星期五, 十二月 30, 2011

Phon

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/351/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทั้งหลายนี้ก็ฉันนั้น เรียกว่าอัณฑภูต เพราะเกิดในกะเปาะไข่ คือ
อวิชชา. บทว่า ปริโยนทฺธาย ได้แก่ อันกะเปาะไข่ คืออวิชชา
นั้นหุ้ม คือ ผูกพันไว้โดยรอบ บทว่า อวิชฺชณฺฑโกสํ ปทาเลตฺวา
ได้แก่ ทำลายกะเปาะไข่อันสำเร็จด้วยอวิชชานั้น.
บทว่า เอโกว โลเก ความว่า เราเท่านั้นเป็นเอก ไม่เป็น
ที่สอง ในโลกสันนิวาสแม้ทั้งสิ้น. บทว่า อนุตฺตรํ สมฺมาสมฺโพธึ
อภิสมฺพุทฺโธ ได้แก่ พระปัญญาเครื่องตรัสรู้ชอบและโดยพระองค์
เอง ปราศจากผู้ยิ่งกว่า คือประเสริฐสุดกว่าเขาทั้งหมด. อีก
อย่างหนึ่ง พระปัญญาเครื่องตรัสรู้อันประเสริฐและดี. คำว่า โพธิ
นี้เป็นชื่อของอรหัตมรรคญาณ. ทั้งเป็นชื่อของพระสัพพัญญุตญาณ
ด้วย. แม้ชื่อทั้งสองก็เหมาะ ถามว่า อรหัตตมรรคของคนเหล่าอื่น
เป็นปัญญาเครื่องตรัสรู้ยอดเยี่ยมหรือไม่ ? ตอบว่า ไม่เป็น. เพราะ
เหตุไร ? เพราะไม่ให้คุณทุกอย่าง. ก็บรรดาบุคคลเหล่านั้น
อรหัตมรรคย่อมให้เฉพาะอรหัตผลอาทิผิด อักขระแก่บางคน ให้วิชชา ๓ แก่
บางคน ให้อภิญญา ๖ แก่บางคน ให้ปฏิสัมภิทา ๔ แก่บางคน
ให้สาวกบารมีญาณแก่บางคน สำหรับพระปัจเจกพุทธะทั้งหลาย
ให้เฉพาะปัจเจกโพธิญาณเท่านั้น ส่วนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย
ให้คุณสมบัติทุกอย่าง เหมือนการอภิเษกให้ความเป็นใหญ่ในโลก
ทั้งปวงแก่พระราชา เพราะเหตุนั้น ปัญญาเครื่องตรัสรู้อันยอดเยี่ยม
จึงไม่มีแม้แก่ใครอื่น. บทว่า อภิสมฺพุทฺโธ ได้แก่ รู้ทั่วยิ่งแล้ว
แทงตลอดแล้ว อธิบายว่า บรรลุแล้ว.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十二月 29, 2011

Samma

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 13/51/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มาก ประมาณหกล้านแปดแสนรูป ถ้ากระไร เราพึงอนุญาตภิกษุทั้งหลายว่า
ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวจาริกไป เพื่อประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อ
ความสุขแก่ชนเป็นอันมาก เพื่ออนุเคราะห์สัตว์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล
เพื่อความสุข แก่เทพดาและมนุษย์ทั้งหลาย แต่อย่าได้ไปทางเดียวกันสองรูป
เธอทั้งหลายจงแสดงธรรมงามในเบื้องต้น งามในท่ามกลาง งามในที่สุด จง
ประกาศพรหมจรรย์ พร้อมทั้งอรรถพร้อมทั้งพยัญชนะ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง
ในโลกนี้ สัตว์พวกที่มีกิเลสเพียงดังธุลีในจักษุเบาบางยังมีอยู่ เพราะไม่ได้ฟัง
ธรรม สัตว์พวกนั้นจึงเสื่อมเสียไป ผู้ที่รู้ทั่วถึงธรรมได้จักมี แต่ว่าโดยหกปี ๆ
ล่วงไป พวกเธอพึงกลับมายังพระนครพันธุมดีราชธานีเพื่อแสดงพระปาติโมกข์.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ครั้งนั้นแล ท้าวมหาพรหมองค์หนึ่ง ได้ทราบความ
รำพึงในพระทัยของพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า วิปัสสี
ด้วยใจแล้ว จึงได้หายตัวที่พรหมโลก ไปปรากฏอยู่เฉพาะพระพักตร์ของพระ
ผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่าวิปัสสี เปรียบเหมือนบุรุษที่มี
กำลัง เหยียดออกซึ่งแขนที่คู้เข้าไว้ หรือคู้เข้าซึ่งแขนที่เหยียดออกไว้ ฉะนั้น.
ดูกรภิกษุทั้งหลาย ทันใดนั้น ท้าวมหาพรหมนั้นกระทำผ้าอุตตราสงค์
เฉวียงบ่าข้างหนึ่ง ประนมอัญชลีไปทางที่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
พระนามว่าวิปัสสีประทับอยู่ ได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาอาทิผิด อักขระสัมพุทธ-
เจ้าพระนามว่าวิปัสสีว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ข้อนี้เป็นอย่างนั้น ข้าแต่พระ
สุคต ข้อนี้เป็นอย่างนั้น ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ บัดนี้ ในพระนครพันธุมดีราช
ธานี มีภิกษุสงฆ์อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก ประมาณหกล้านแปดแสนรูป ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคจงทรงอนุญาตภิกษุทั้งหลายเถิดว่า ภิกษุ
ทั้งหลาย พวกเธอจงเที่ยวจาริกไป เพื่อประโยชน์แก่ชนเป็นอันมาก เพื่อความ
สุขแก่ชนเป็นอันมาก เพื่ออนุเคราะห์สัตว์โลก เพื่อประโยชน์ เพื่อเกื้อกูล เพื่อ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十二月 25, 2011

Parachik

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 10/953/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แต่คำที่มาในกุรุนทีว่า คาถาที่ ๑ ตรัสหมายถึงกรรมไม่พร้อมหน้า
๘ อย่าง ที่ ๒ ตรัสหมายถึงกรรมของภิกษุผู้ไม่มีอาบัติ.
สองบทว่า ฉินฺทนฺตสฺส อนาปตฺติ ได้แก่ เป็นปาราชิก แก่
ภิกษุผู้ตัดหญ้าและเถาวัลย์ เป็นถุลลัจจัย แก่ภิกษุผู้ตัดองคชาต.
สองบทว่า ฉินฺทนฺตสฺส อนาปตฺติ คือ ไม่เป็นอาบัติ แก่ภิกษุ
ผู้ปลงผมและตัดเล็บ.
บทว่า ฉาเทนฺตสฺส คือ เป็นอาบัติ แก่ภิกษุผู้ปิดอาบัติ.
บทว่า อนาปตฺติ คือ ไม่เป็นอาบัติ แก่ภิกษุผู้มุงเรือนเป็นต้น.
วินิจฉัยในคาถาว่า สจฺจํ ภณนฺโต พึงทราบดังนี้ :-
ภิกษุพูดคำจริง กะสตรีผู้มีหงอน และคนกะเทยว่า เธอมีหงอน เธอ
มี ๒ เพศ ดังนี้ ย่อมต้องครุกาบัติ. แต่เป็นลหุกาบัติ แก่ภิกษุผู้กล่าวเท็จ
เพราะสัมปชานมุสาวาท. เมื่อกล่าวเท็จ เพราะอวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีจริง
ต้องครุกาบัติ. เป็นลหุกาบัติ แก่ภิกษุผู้พูดจริง เพราะอวดอุตริมนุสธรรม
ที่มีจริง.
คาถาว่า อธิฏฺฐิตํ ตรัสหมายถึงภิกษุผู้ไม่สละก่อน บริโภคจีวรที่
เป็นนิสสัคคีย์.
คาถาว่า อตฺถงฺคเต สุริเย ตรัสหมายถึงภิกษุผู้มักอ้วก.
คาถาว่า น รตฺตจิตฺโต มีเนื้อความดังต่อไปนี้ :-
ภิกษุมีจิตกำหนัด ต้องเมถุนธรรมปาราชิก มีเถยยจิต ต้องอทินนา-
ทานปาราชิก ยังผู้อื่นให้อาทิผิด สระจงใจเพื่อตาย ต้องมนุสสวิคคหปาราชิกอาทิผิด สระ. แต่ภิกษุผู้
ทำลายสงฆ์ มิใช่ผู้มีจิตกำหนัดและมิใช่ผู้มีเถยยจิต ทั้งเธอหาได้ชักชวนผู้อื่น
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 24, 2011

Parachik

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 42/214/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๖. ยสฺส อจฺจนฺตทุสฺสีลฺยํ มาลุวา สาลมิโวตฺถตํ
กโรติ โส ตถตฺตานํ ยถา นํ อิจฺฉตี ทิโส.
“ ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน รวบรัด (อัตภาพ)
ของบุคคลใด ดุจเถาย่านทรายรัดรึงต้นสาละ ฉะนั้น,
บุคคลนั้น ย่อมทำตนอย่างเดียวกันกับที่โจรหัวโจก
ปรารถนาทำให้ตนฉะนั้น. ”
แก้อรรถ
ความเป็นผู้ทุศีลโดยส่วนเดียว ชื่อว่า อจฺจนฺตทุสฺสีลฺยํ ในพระคาถา
นั้น. บุคคลผู้เป็นคฤหัสถ์ ทำอกุศลกรรมบถ ๑๐ ตั้งแต่เกิดก็ดี. ผู้เป็น
บรรพชิต ต้องครุกาบัติ ตั้งแต่วันอุปสมบทก็ดี ชื่อว่า ผู้ทุศีลล่วงส่วน.
แต่บทว่า อจฺจนฺตทุสฺสีลฺยํ นี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสในพระคาถา
นี้ ทรงหมายเอาความเป็นผู้ทุศีลอันมาแล้วตามคติของบุคคลผู้ทุศีลใน
๒ - ๓ อัตภาพ.
อนึ่ง ตัณหาอันอาศัยทวาร ๖ ของผู้ทุศีลเกิดขึ้น บัณฑิตพึงทราบว่า
“ ความเป็นผู้ทุศีล ” ในพระคาถานี้.
บาทพระคาถาว่า มาลุวา สาลมิโวตฺถตํ ความว่า ความเป็นผู้ทุศีล
กล่าวคือตัณหา รวบรัด คือหุ้มห่ออัตภาพของบุคคลใดตั้งอยู่. เหมือน
เถาย่านทรายรัดรึงต้นสาละ. คือปกคลุมทั่วทั้งหมดทีเดียว ด้วยสามารถรับ
น้ำด้วยใบในเมื่อฝนตก แล้วหักรานลงฉะนั้นแล. บุคคลนั้นคือผู้ถูกตัณหา
กล่าวคือความเป็นผู้ทุศีลนั้นหักราน ให้ตกไปในอบายทั้งหลาย เหมือน
๑. แปลว่า อาบัติหนัก ได้แก่ ปาราชิกอาทิผิด สระ และสังฆาทิเสส.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十二月 23, 2011

Parachik

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/48/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ธรรมะ, ธิติ, และจาคะ บุคคลนั้นแล ละโลกนี้
ไปแล้ว ย่อมไม่เศร้าโศก ดังนี้.
ธมฺมศัพท์ ย่อมปรากฏในอรรถว่า บุญ ได้ในคำเป็นต้นว่า
ธรรมและอธรรมทั้ง ๒ นี้ มีผลเสมอกัน
หามิได้เลย อธรรมย่อมนำไปนรก ธรรมย่อมให้ถึง
สุคติ ดังนี้.
ธมฺมศัพท์ ย่อมปรากฏในอรรถว่า บัญญัติ ได้ในคำเป็นต้นว่า
บัญญัติธรรม, นิรุตติธรรม, อธิวจนธรรม ดังนี้.
ธมฺมศัพท์ ย่อมปรากฏในอรรถว่า อาบัติ ได้ในคำเป็นต้นว่า
ธรรมคือปาราชิกอาทิผิด สระ, ธรรมคือสังฆาทิเสส ดังนี้.
ธมฺมศัพท์ ย่อมปรากฏในอรรถว่า ปริยัติ ได้ในคำเป็นต้นว่า
ภิกษุในธรรมวินัย ย่อมเรียนธรรมคือสุตตะ, เคยยะ เวยยา-
กรณะดังนี้.
ธมฺมศัพท์ ปรากฏในอรรถว่า นิสสัตตตา-ความไม่มีสัตว์ ได้ใน
คำเป็นต้นว่า
ก็สมัยนั้นแล ธรรมทั้งหลาย ย่อมมี,และในคำเป็นต้นว่า
พระโยคีบุคคล ตามพิจารณาเห็นธรรมในธรรมทั้งหลาย อยู่ ดังนี้.
๑. สํ.ส. ๑๕/๘๔๕. ๒. ขุ.เถร. ๒๖/๓๓๒. ๓. อภิ.สํ. ๓๔/๑๕.
๔. วิ.มหาวิภงฺค. ๑/๓๐๐. ๕. องฺ.ปญฺจก. ๒๒/๗๓. ๖. อภิ.สํ. ๓๔/๑๕.
๗. ที.มหา. ๑๐/๒๗๓.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 十二月 21, 2011

Patibat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 37/162/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพานในระหว่าง เปรียบ
เหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผาอยู่ตลอดวัน สะเก็ดอาทิผิด อักขระร่อนออก
แล้วดับไป ฉะนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติ
อย่างนี้ ฯลฯ เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพาน
ในระหว่าง เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กถูกเผาอยู่ตลอดวัน
สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกยังไม่ถึงอาทิผิด อักขระพื้นก็ดับ ฉะนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติ
อย่างนี้ ฯลฯ เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพาน
ในเมื่ออายุเลยกึ่ง เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็กที่ถูกเผา
อยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนลอยขึ้นไป ตกถึงพื้นแล้วก็ดับ ฉะนั้น.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุในธรรมวินัยนี้ เป็นผู้ปฏิบัติอาทิผิด อักขระ
อย่างนี้ ฯลฯ เพราะโอรัมภาคิยสังโยชน์ ๕ สิ้นไป เธอย่อมปรินิพพาน
โดยไม่ต้องใช้ความเพียรนัก เปรียบเหมือนเมื่อนายช่างตีแผ่นเหล็ก
ที่ถูกเผาอาทิผิด อาณัติกะอยู่ตลอดวัน สะเก็ดร่อนขึ้นไปแล้วตกลงที่กองหญ้าหรือ
กองไม้เล็ก ๆ สะเก็ดนั้นพึงให้ไฟและควันเกิดขึ้นได้ที่หญ้าหรือกอง
ไม้เล็ก ๆ นั้น ครั้นให้เกิดไฟและควัน เผาอาทิผิด อาณัติกะกองหญ้าหรือกองไม้เล็ก ๆ
นั้นให้หมดไป ไม่มีเชื้อแล้วก็ดับ ฉะนั้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 17, 2011

Patikha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/350/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เพราะภวสังโยชน์ยังไม่สิ้น. อีกอย่างหนึ่ง บรรดากำเนิด ๔ เหล่า สัตว์ที่เป็น
อัณฑชะเกิดในไข่และชลาพุชะเกิดในครรภ์ ยังไม่ทำลายเปลือกฟองไข่และรก
ออกมาตราบใด ตราบนั้น ก็ชื่อว่า สัมภเวสี. ที่ทำลายเปลือกฟองไข่ และ
รกแล้วออกมาข้างนอก ชื่อว่า ภูต. เหล่าสัตว์ที่เป็นสังเสทชะ และ โอปปาติกะ
ชื่อว่า สัมภเวสี ในขณะปฐมจิต ตั้งแต่ขณะทุติยจิตไปชื่อว่า ภตะ. หรือสัตว์อาทิผิด
ทั้งหลายเกิดโดยอิริยาบถใด ยังไม่เปลี่ยนอิริยาบถเป็นอื่นไปจากอิริยาบถนั้น
ตราบใด ตราบนั้น ยังอาทิผิด สระชื่อว่า สัมภเวสี นอกจากนั้น ไปชื่อว่า ภูตะ.

พรรณนาคาถาที่ ๖
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเมตตาภาวนาในสัตว์ทั้งหลาย โดย
ปรารถนาแต่จะให้เข้าถึงประโยชน์สุขของภิกษุเหล่านั้น โดยประการต่าง ๆ ด้วย
๒ คาถาครึ่งว่า สุขิโน วา เป็นต้น อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่ออาทิผิด อาณัติกะทรงแสดง
ภาวนานั้น แม้โดยปรารถนาให้ออกไปจากสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์และทุกข์จึง
ตรัสว่า น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ. นี้เป็นปาฐะเก่า แต่ปัจจุบันสวดกันว่า
ปรํ ปิ ดังนี้ก็มี ปาฐะนี้ไม่งาม.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปโร ได้แก่ ชนอื่น. บทว่า น
กุพฺเพถ ได้แก่ ไม่หลอกลวง. บทว่า นาติมญฺเญถ ได้แก่ ไม่สำคัญเกิน
ไป [ไม่ดูหมิ่น]. บทว่า กตฺถจิ ได้แก่ในโอกาสไหน ๆ คือในหมู่บ้านหรือ
ในเขตหมู่บ้าน ท่ามอาทิผิด อักขระกลางญาติหรือท่ามกลางบุคคล ดังนี้เป็นต้น. บทว่า นํ
แปลว่า นั่น. บทว่า กิญฺจิ ได้แก่ผู้ใดผู้หนึ่ง คือกษัตริย์หรือพราหมณ์
คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ที่ถึงสุข หรือที่ถึงทุกข์ ดังนี้เป็นต้น. บทว่า พฺยา-
โรสนา ปฏีฆสญฺญา ได้แก่ เพราะความกริ้วโกรธด้วยกายวิการและวจีวิการ
และเพราะคุมแค้นด้วยมโนวิการ. เพราะเมื่อควรจะตรัสว่า พฺยาโรสนาย
ปฏีฆอาทิผิด อักขระสญฺญาย แต่ก็ตรัสเสียว่า พฺยาโรสนา ปฏีฆสญฺญา เหมือนเมื่อ
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十二月 11, 2011

Kantaka

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/254/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ไม่เป็นที่ชอบใจของเราแล้ว การประพฤติสิ่งอันไม่เป็นประโยชน์จะพึงได้
ในบุคคลนี้แต่ที่ไหน ๑ กำลังประพฤติสิ่งอันเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ไม่เป็น
ที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของเรา การประพฤติสิ่งอันไม่เป็นประโยชน์จะพึง
ได้ในบุคคลนี้แต่ที่ไหน ๑ จักประพฤติสิ่งอันเป็นประโยชน์แก่บุคคลผู้ไม่
เป็นที่รักไม่เป็นที่ชอบใจของเรา การประพฤติสิ่งอันไม่เป็นประโยชน์จะ
พึงได้ในบุคคลนี้แต่ที่ไหน ๑ ย่อมไม่โกรธในที่อันไม่ควร ๑ ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย อุบายเป็นเครื่องกำจัดความอาฆาต ๑๐ ประการนี้แล.
จบอาฆาตปฏิอาทิผิด วินยสูตรที่ ๑๐
จบอากังขวรรคที่ ๓

รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. อากังขสูตร ๒. กัณฏกอาทิผิด อักขระสูตร ๓. อิฏฐอาทิผิด สูตร ๔. วัตถุสูตร
๕. มิคสาลาสูตร ๖. อภัพพสูตร ๗. กากสูตร ๘. นิคันถสูตร
๙. อาฆาตวัตถุสูตร ๑๐. อาฆาตปฏิวินยสูตร.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 10, 2011

Kabot, Khabot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 56/455/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เจริญวัยแล้วได้เป็นปุโรหิตของพระเจ้าพรหมทัต สืบแทนบิดา
ผู้ล่วงลับ พระเจ้าพรหมทัตได้พระราชทานพรแก่พระอัครมเหสี
ไว้ว่า ดูก่อนนางผู้เจริญ เธอต้องการสิ่งใด พึงบอกสิ่งนั้น พระนาง
กราบทูลว่า ขึ้นชื่อว่าพระพรอื่น มิได้เป็นสิ่งที่เกล้ากระหม่อม-
ฉันได้ด้วยยากเลย ขอพระราชทานแต่ว่า ตั้งแต่บัดนี้เป็นต้นไป
ทูลกระหม่อมไม่พึงทอดพระเนตรหญิงอื่น ด้วยอำนาจกิเลส.
แม้ท้าวเธอจะทรงห้ามไว้ ก็ถูกพระนางเซ้าซี้บ่อย ๆ จึงไม่อาจ
ปฏิเสธคำของพระนางได้ ก็ทรงรับตั้งแต่บัดนั้น ก็มิได้ทรง
เหลียวแล บรรดานางระบำหมื่นหกพันนาง แม้แต่นางเดียว
ด้วยอำนาจกิเลส.
อยู่มาปัจจันตชนบทของท้าวเธอเกิดกบฏอาทิผิด ขึ้น พวกโยธา
ที่ตั้งกองอยู่ในปัจจันตชนบท ทำสงครามกับพวกโจร ๒-๓ ครั้ง
ก็ส่งใบบอกกราบทูลพระราชาว่า ถ้าศึกหนักยิ่งกว่านี้ พวก
ข้าพระองค์ไม่อาจฉลองพระเดชพระคุณได้ พระราชามีพระ-
ประสงค์จะเสด็จไปในที่นั้น ทรงระดมพลนิกายแล้วรับสั่งหา
พระนางมา ตรัสว่า นางผู้เจริญ ฉันต้องไปสู่ปัจจันตชนบท
ที่นั้น การยุทธมีมากมายหลายแบบ จะชนะหรือแพ้ก็ไม่แน่นอน
ในสถานที่เช่นนั้น มาตุคามคุ้มครองได้ยาก เธอจงอยู่ในพระราชวัง
นี้แหละ ดังนี้ ฝ่ายพระนางก็กราบทูลว่า ทูลกระหม่อมเพคะ
เกล้ากระหม่อมฉันไม่สามารถจะอยู่ข้างหลัง ดังพระดำรัสได้
อันพระราชาตรัสทัดทานห้ามอยู่บ่อย ๆ ก็กราบทูลว่า ถ้าเช่นนั้น
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十二月 09, 2011

Tachang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 35/527/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
การรับคนเป็นทาสหญิง ทาสชาย ไม่ควร ก็แต่ว่าเมื่ออาทิผิด สระอยู่อย่างนี้ว่า เราถวาย
เป็นกัปปิยการก เราถวายเป็นคนวัด ดังนี้ ก็ควร.
แม้ในแพะและแกะเป็นต้น มีนาและสวนเป็นที่สุด ควรตรวจสอบ
ที่เป็นกัปปิยะและอกัปปิยะโดยทางวินัย. ในข้อนั้น ปุพอาทิผิด อักขระพัณณชาติ (ข้าว)
งอกขึ้นในที่ใด ที่นั้นชื่อว่า นา อปรพัณณชาติ (ถั่วงา) งอกขึ้นในที่ใด
ที่นั้นชื่อว่า สวน. อีกอย่างหนึ่ง ทั้งสองอย่าง งอกขึ้นในที่ใดที่นั้นชื่อว่า นา.
พื้นที่ที่ยังมิได้ทำเพื่อประโยชน์แก่นานั้น ชื่อว่า ที่สวน. แม้บึงและหนอง
เป็นต้น ท่านก็สงเคราะห์เข้าในบทนี้ ด้วยหัวข้อว่านาอาทิผิด อักขระและสวน.
บทว่า กยวิกฺกยา ได้แก่ การซื้อและการขาย ทูตกรรมการทำ
เป็นทูต ได้แก่ การรับหนังสือ หรือข่าวของพวกคฤหัสถ์แล้วไปในที่นั้น ๆ
ท่านเรียกว่า ทูเตยยะ (ความเป็นทูต) การที่ภิกษุถูกอาทิผิด สระคฤหัสถ์ส่งจากเรือนหลัง
หนึ่งสู่เรือนหลังหนึ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ ท่านเรียกว่า ปหิณคมนะ (รับใช้). ทำทั้ง
สองอย่างนั้นชื่อว่า อนุโยคะ (ประกอบเนืองๆ) เพราะฉะนั้น พึงทราบความ
ในบทนี้อย่างนี้ว่า เว้นจากประกอบเนือง ๆ ซึ่งการเป็นทูตและรับ ใช้คฤหัสถ์.
พึงทราบวินิจฉัยการโกงตาชั่งเป็นต้น การหลอกลวง ชื่อว่า โกง.
ในการโกงนั้น การโกงตาชั่งมี ๔ อย่าง คือ โกงด้วยรูปอาทิผิด ๑ โกงด้วยอวัยวะ
๑ โกงด้วยการจับ ๑ โกงด้วยการกำบัง ๑. ในการโกง ๔ อย่างนั้น เขาทำ
ตาชั่งสองอันมีรูปเท่า ๆ กัน เมื่อรับก็รับด้วยตาชั่งอาทิผิด อันใหญ่ เมื่อให้ก็ให้ด้วย
ตาชั่งอันเล็ก ชื่อว่า โกงด้วยรูป. เมื่อรับก็ใช้มือกดตาชั่งข้างหลังไว้ เมื่อให้
ก็ใช้มือกดตาชั่งอาทิผิด อักขระข้างหน้าไว้ ชื่อว่าโกงด้วยอวัยวะ. เมื่อรับก็จับเชือกไว้ที่โคน
ตาชั่ง เมื่อให้ก็จับเชือกไว้ที่ปลายตาชั่ง ชื่อว่าโกงด้วยการจับ. ทำตราชั่ง
ให้กลวง ใส่ผงเหล็กไว้ภายใน เมื่อรับก็เลื่อนผงเหล็กนั้นไปปลายตาชั่ง เมื่อให้
ก็เลื่อนผงเหล็กอาทิผิด อักขระนั้นไว้หัวตาชั่ง ชื่อว่าโกงด้วยการกำบัง ถาดทองท่านเรียกว่า
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 十二月 08, 2011

Sati Patthana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   79/3/8  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๒. อัพภันตรมาติกา ๑๒๕ บท
๑. ปญฺจกฺขนฺธา ขันธ์ ๕
๒. ทวาทสายตนานิ อายตนะ ๑๒
๓. อฏฺฐารส ธาตุโย ธาตุ ๑๘
๔. จตฺตาริ สจฺจานิ สัจจะ ๔
๕. พาวีสตินฺทฺริยานิ อินทรีย์ ๒๒
๖. ปฏิจฺจสมุปฺปาโท ปฏิจจสมุปบาท
๗. จตฺตาโร สติปฎฺฐานาอาทิผิด อักขระ สติปัฏฐาน ๔
๘. จตฺตาโร สมฺมปฺปธานา สัมมัปปธาน ๔
๙. จตฺตาโร อิทฺธิปาทา อิทธิบาท ๔
๑๐. จตฺตาริ ฌานานิ ฌาน ๔
๑๑. จตสฺโส อปฺปมญฺญาโยอาทิผิด อักขระ อัปปมัญญา ๔
๑๒. ปัญฺจินฺทฺริยานิ อินทรีย์ ๕
๑๓. ปญฺจ พลานิ พละ ๕
๑๔. สตฺต โพชฺฌงฺคา โพชฌงค์ ๗
๑๕. อริโย อฏฺฐงฺคิโก มคฺโค อริยมรรคมีองค์ ๘
๑๖. ผสฺโส ผัสสะ
๑๗. เวทนา เวทนา
๑๘. สญฺญา สัญญา
๑๙. เจตนา เจตนา
๒๐. จิตฺตํ จิต
๒๑. อธิโมกฺโข อธิโมกข์
๒๒. มนสิกาโร มนสิการ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 十二月 06, 2011

Nam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/269/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ปุปผจังโกฏิยเถราปทานที่ ๑๐ (๗๐)
ว่าด้วยผลแห่งการถวายผอบดอกอังกาบ
[๗๒] ข้าพระองค์เอาดอกอังกาบอันบานดี ใส่ในผอบจนเต็ม
แล้ว ได้บูชาพระพุทธเจ้าพระนามว่าสิขีผู้ประเสริฐสุด ผู้ไม่
ทรงครั่นคร้ามดังสีหะ เสมือนพญาครุฑ งามประเสริฐ
ดุจพญาเสือโคร่ง มีพระชาติดีเหมือนไกรสรราชสีห์ เป็น
สรณะของโลกสาม ผู้ไม่หวั่นไหว ไม่ทรงแพ้อะไร ๆ ผู้เลิศ
กว่าบรรดาผู้ฆ่ากิเลส ประทับนั่ง แวดล้อมด้วยภิกษุสงฆ์
พร้อมทั้งผอบใหญ่.
ข้าแต่พระองค์ผู้จอมสัตว์สองเท้า ผู้นราสภ ด้วยจิตอัน
เลื่อมใสนั้น ข้าพระองค์เป็นผู้ละความชนะและความแพ้แล้ว
บรรลุถึงฐานะอันไม่หวั่นไหว.
ในกัปที่ ๓๑ แต่กัปนี้ ข้าพระองค์ได้ทำกรรมใด ในกาล
นั้น ด้วยกรรมนั้น ข้าพระองค์ไม่รู้จักทุคติเลย นี้เป็นผล
แห่งพุทธบูชา.
ในกัปที่ ๓๐ ถ้วนแต่กัปนี้ ได้เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ ๕ ครั้ง
สมบูรณ์ด้วยแก้ว ๗ ประการ มีพระนามอาทิผิด ว่าเทวภูติเหมือนกัน.
คุณวิเศษเหล่านี้ คือ ปฏิสัมภิทา ๔ วิโมกข์ ๘ และ
อภิญญา ๖ เราได้ทำให้แจ้งชัดแล้ว คำสอนของพระพุทธเจ้า
เราได้ทำเสร็จแล้ว ดังนี้.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 十二月 05, 2011

Phiksu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/569/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
คือนายโคบาลในโลกนี้ ย่อมรู้จักรูป ๑ ฉลาดในลักษณะ ๑ กำจัดไข่-
ขาง ๑ ปกปิดแผล ๑ สุมไฟ ๑ รู้ท่าน้ำ ๑ รู้โคว่าดื่มน้ำแล้วหรือยัง ๑
รู้ทาง ๑ ฉลาดในที่หากิน ๑ รีดนมให้เหลือ ๑ บูชาโคผู้ที่เป็นพ่อโค
เป็นผู้นำฝูงโคด้วยการบูชาอย่างยิ่ง ๑ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นายโคบาล
ผู้ประกอบด้วยองค์ ๑๑ ประการนี้แล เป็นผู้สามารถเลี้ยงฝูงโคให้เจริญ
แพร่หลายได้ ฉันใด ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๑๑
ประการ ย่อมเป็นผู้สามารถถึงความเจริญงอกงามไพบูลย์ในธรรมวินัยนี้
ฉันนั้นเหมือนกัน ธรรม ๑๑ ประการเป็นไฉน ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมรู้จักรูป ๑ ฉลาดในลักษณะ ๑ กำจัดไข่ขาง ๑ ปกปิดแผล ๑ สุมไฟ ๑
รู้ท่าน้ำ ๑ รู้ธรรมที่ดื่มแล้ว ๑ รู้ทาง ๑ ฉลาดในโคจร ๑ รีดให้เหลือ ๑
บูชาภิกษุผู้เป็นพระเถระ ผู้รัตตัญญู บวชนาน เป็นสังฆบิดร เป็นสังฆ-
ปริณายก ด้วยการบูชาอย่างยิ่ง ๑.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุรู้จักรูปอย่างไร ภิกษุในธรรมวินัยนี้
ย่อมรู้รูปอย่างใดอย่างหนึ่งตามเป็นจริงว่า มหาภูตรูป ๔ และรูปอาศัย
มหาภูตรูป ๔ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุอาทิผิด สระย่อมรู้จักรูปอย่างนี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมฉลาดในลักษณะอย่างไร ภิกษุใน
ธรรมวินัยนี้ ย่อมรู้ตามเป็นจริงว่า คนพาลมีกรรมเป็นลักษณะ บัณฑิตมี
กรรมเป็นลักษณะ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุฉลาดในลักษณะอย่างนี้แล.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุย่อมกำจัดไข่ขางอย่างไร ภิกษุในธรรม-
วินัยนี้ ย่อมไม่ให้กามวิตกที่บังเกิดขึ้นครอบงำ ย่อมละ ย่อมบรรเทา
ย่อมทำให้มีความสิ้นสุด ซึ่งกามวิตกอันเกิดขึ้นแล้ว ย่อมให้กามวิตกที่
เกิดขึ้นแล้วถึงความไม่มี ย่อมไม่ให้พยาบาทวิตกที่บังเกิดขึ้นครอบงำ . . .
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 十二月 04, 2011

Phu

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 68/819/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา เอกัคคตา. องค์เหล่านี้ท่านกล่าวว่า ฌาน
เพราะอรรถว่าเข้าเพ่งอารมณ์
บทว่า จตสฺโส อปฺปมญฺญาโย - อัปปมัญญา ได้แก่
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ชื่อว่าอัปปมัญญา ด้วยการแผ่ไปไม่
มีประมาณ จริงอยู่ อัปปมัญญาเหล่านั้น ย่อมแผ่ไปยังสัตว์ทั้งหลาย
หาประมาณมิได้ด้วยอำนาจแห่งอารมณ์. หรือว่าแผ่ไปด้วยอำนาจการ
แผ่ไปโดยไม่มีเหลือแม้สัตว์ผู้เดียว เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า อปฺป-
มญฺาโย ด้วยอำนาจการแผ่ไปไม่มีประมาณ.
บทว่า จตสฺโส อรูปสมาปตฺติโย - อรูปสมาบัติ ได้แก่
อากาสานัญจายตนสมาบัติ วิญญาณัญจายตนสมาบัติ อากิญจัญญายตน-
สมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ.
บทว่า จตสฺโสอาทิผิด อักขระ ปฏิสมฺภิทา - ปฏิสัมภิทา ๔ มีความดังได้
กล่าวไว้แล้ว.

บทว่า จตสฺโสอาทิผิด ปฏิปทา - ปฏิปทา ๔ ได้แก่ ปฏิปทา ๔ ที่
พระผู้อาทิผิด สระมีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา-ปฏิบัติลำบาก รู้ช้า.
ทุกฺขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา-ปฏิบัติลำบาก รู้เร็ว.
สุขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา-ปฏิบัติสบาย รู้ช้า.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 十二月 03, 2011

Krap

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 29/315/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๗๙๘] ดูก่อนท่านโมคคัลลานะ น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมี ในข้อที่
อรรถกับอรรถ พยัญชนะกับพยัญชนะ ของศาสดากับของสาวก ย่อมเทียบ
กันได้ สมกันได้ ไม่ผิดเพี้ยนกันในบทที่สำคัญ ดูก่อนท่านโมคคัลลานะ.
เมื่อกี้นี้ข้าพเจ้าได้เข้าไปเฝ้าพระสมณโคดม ได้ทูลถามเรื่องนี้ แม้พระ-
สมณโคดมก็ได้ทรงพยากรณ์เรื่องนี้ ด้วยบทเหล่านี้ ด้วยพยัญชนะเหล่านี้
แก่ข้าพเจ้า ดุจท่านโมคคัลลานะเหมือนกัน ดูก่อนท่านโมคคัลลานะ
น่าอัศจรรย์ ไม่เคยมี ในข้อที่อรรถกับอรรถ พยัญชนะกับพยัญชนะของ
ศาสดากับของสาวก ย่อมเทียบกันได้ สมกันได้ ไม่ผิดเพี้ยนกันในบทที่
สำคัญ.
จบ วัจฉสูตรที่ ๗

๙. กุตุหลสาลาสูตร

ว่าด้วยพระผู้มีพระภาคเจ้ายอดเยี่ยมกว่าครูทั้ง ๖

[๗๙๙] ครั้งนั้นแล วัจฉโคตรปริพาชกได้เข้าไปเฝ้าพระผู้มี-
พระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ได้ปราศัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นผ่านการ
ปราศรัยพอให้ระลึกถึงกันไปแล้วจึงนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้ว
ได้กราบอาทิผิด อักขระทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ เมื่อวันก่อน ๆ
โน้น พวกสมณพราหมณ์และปริพาชกผู้ถือลัทธิอื่นมากด้วยกัน นั่งประชุม
กันในศาลาวุ่นวาย ได้เกิดมีการสนทนาขึ้นในระหว่างว่า ปูรณกัสสปนี้แล
เป็นเจ้าหมู่เจ้าคณะ. เป็นคณาจารย์ มีชื่อเสียง มีเกียรติยศ เป็นเจ้าลัทธิ
ชนส่วนมากยกย่องว่า ปูรณกัสสปนั้นย่อมพยากรณ์สาวกผู้กระทำกาล
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 十二月 02, 2011

Thue Man

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/698/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี กรุงสาวัตถี. ครั้งนั้นแล ท่านพระราหุล
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว ถวาย
บังคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เมื่อท่านพระ-
ราหุลนั่งเรียบร้อยแล้ว ได้ทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์
ผู้เจริญ เมื่อบุคคลรู้อยู่เห็นอยู่อย่างไร มนัสจึงจะปราศจากอหังการ
มมังการ และมานะในกายที่มีใจครองนี้ และในสรรพนิมิตภายนอก
ก้าวล่วงส่วนแห่งมานะด้วยดี สงบระงับ พ้นวิเศษแล้ว.
[๖๓๕] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนราหุล รูปอย่างใด
อย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีตก็ดี ที่เป็นอนาคตก็ดี ที่เป็นปัจจุบันก็ดี ที่เป็น
ภายในก็ดี ที่เป็นภายนอกก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณีต
ก็ดี อยู่ในที่ไกลก็ดี อยู่ในที่ใกล้ก็ดี รูปทั้งหมดนั้น อริยสาวกเห็นแล้ว
ด้วยปัญญาอันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่
เป็นนั่น นั่นไม่ใช่อัตตาของเรา ดังนี้ ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นไปเพราะไม่
ถือมั่นอาทิผิด อักขระ [ขันธ์ทั้ง ๕ ก็ควรทำอย่างนี้].
เวทนาอย่างใดอย่างหนึ่ง. . . สัญญาอย่างใดอย่างหนึ่ง. . . สังขาร
เหล่าใดเหล่าหนึ่ง. . . วิญญาณอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่เป็นอดีตก็ดี ที่เป็น
อนาคตก็ดี ที่เป็นปัจจุบันก็ดี ที่เป็นภายในก็ดี ที่เป็นภายนอก
ก็ดี หยาบก็ดี ละเอียดก็ดี เลวก็ดี ประณีตก็ดี อยู่ในที่ไกลก็ดี
อยู่ในที่ใกล้ก็ดี วิญญาณทั้งหมดนั้น อริยสาวกเห็นแล้วด้วยปัญญาอันชอบ
ตามความอาทิผิด อักขระเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่ใช่
อัตตาของเรา ดังนี้ ย่อมเป็นผู้หลุดพ้นไปเพราะไม่ถือมั่น ดูก่อนราหุล
 
พระปิฎกธรรม