Chuea
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 62/696/24 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในคาถานั้น คำว่า เพลิดเพลิน ได้แก่ เกิดความเพลิดเพลินขึ้นแล้ว.
คำว่า ปลื้มใจ ชื่นใจ อิ่มใจ นอกนี้ก็เป็นคำอธิบายขยายความของคำว่าเพลิด
เพลินนั่นแล แท้จริงคำทั้ง ๔ คำนี้ ก็คือเป็นคำที่แสดงถึงอาการร่าเริงยินดีนั่นเอง.
ลำดับนั้น พระมหาสัตว์ตรัสว่า ท่านจักให้พรอะไร เมื่อจะตรัส
รุกรานเจ้าโปริสาทได้ตรัสพระคาถาว่า
ดูก่อนพระสหายผู้มีธรรมอันลามก พระองค์ไม่
รู้สึกถึงความตายของพระองค์ ไม่รู้สึกถึงสิ่งที่เป็น
ประโยชน์และหาประโยชน์มิได้ ทั้งนรกและสวรรค์
เป็นผู้ติดอยู่ในรส ตั้งอยู่ในทุจริต จักให้พรอะไร.
ข้าพเจ้าพึงบอกพระองค์ว่า จงให้พร แม้อาทิผิด อาณัติกะพระองค์
ให้พรแล้ว จะกลับไม่ให้ก็ได้ ความทะเลาะวิวาทนี้
อยู่ในอำนาจของพระองค์ ใครจะเข้ามาเป็นบัณฑิต
วินิจฉัยชี้ขาดได้.
ในคาถานั้น บทว่า โย อธิบายว่า พระองค์ไม่รู้สึก คือไม่รู้ถึง
ความตายแม้ของพระองค์เองว่า ตัวเรานี้ก็มีความตายเป็นธรรมดา จึงได้ประ-
กอบกรรมอันลามกอย่างเดียว. บทว่า หิตาหิตํ ความว่า พระองค์ไม่รู้จักว่า
กรรมนี้เป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เรา กรรมนี้หามีประโยชน์ไม่ กรรมนี้จักนำไป
สู่นรก กรรมนี้จักนำอาทิผิด สระไปสู่สวรรค์. บทว่า รเส ได้แก่ ในรสแห่งเนื้อมนุษย์.
บทว่า วชฺชํ แปลว่า พึงกล่าว. บทว่า อวากเรยฺย ความว่า พระองค์
ให้พรด้วยวาจา แม้ข้าพเจ้ากล่าวอยู่ว่า พระองค์จงให้พรนั้นแก่ข้าพเจ้า
พระองค์จะกลับไม่ให้เสียก็ได้. บทว่า อุปพฺพเชยฺย ความว่า ใครจะมา
เป็นบัณฑิตวินิจฉัยการทะเลาะนี้ได้.
ลำดับนั้น เจ้าโปริสาทดำริว่า ท่านสุตโสมนี้ไม่เชื่อเรา เราจะให้เธอ
เชื่ออาทิผิด อักขระให้ได้ แล้วกล่าวคาถาว่า
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论