星期六, 十二月 17, 2011

Patikha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/350/23 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เพราะภวสังโยชน์ยังไม่สิ้น. อีกอย่างหนึ่ง บรรดากำเนิด ๔ เหล่า สัตว์ที่เป็น
อัณฑชะเกิดในไข่และชลาพุชะเกิดในครรภ์ ยังไม่ทำลายเปลือกฟองไข่และรก
ออกมาตราบใด ตราบนั้น ก็ชื่อว่า สัมภเวสี. ที่ทำลายเปลือกฟองไข่ และ
รกแล้วออกมาข้างนอก ชื่อว่า ภูต. เหล่าสัตว์ที่เป็นสังเสทชะ และ โอปปาติกะ
ชื่อว่า สัมภเวสี ในขณะปฐมจิต ตั้งแต่ขณะทุติยจิตไปชื่อว่า ภตะ. หรือสัตว์อาทิผิด
ทั้งหลายเกิดโดยอิริยาบถใด ยังไม่เปลี่ยนอิริยาบถเป็นอื่นไปจากอิริยาบถนั้น
ตราบใด ตราบนั้น ยังอาทิผิด สระชื่อว่า สัมภเวสี นอกจากนั้น ไปชื่อว่า ภูตะ.

พรรณนาคาถาที่ ๖
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเมตตาภาวนาในสัตว์ทั้งหลาย โดย
ปรารถนาแต่จะให้เข้าถึงประโยชน์สุขของภิกษุเหล่านั้น โดยประการต่าง ๆ ด้วย
๒ คาถาครึ่งว่า สุขิโน วา เป็นต้น อย่างนี้แล้ว บัดนี้ เมื่ออาทิผิด อาณัติกะทรงแสดง
ภาวนานั้น แม้โดยปรารถนาให้ออกไปจากสิ่งที่ไม่เป็นประโยชน์และทุกข์จึง
ตรัสว่า น ปโร ปรํ นิกุพฺเพถ. นี้เป็นปาฐะเก่า แต่ปัจจุบันสวดกันว่า
ปรํ ปิ ดังนี้ก็มี ปาฐะนี้ไม่งาม.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปโร ได้แก่ ชนอื่น. บทว่า น
กุพฺเพถ ได้แก่ ไม่หลอกลวง. บทว่า นาติมญฺเญถ ได้แก่ ไม่สำคัญเกิน
ไป [ไม่ดูหมิ่น]. บทว่า กตฺถจิ ได้แก่ในโอกาสไหน ๆ คือในหมู่บ้านหรือ
ในเขตหมู่บ้าน ท่ามอาทิผิด อักขระกลางญาติหรือท่ามกลางบุคคล ดังนี้เป็นต้น. บทว่า นํ
แปลว่า นั่น. บทว่า กิญฺจิ ได้แก่ผู้ใดผู้หนึ่ง คือกษัตริย์หรือพราหมณ์
คฤหัสถ์หรือบรรพชิต ที่ถึงสุข หรือที่ถึงทุกข์ ดังนี้เป็นต้น. บทว่า พฺยา-
โรสนา ปฏีฆสญฺญา ได้แก่ เพราะความกริ้วโกรธด้วยกายวิการและวจีวิการ
และเพราะคุมแค้นด้วยมโนวิการ. เพราะเมื่อควรจะตรัสว่า พฺยาโรสนาย
ปฏีฆอาทิผิด อักขระสญฺญาย แต่ก็ตรัสเสียว่า พฺยาโรสนา ปฏีฆสญฺญา เหมือนเมื่อ
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: