星期五, 九月 30, 2011

Sampachanya

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 65/408/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ต่อกันไป ไม่ทำให้ติดต่อกันไป. บุคคลนี้ไม่ทำอย่างนั้น เหตุนั้นจึงชื่อว่า
เป็นผู้ทำไม่หยุด.
บทว่า อโนลีนวุตฺติโก ความว่า เป็นผู้มีความประพฤติย่อหย่อน
หามิได้ เพราะมีการแผ่ไป กล่าวคือการทำไม่มีระหว่าง เหตุนั้นจึงชื่อว่า
เป็นผู้มีความประพฤติไม่ย่อหย่อน.
บทว่า อนิกฺขิตฺตจฺฉนฺโท ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ปลงฉันทะ
เพราะความที่ไม่ปลงฉันทะในความเพียรทำกุศล.
บทว่า อนิกฺขิตฺตธุโร ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้ไม่ทอดธุระ เพราะ
ไม่ปลงธุระคือความเพียร อธิบายว่า เป็นผู้มีใจไม่ท้อถอย.
บทว่า โย ตตฺถ ฉนฺโท จ วาจาโม จ ความว่า ความพอใจใน
ธรรมคือความเป็นผู้ใคร่เพื่อกระทำ, ความพยายามกล่าวคือประกอบความ
อุตส่าห์ด้วยสามารถความขะมักเขม้น, และความเป็นผู้ขยันด้วยสามารถ
ความขะมักเขม้นมีประมาณยิ่ง. นี้ชื่อว่าความพยายาม ด้วยอรรถว่าไปสู่ฝั่ง.
นี้ชื่อว่าความอุตส่าห์ ด้วยอรรถว่าไปก่อน. นี้ชื่อว่าความเป็นผู้ขยันด้วย
อรรถว่ามีประมาณยิ่ง.
บทว่า อปฺปฏิวานี จ ได้แก่ ความไม่ถอยกลับ.
บทว่า สติ จ สมฺปชญฺญญฺจอาทิผิด ความว่า ชื่อว่าสติ ด้วยอรรถว่า
ระลึกได้ ชื่อว่า สัมปชัญญะ ด้วยอรรถว่า รู้ตัว. อธิบายว่า รู้โดย
ประการทั้งหลายโดยรอบ. พึงทราบประเภทแห่งสัมปชัญญะนี้ คือ สาตถก
สัมปชัญญะ, สัปปายสัมปชัญญะอาทิผิด อักขระ, โคจรสัมปชัญญะ, อสัมโมหสัมปชัญญะ.
บทว่าอาทิผิด อาณัติกะ อาตปฺปํ ได้แก่ ความเพียรเครื่องเผากิเลส.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: