า ฝุ่นและละออง ถูกลมพัดฟุ้งขึ้น
เบื้องบน คือ ลอยขึ้นบนอากาศจากพื้นดิน ที่แตกระแหงเพราะกีบโคและ
กระบือเป็นต้นกระทบ ซึ่งแห้งเพราะลมและแดดเผาตลอดกึ่งเดือน.
เมฆซึ่งขึ้นเต็มท้องฟ้าทั้งหมด แล้วให้ฝนตกตลอดกึ่งเดือนทั้งสิ้นใน
ชุณหปักข์แห่งเดือนอาสาฬหะ ชื่อว่าฝนห่าใหญ่ที่ตกในสมัยมิใช่อาทิผิด ฤดูกาล. จริง
อยู่ เมฆนั้น ท่านประสงค์เอาในอธิการนี้ว่า อกาลเมฆ เพราะเกิดขึ้นใน
เวลายังไม่ถึงฤดูฝน.
หลายบทว่า ฐานโส อนฺตรธาเปติ วูปสเมติ ความว่า ฝนห่า
ใหญ่ที่ตกในสมัยมิใช่ฤดูกาลนั้น ย่อมพัดเอาฝุ่นและละอองนั้น ๆ ไป ไม่ให้
แลเห็น คือพัดให้จมหายไปในแผ่นดินอาทิผิด สระโดยฉับพลันทีเดียว.
คำว่า เอวเมว โข นี้ เป็นคำเปรียบเทียบข้ออุปไมย. ถัดจากคำว่า
เอวเมว โข นั้นไป มีนัยดังกล่าวมาแล้วนั่นแล.
ในคำว่า กถํอาทิผิด อักขระ ภาวิโต จ ภิกฺขเว อานาปานสฺสติสมาธิ นี้
พึงทราบวินิจฉัยดังต่อไปนี้:-
คำว่า กถํ เป็นคำถาม คือความเป็นผู้ใคร่จะยังอานาปานัสสติสมาธิ
ภาวนาให้พิสดาร โดยประการต่าง ๆ.
คำว่า ภาวิโต จ ภิกฺขเว อานาปานสฺสติสมาธิ เป็นคำแสดง
ไขข้อธรรมที่ถูกถาม เพราะความเป็นผู้ใคร่จะยังอานาปานัสสติสมาธินั้นให้
พิสดาร โดยประการต่าง ๆ. แม้ในบททั้งสอง ก็นัยนั้น.
ก็ในคำว่า กถํ ภาวิโต จ เป็นต้นนี้ มีความสังเขปดังนี้ว่า ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ! อานาปานัสสติสมาธิ อันภิกษุอบรมแล้ว ด้วยประการไร
บาลีเป็น อูหตํ รโชชลฺลํ.-¹
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: