Phu
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 68/819/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีองค์ ๒ คือ อุเบกขา เอกัคคตา. องค์เหล่านี้ท่านกล่าวว่า ฌาน
เพราะอรรถว่าเข้าเพ่งอารมณ์
บทว่า จตสฺโส อปฺปมญฺญาโย - อัปปมัญญา ได้แก่
เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ชื่อว่าอัปปมัญญา ด้วยการแผ่ไปไม่
มีประมาณ จริงอยู่ อัปปมัญญาเหล่านั้น ย่อมแผ่ไปยังสัตว์ทั้งหลาย
หาประมาณมิได้ด้วยอำนาจแห่งอารมณ์. หรือว่าแผ่ไปด้วยอำนาจการ
แผ่ไปโดยไม่มีเหลือแม้สัตว์ผู้เดียว เพราะเหตุนั้นท่านจึงกล่าวว่า อปฺป-
มญฺาโย ด้วยอำนาจการแผ่ไปไม่มีประมาณ.
บทว่า จตสฺโส อรูปสมาปตฺติโย - อรูปสมาบัติ ได้แก่
อากาสานัญจายตนสมาบัติ วิญญาณัญจายตนสมาบัติ อากิญจัญญายตน-
สมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนสมาบัติ.
บทว่า จตสฺโสอาทิผิด อักขระ ปฏิสมฺภิทา - ปฏิสัมภิทา ๔ มีความดังได้
กล่าวไว้แล้ว.
บทว่า จตสฺโสอาทิผิด ปฏิปทา - ปฏิปทา ๔ ได้แก่ ปฏิปทา ๔ ที่
พระผู้อาทิผิด สระมีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ทุกฺขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา-ปฏิบัติลำบาก รู้ช้า.
ทุกฺขาปฏิปทา ขิปฺปาภิญฺา-ปฏิบัติลำบาก รู้เร็ว.
สุขาปฏิปทา ทนฺธาภิญฺา-ปฏิบัติสบาย รู้ช้า.
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论