星期日, 十二月 25, 2011

Parachik

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 10/953/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
แต่คำที่มาในกุรุนทีว่า คาถาที่ ๑ ตรัสหมายถึงกรรมไม่พร้อมหน้า
๘ อย่าง ที่ ๒ ตรัสหมายถึงกรรมของภิกษุผู้ไม่มีอาบัติ.
สองบทว่า ฉินฺทนฺตสฺส อนาปตฺติ ได้แก่ เป็นปาราชิก แก่
ภิกษุผู้ตัดหญ้าและเถาวัลย์ เป็นถุลลัจจัย แก่ภิกษุผู้ตัดองคชาต.
สองบทว่า ฉินฺทนฺตสฺส อนาปตฺติ คือ ไม่เป็นอาบัติ แก่ภิกษุ
ผู้ปลงผมและตัดเล็บ.
บทว่า ฉาเทนฺตสฺส คือ เป็นอาบัติ แก่ภิกษุผู้ปิดอาบัติ.
บทว่า อนาปตฺติ คือ ไม่เป็นอาบัติ แก่ภิกษุผู้มุงเรือนเป็นต้น.
วินิจฉัยในคาถาว่า สจฺจํ ภณนฺโต พึงทราบดังนี้ :-
ภิกษุพูดคำจริง กะสตรีผู้มีหงอน และคนกะเทยว่า เธอมีหงอน เธอ
มี ๒ เพศ ดังนี้ ย่อมต้องครุกาบัติ. แต่เป็นลหุกาบัติ แก่ภิกษุผู้กล่าวเท็จ
เพราะสัมปชานมุสาวาท. เมื่อกล่าวเท็จ เพราะอวดอุตริมนุสธรรมที่ไม่มีจริง
ต้องครุกาบัติ. เป็นลหุกาบัติ แก่ภิกษุผู้พูดจริง เพราะอวดอุตริมนุสธรรม
ที่มีจริง.
คาถาว่า อธิฏฺฐิตํ ตรัสหมายถึงภิกษุผู้ไม่สละก่อน บริโภคจีวรที่
เป็นนิสสัคคีย์.
คาถาว่า อตฺถงฺคเต สุริเย ตรัสหมายถึงภิกษุผู้มักอ้วก.
คาถาว่า น รตฺตจิตฺโต มีเนื้อความดังต่อไปนี้ :-
ภิกษุมีจิตกำหนัด ต้องเมถุนธรรมปาราชิก มีเถยยจิต ต้องอทินนา-
ทานปาราชิก ยังผู้อื่นให้อาทิผิด สระจงใจเพื่อตาย ต้องมนุสสวิคคหปาราชิกอาทิผิด สระ. แต่ภิกษุผู้
ทำลายสงฆ์ มิใช่ผู้มีจิตกำหนัดและมิใช่ผู้มีเถยยจิต ทั้งเธอหาได้ชักชวนผู้อื่น
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: