星期五, 七月 31, 2015

Ropkhop

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 8/618/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
เนื้อความแม้ในอัพยากตวาระ พึงทราบดังนี้:-
จิตใดย่อมเป็นองค์แห่งอาบัติ, ไม่รู้อยู่โดยความไม่มีแห่งจิตนั้นทั้ง
ไม่รู้อยู่ ไม่รู้พร้อมอยู่ กับด้วยอาการคือก้าวล่วง ไม่จงใจ โดยความ
ไม่มีวีติกกมะเจตนา ซึ่งเป็นองค์แห่งอาบัติ ไม่ฝ่าฝืน คือไม่ได้ส่งจิต
อันปราศจากความรังเกียจไป โดยความไม่มีความแกล้งเหยียบย่ำย่อมก้าว
ล่วงคือย่อมต้องอาปัตตาธิกรณ์ใด วีติกกมะใดของภิกษุนั้น ผู้ก้าวล่วง
อยู่ด้วยประการอย่างนั้น วีติกกมะนี้ ท่านกล่าวว่า อาปัตตาธิกรณ์เป็น
อัพยากฤต.
ในคำว่า อยํ วิวาโท โน อธิกรณํ เป็นต้น พึงทราบ
เนื้อความอย่างนี้ว่า วิวาทนี้ ไม่จัดเป็นอธิกรณ์ เพราะไม่มีความเป็น
กิจที่จะต้องระงับด้วยสมถะทั้งหลาย.
ในคำว่า ยาวติกา ภิกฺขู กมฺมปฺปตฺตา นี้ พึงทราบว่า
ในกรรมที่จะกระทำด้วยสงฆ์จตุวรรค ภิกษุ ๔ รูป เป็นผู้พอทำกรรมให้
เสร็จ, ในกรรมที่จะพึงกระทำด้วยสงฆ์ปัญจวรรค ภิกษุ ๕ รูปเป็นผู้
พอทำกรรมให้เสร็จ, ในกรรมที่จะพึงทำด้วยสงฆ์ทสวรรค ภิกษุ ๑๐
รูปเป็นผู้พอทำกรรมให้เสร็จ, ในกรรมที่จะพึงทำด้วยสงฆ์วีสติวรรคภิกษุ
๒๐ รูปเป็นผู้พอทำกรรมให้เสร็จ.
บทว่า สุปริคฺคหิตํ มีความว่า อธิกรณ์นั้น อันภิกษุทั้งหลาย
ผู้เจ้าถิ่น พึงกระทำให้เป็นการอันตนป้องกันรอบคอบอาทิผิด อักขระดีแล้วจึงรับ.
ก็แล ครั้นรับแล้ว พึงกล่าวว่า วันนี้ พวกเราจะซักอาทิผิด อักขระจีวร,
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 29, 2015

Phum

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 84/294/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ชีวิตินทริยมูละ อุเปกขินทริยมูลี:-
[๕๙๐] ชีวิตินทรีย์กำลังเกิดเเก่บุคคลใดในภูมิใด, อุเปกขิน-
ทรีย์ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
บุคคลเว้นอุเปกขาเสียแล้วกำลังเกิดอยู่ก็ดี ในอุปปาทขณะแห่ง
อุเปกขาวิปปยุตจิตในปวัตติกาลก็ดี ชีวิตินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่า
นั้นในภูมินั้น แต่อุเปกขินทรีย์ไม่ใช่กำลังเกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมิ
นั้น, บุคคลมีอุเปกขาเกิดได้กำลังเกิดอยู่ก็ดี ในอุปปาทขณะแห่งอุเปกขา
สัมปยุตจิตในปวัตติกาลก็ดี ชีวิตินทรีย์กำลังเกิด อุเปกขินทรีย์ก็กำลัง
เกิดแก่บุคคลเหล่านั้นในภูมิอาทิผิด นั้น.
ก็หรือว่าอุเปกขินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในอาทิผิด สระภูมิใด, ชีวิตินทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
ใช่.
จบ ชีวิตินทริยมูละ อุเปกขินทริยมูลี

ชีวิตินทริยมูละ สัทธินทริยมูลี:-
[๕๙๑] ชีวิตินทรีย์กำลังเกิดแก่บุคคลใดในภูมิใด, สัทธินทรีย์
ก็กำลังเกิดแก่บุคคลนั้นในภูมินั้น ใช่ไหม ?
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 28, 2015

Ko

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 24/2/11  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ท่านผู้มีอายุ เราไม่พักอยู่ ไม่เพียรอยู่
ข้ามโอฆะได้แล้ว.
ท. ข้าแต่พระองค์ผู้ไม่มีทุกข์ ก็พระองค์ไม่พักไม่เพียร ข้ามโอฆะ
ได้อย่างไรเล่า.
พ. ท่านผู้มีอายุ เมื่อใด เรายังพักอยู่ เมื่อนั้น เรายังจมอยู่โดยแท้
เมื่อใดเรายังเพียรอยู่ เมื่อนั้น เรายังลอยอยู่โดยแท้ ท่านผู้มีอายุ เราไม่พัก
เราไม่เพียร ข้ามโอฆะได้แล้วอย่างนี้แล.
เทวดานั้นกล่าวคาถานี้ว่า
นานหนอ ข้าพเจ้าจึงจะเห็นขีณาสว
พราหมณ์ผู้ดับรอบแล้ว ไม่พัก ไม่เพียรอยู่
ข้ามตัณหาเป็นเครื่องเกาะอาทิผิด อักขระเกี่ยวในโลก.
[๓] เทวดานั้น กล่าวคำนี้แล้ว พระศาสดาทรงอนุโมทนา ครั้งนั้นแล
เทวดานั้นดำริว่า พระศาสดาทรงอนุโมทนาคำของเรา จึงถวายอภิวาทพระผู้มี
พระภาคเจ้า ทำประทักษิณแล้วก็หายไป ณ ที่นั้นแล.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 24, 2015

Nibat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   37/1/2  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระสุตตันตปิฎก
อังคุตตรนิกาย สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาตอาทิผิด สระ
เล่มที่ ๔
ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้น
อังคุตตรนิกาย สัตตกนิบาต
ปฐมปัณณาสก์
ธนวรรคที่ ๑
๑. อัปปิยสูตร
[๑] ข้าพเจ้าได้สดับมาแล้วอย่างนี้.
สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
อารามของท่านอนาถบิณฑิกเศรษฐี ใกล้กรุงสาวัตถี ณ ที่นั้นแล
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเรียกภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
ภิกษุเหล่านั้นได้ทูลรับพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มีพระภาคเจ้า
ได้ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้ประกอบด้วยธรรม ๗ ประการ
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 七月 23, 2015

Klaeo Kla

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 51/124/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ได้ยาก อุปมาเหมือนดอกมะเดื่อ เราควรเข้าเฝ้าในบัดนี้แหละ ดังนี้แล้ว
แล้วเดินทางไปเฝ้าพระศาสดาพร้อมกับบริษัทหมู่ใหญ่ เมื่อเหลือทางอีกหนึ่ง
โยชน์ครึ่งจะถึงก็ล้มป่วยถึงความตาย โดยสัญญา อันส่งไปแล้วในพระพุทธเจ้า
บังเกิดในเทวโลก ท่องเที่ยวไป ๆ มา ๆ อยู่ในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย
เกิดเป็นน้องชายคนเล็กของพระเจ้าธรรมาโศกราช ในที่สุดแห่งปีพุทธศักราช
๒๑๘ ในพุทธุปบาทกาลนี้. ท่านได้มีพระนามว่า วีตโสกะ.
วีตโสกราชกุมาร เจริญวัยแล้ว ถึงความสำเร็จในวิชาและศิลปศาสตร์
ที่พึงศึกษาร่วมกับขัตติยกุมารทั้งหลายแล้ว (ศึกษาจนแตกฉานเชี่ยวชาญ)
แกล้วกล้าอาทิผิด อาณัติกะในสุตตันตปิฎกและในพระอภิธรรมปิฎก ทั้ง ๆ ที่เป็นคฤหัสถ์ โดย
อาศัยพระคิริทัตตเถระ วันหนึ่งรับกระจกจากมือของช่างกัลบก ในเวลาปลง
พระมัสสุ มองดูพระวรกาย เห็นอวัยวะที่มีหนังเหี่ยวและผมหงอกเป็นต้น
บังเกิดความสลดพระทัย ยังจิตให้หยั่งลงในวิปัสสนา แล้วยกขึ้นสู่ภาวนา เป็น
พระโสดาบัน บนอาสนะนั้นเอง บวชในสำนักของพระคิริทัตตเถระ แล้ว
บรรลุพระอรหัตต่อกาลไม่นานนัก. สมดังคาถาประพันธ์ที่ท่านกล่าวไว้ใน
อปทานว่า
เราเป็นคนเล่าเรียน ทรงจำมนต์ รู้จบไตรเพท
ชำนาญในคัมภีร์ทำนายมหาปุริสลักษณะ คัมภีร์อิติ
หาสะพร้อมด้วยคัมภีร์นิฆัณฑุอาทิผิด อักขระศาสตร์และคัมภีร์เกตุภ-
ศาสตร์ ครั้งนั้นพวกศิษย์มาหาเราปานดังกระแสน้ำ
เราไม่เกียจคร้าน บอกมนต์แก่ศิษย์เหล่านั้นทั้งกลาง
วันและกลางคืน ในกาลนั้น พระสัมพุทธเจ้า ทรง
พระนามว่า สิทธัตถะ เสด็จอุบัติขึ้นในโลก พระองค์
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 22, 2015

Praphatson

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 38/108/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ดวงจันทร์และดวงอาทิตย์ย่อมหมุนเวียนส่อง
ทิศให้ไพโรจน์อยู่ในที่มีประมาณเท่าใด โลกธาตุพันหนึ่งมีอยู่ในที่มีประ-
มาณเท่านั้น ในโลกธาตุพันหนึ่งนั้นดวงจันทร์พันดวง ดวงอาทิตย์
พันดวง ขุนเขาสิเนรุหนึ่งพัน ชมพูทวีปพันทวีป อมรโคยานพันทวีป
อุตตรกุรุพันทวีป ปุพพวิเทหะพันทวีป มหาสมุทรสี่พัน เทวโลก
ชั้นมหาราชสี่พัน ชั้นอาทิผิด อาณัติกะจาตุมหาราชิกาหนึ่งพัน ชั้นดาวดึงส์หนึ่งพัน
ชั้นยามาหนึ่งพัน ชั้นดุสิตหนึ่งพัน ชั้นนิมมานรดีหนึ่งพัน ชั้นปรนิมมิต-
วสวัตดีหนึ่งพัน ชั้นพรหมโลกหนึ่งพัน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พันโลก-
ธาตุมีประมาณเท่าใด ท้าวมหาพรหม โลกกล่าวว่าเป็นเลิศในพันโลกธาตุ
นั้น ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ความเป็นอย่างอื่นมีอยู่ ความแปรปรวนก็มีอยู่แม้
แก่ท้าวมหาพรหม ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่างนี้
ย่อมหน่ายแม้ในพันโลกธาตุนั้น เมื่อหน่ายในพันโลกธาตุนั้น ย่อมคลาย
กำหนัดในความเป็นผู้เลิศ จะป่วยกล่าวไปไยในสิ่งที่เลวเล่า.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย สมัยที่โลกนี้พินาศมีอยู่ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อโลกพินาศอยู่ สัตว์ทั้งหลายย่อมเป็นไปในพรหมโลก ชั้นอาภัสสระ
โดยมาก สัตว์เหล่านั้นเป็นผู้สำเร็จแล้วด้วยใจ มีปีติเป็นภักษา มีแสงสว่าง
ในตัวเอง เที่ยวไปได้ในอากาศ มีปกติดำรงอยู่ได้ด้วยดี ย่อมดำรงอยู่
ในพรหมโลกชั้นอาภัสสระนั้น ตลอดกาลยืดยาวนาน ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เมื่อโลกพินาศอยู่ อาภัสสรเทพทั้งหลาย โลกกล่าวว่าเป็นผู้เลิศ ดูก่อน
ภิกษุทั้งหลาย ความเป็นอย่างอื่นมีอยู่แท้ ความแปรปรวนก็มีแม้แก่
ประภัสสรอาทิผิด เทพทั้งหลาย ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อริยสาวกผู้ได้สดับเห็นอยู่อย่าง
นี้ ย่อมหน่ายแม้ในพรหมโลกชั้นอาภัสสระนั้น เมื่อหน่ายในพรหมโลกชั้น
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 20, 2015

Tham

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 31/292/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๑๔๕๖] ครั้งนั้น พราหมณ์และคฤหบดีชาวเวฬุทวารคามได้เข้าไป
เฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ บางพวกถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า
บางพวกได้ปราศรัยกับพระผู้มีพระภาคเจ้า บางพวกประนมอัญชลีไปทาง
พระผู้มีพระภาคเจ้า บางพวกประกาศชื่อและโคตรในสำนักพระผู้มีพระภาคเจ้า
แล้วนั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง ครั้นแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า
[๑๔๕๗] ข้าแต่พระโคดม ข้าพระองค์ทั้งหลายมีความปรารถนา มี
ความพอใจ มีความประสงค์อย่างนี้ ๆ ว่า. ขอเราทั้งหลายพึงแออัดไปด้วยบุตร
อยู่ครองเรือน พึงลูบไล้จันทน์ที่เขานำมาแต่แคว้นกาสี พึงทัดทรงมาลา
ของหอม และเครื่องลูบไล้ พึงยินดีทองและเงิน เมื่อแตกกายตายไป พึง
เข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ข้าพระองค์ทั้งหลายจะพึงแออัดไปด้วยบุตรอยู่ครอง
เรือน. . . เมื่อแตกกายตายไป พึงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ด้วยประการใด
ขอท่านพระโคดมโปรดทรงแสดงธรรม ด้วยประการนั้น แก่ข้าพระองค์
ทั้งหลาย ผู้มีความปรารถนา ผู้มีความพอใจ ผู้มีความประสงค์อย่างนั้น ๆ
เถิด.
[๑๔๕๘] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดี
ทั้งหลาย เราจักแสดงธรรมปริยายอันควรน้อมเข้ามาในตนแก่ท่านทั้งหลาย
ท่านทั้งหลายจงฟังธรรมปริยายนั้น จงใส่ใจให้ดี เราจักกล่าว พราหมณ์และ
คฤหบดีชาวเวฬุทวารคามทูลรับพระดำรัสพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว พระผู้มี
พระภาคเจ้าได้ตรัสว่า
[๑๔๕๙] ดูก่อนพราหมณ์และคฤหบดีทั้งหลาย ธรรมปริยายที่ควร
น้อมเข้ามาในตนเป็นไฉน อริยสาวกในธรรมอาทิผิด อักขระวินัยนี้ ย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า
เราอยากเป็นอยู่ ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ ผู้ใดจะปลงเราผู้อยากเป็นอยู่
ไม่อยากตาย รักสุข เกลียดทุกข์ เสียจากชีวิต ข้อนั้นไม่เป็นที่รักที่ชอบใจ
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 七月 17, 2015

Wing Won

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์   6/34/4  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ถามว่า ก็เพราะเหตุไร ความรำพึงแห่งใจนี้ จึงเกิดขึ้นแก่พระพุทธ-
เจ้าทุกพระองค์ ?
ตอบว่า เพราะทรงพิจารณาชื่อที่พระธรรมเป็นคุณใหญ่ เป็นคุณเลิศ
ลอย เป็นของหนัก และเพราะเป็นผู้ใคร่จะทรงแสดงตามคำที่พรหมทูลวิงวอนอาทิผิด อาณัติกะ.
จริงอยู่ พระพุทธเจ้าทั้งหลายย่อมทรงทราบว่า เมื่อพระองค์ทรงรำพึง
อย่างนั้น พรหมจักมาทูลเชิญแสดงธรรม ที่นั้น สัตว์ทั้งหลายจักให้เกิดความ
เคารพในธรรม เพราะว่า โลกสันนิวาสเคารพพรหม. ความรำพึงนี้ เกิดขึ้น
เพราะเหตุ ๒ ประการนี้ ด้วยประการฉะนั้นแล.
บรรดาบทเหล่านั้น หลายบทว่า อธิคโต โข มยายํ ตัดบทว่า
อธิคโต โข เม อยํ ความว่า ธรรมนี้ อันเราบรรลุแล้วแล.
บทว่า อาลยรามา มีความว่า สัตว์ทั้งหลายย่อมพัวพันในกามคุณ
๕ อย่าง เพราะเหตุนั้น กามคุณ ๕ เหล่านั้น ท่านจึงเรียกว่า อาลัย หมู่สัตว์
ย่อมรื่นรมย์ด้วยกามคุณเป็นที่พัวพันเหล่านั้น เหตุนั้น จึงชื่อว่า ผู้รื่นรมย์ด้วย
อาลัย. หมู่สัตว์ยินดีแล้วในกามคุณเป็นที่พัวพันทั้งหลาย เพราะฉะนั้น จึงชื่อ
ว่าผู้ยินดีในอาลัย. หมู่สัตว์เพลินด้วยดีในกามคุณเป็นที่พัวพันทั้งหลาย เพราะ
ฉะนั้น จึงชื่อว่าผู้เพลินในอาลัย.
บทว่า ยทิทํ เป็นนิบาต ความแห่งบทว่า ยทิทํ นั้น หมายเอา
ฐานะ พึงเห็นอย่างนี้ว่า ยํ อิทํ หมายเอาปฏิจจสมุปบาท พึงเห็นอย่างนี้ว่า
โย อยํ.
บทว่า อิทปฺปจฺจยตาปฏิจฺสมุปฺปาโท มีอรรถวิเคราะห์ว่าธรรม
เหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งธรรมเหล่านี้ ชื่อ อิทปฺปจฺจยา อิทปฺปจฺจยา นั่น
ชื่อว่า อิทปฺปจฺจยตา ธรรมเหล่านี้ เป็นปัจจัยแห่งธรรมเหล่านี้นั้น เป็นธรรม
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 七月 14, 2015

Mahesi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 46/124/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ในราชสมบัติมีนิดหน่อย มีโทษมาก ส่วนความสุขในสมณธรรม มีอานิสงส์
มากไพบูลย์ และอันอุดมบุรุษซ่องเสพ แล้วตรัสสั่งอำมาตย์คนหนึ่งว่า เจ้าจง
ปกครองราชสมบัตินี้ โดยราชธรรมโดยสม่ำเสมอ อย่าได้ทำการอันไม่เป็นธรรม
ทรงมอบราชสมบัติทั้งหมด เสด็จขึ้นสู่ปราสาท ประทับอยู่ด้วยความสุขใน
สมาบัติ ใคร ๆ ไม่ได้เพื่อเข้าเฝ้า นอกจากมหาดเล็กผู้ถวายน้ำล้างพระพักตร์
ไม้ชำระพระทนต์ และผู้นำพระกระยาหารเป็นต้น.
ต่อมา พอประมาณกึ่งเดือนผ่านไป พระมเหสีตรัสถามว่า พระราชา
ไม่ทรงปรากฏในที่ใดเลย บรรดาการเสด็จไปอุทยาน การตรวจพล และการดู
การฟ้อนรำเป็นต้น พระองค์เสด็จไป ณ ที่ไหน ราชบุรุษทั้งหลายกราบทูล
เรื่องนั้นแด่พระนาง พระนางส่งข่าวสารถึงอำมาตย์ว่า เมื่อเจ้ารับราชสมบัติ
แล้ว แม้ตัวฉันเองก็เป็นอันเจ้ารับด้วย เพราะฉะนั้น เจ้าจงมา จงสำเร็จการ
อยู่ร่วมกับฉัน อำมาตย์นั้นปิดหูทั้งสองข้างแล้ว ทูลปฏิเสธว่า ขออย่าได้ยินเรื่อง
นั่น พระนางก็ส่งข่าวสารไปอีกถึง ๒-๓ ครั้ง ทรงคุกคามอำมาตย์ผู้ไม่
ปรารถนาว่า ถ้าท่านไม่ยอมกระทำ เราจะถอดท่านจากตำแหน่งเสีย หรือจะ
ฆ่าท่านเสีย อำมาตย์นั้นกลัวคิดว่า ธรรมดามาตุคามมีความปรารถนารุนแรง
พึงให้กระทำแม้อย่างนี้ ในกาลบางคราวก็ได้ ดังนี้ ในวันหนึ่งได้ไปในที่ลับ
สำเร็จการอยู่ร่วมกับพระนางบนที่บรรทมอันทรงสิริ พระนางทรงมีบุญ มี
สัมผัสอันเป็นสุข อำมาตย์นั้น ถูกราคะอันเกิดจากสัมผัสของพระมเหสีอาทิผิด สระนั้น
ย้อมแล้ว ก็ได้แอบไปบ่อย ๆ ที่พระตำหนักของพระนางนั้น เขาหมดความ
ระแวงเริ่มเข้าไป ดุจเป็นเจ้าของเรือนของตนโดยลำดับ.
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 七月 13, 2015

Racha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 46/125/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ต่อแต่นั้นมา พวกราชบุรุษก็กราบทูลเรื่องเป็นไปนั้นแด่พระราชาอาทิผิด อักขระ
พระราชาไม่ทรงเชื่อ ก็กราบทูลครั้งที่ ๒ บ้าง ครั้งที่ ๓ บ้าง ลำดับนั้น
พระองค์ประทับนั่งทรงเห็นด้วยพระองค์เอง ได้ตรัสสั่งให้ประชุมอำมาตย์ทุกคน
แล้วตรัสบอกเรื่องเป็นไปนั้น อำมาตย์เหล่านั้นกราบทูลว่า อำมาตย์นี้มีความ
ผิดต่อพระราชา สมควรตัดมือ สมควรตัดเท้า ดังนี้ ได้แสดงกรรมกรณ์
ทั้งหมด ตั้งแต่ให้นอนหงายบนหลาว พระราชาตรัสว่า เราพึงเกิดความเบียด-
เบียนในเพราะฆ่า จองจำ และเฆี่ยนตีอำมาตย์นั้น จะพึงมีปาณาติบาตใน
เพราะปลงชีวิต จะพึงมีอทินนาทานในเพราะริบทรัพย์ พอละด้วยกรรมเห็น
ปานนี้ ที่อำมาตย์นี้ทำแล้ว เราจะปลดอำมาตย์นี้จากราชสมบัติของเราเสีย
อำมาตย์ทั้งหลายได้เนรเทศอำมาตย์นั้นแล้ว อำมาตย์นั้นถือเอาทรัพย์สมบัติ
และบุตรภรรยาของตนไปสู่ต่างประเทศ พระราชาในประเทศนั้น ทรงสดับ
แล้วตรัสถามว่า เจ้ามาทำไม.
อ. ขอเดชะ. ข้าพระพุทธเจ้าปรารถนาจะบำรุงพระองค์พระเจ้าข้า.
พระราชาพระองค์นั้น ทรงรับอำมาตย์นั้น อำมาตย์ได้รับความไว้
วางพระหฤทัยโดยกาลล่วงไปเล็กน้อย ได้ทูลเรื่องนั้น กะพระราชาอาทิผิด สระนั้นว่า
ข้าแต่มหาราช ข้าพระพุทธเจ้าเห็นน้ำผึ้งซึ่งไม่มีตัว ผู้กินน้ำผึ้งนั้นก็ไม่มี.
พระราชาทรงพระราชดำริว่า อำมาตย์ประสงค์จะล้อเล่น จึงกล่าวเรื่องนั้น
ทำไมเล่า แล้วไม่ทรงฟัง อำมาตย์นั้นได้โอกาสพรรณนาให้ดีกว่าเดิม
แล้ว ทูลบอกอีก พระราชาตรัสถามว่า นั่นอะไร. นั่นคือราชสมบัติในกรุง-
พาราณสี พระพุทธเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า เธอประสงค์จะนำฉันไปตายหรือ
อำมาตย์นั้นทูลว่า ข้าแต่พระสมมติเทพ พระองค์อย่าได้ตรัสอย่างนั้น ถ้าไม่ทรง
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 11, 2015

1,000

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 6/105/4  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期二, 七月 07, 2015

Liam

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 63/38/6  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ทบธรณีประตู พระมหาสัตว์ได้ทรงสดับเสียงนั้น ทรงดำริว่า มโนรถของ
เราถึงที่สุดแล้ว ได้มีพระมนัสแช่มชื่นเป็นอย่างยิ่ง รถแล่นออกจากพระนคร
ไปถึงสถานที่สามโยชน์ ชัฏป่าในที่ตรงอาทิผิด อักขระนั้น ปรากฏแก่นายสารถีดุจป่าช้าผีดิบ
นายสารถีกำหนดว่า ที่นี้ผาสุก จึงแวะรถจากทางเข้าที่ข้างทาง ลงจากรถ
เปลื้องเครื่องแต่งองค์ของพระมหาสัตว์ ห่อวางไว้ แล้วถือจอบลงมือขุด
หลุมสี่เหลี่ยมอาทิผิด อักขระในที่ไม่ไกลรถ แต่นั้น พระมหาสัตว์ทรงดำริว่า กาลนี้เป็นกาลพยา-
ยามของเรา ก็เราพยายามถึงสิบหกปี ไม่ไหวมือและเท้า กำลังของเรายังมีอยู่
หรือว่าไม่มีหนอ ดังนี้แล้วลุกขึ้น ลูบมือขวาด้วยมือซ้าย ลูบมือซ้ายด้วยมือขวา
นวดพระบาททั้งสองด้วยพระหัตถ์ทั้งสอง เกิดดวงจิต คิดจะลงจากอาทิผิด อักขระรถ ขณะ
นั้นแผ่นดินได้สูงขึ้นจดท้ายรถ ตรงที่ประดิษฐานพระบาทแห่งพระมหาสัตว์
ดุจผิวฝุ่นที่เต็มด้วยลมฟุ้งขึ้นฉะนั้น. พระมหาสัตว์ เสด็จลงจากรถ ทรงดำเนิน
ไปมาสิ้นเวลาเล็กน้อย ก็ทรงทราบโดยนิยามนี้ว่า เรายังมีกำลังที่จะเดินทาง
ไกลถึงร้อยโยชน์ได้ในวันเดียว เมื่อทรงพิจารณาพระกำลังว่า หากนายสารถี
ประทุษร้ายเรา กำลังของเราที่จะต่อสู้กับนายสารถีมีอยู่หรือหนอ จึงทรงจับ
ท้ายรถยกขึ้น ประทับยืนกวัดแกว่งรถนั้น ดุจจับยานเครื่องเล่นของพวกเด็ก
ฉะนั้น เมื่อทรงกำหนดว่า กำลังที่จะต่อสู้กับนายสารถีของพระองค์ยังมีอยู่
จึงมีพระประสงค์จะได้เครื่องประดับองค์ ในขณะนั้นเองพิภพแห่งท้าวสักกเทว-
ราชได้แสดงอาการร้อน ท้าวสักกะทรงอาวัชนาการก็ทรงทราบเหตุนั้น ทรง
ดำริว่า ความปรารถนาของเตมิยกุมารถึงที่สุดแล้ว บัดนี้ เธอต้องการเครื่อง
ประดับ เครื่องประดับของมนุษย์ เธอจะต้องการทำไม เราจักให้เตมิยกุมาร
ประดับองค์ด้วยเครื่องประดับทิพย์ จึงตรัสเรียกพระวิสสุกรรมเทวบุตรมามอบ
เครื่องประดับทิพย์แล้ว ทรงส่งไปโดยตรัสสั่งว่า ไปเถิด พ่อจงประดับเตมิย-
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 七月 04, 2015

Samat

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 36/124/4 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

星期五, 七月 03, 2015

Angkha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/272/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความเป็นผู้มีมิตรดีเลย. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันภิกษุผู้มีมิตรดี พึงหวังข้อ
นี้อาทิผิด ได้ว่า จักเจริญโพชฌงค์ ๗ จักกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗.
[๕๒๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุผู้มีมิตรดี ย่อมเจริญโพชฌงค์
๗ ย่อมกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อม
เจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปใน
การสละ ฯลฯ ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มีมิตรดี ย่อม
เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗ อย่างนี้แล.
จบทุติยอังคสูตรที่ ๑๐
จบจักกวัตติวรรคที่ ๕
รวมพระสูตรที่มีในวรรคที่ ๕
๑. วิธาสูตร ๒. จักกวัตติสูตร ๓. มารสูตร ๔.ทุปปัญญสูตร
๕. ปัญญวาสูตร ๖. ทลิททสูตร ๗. อทลิททสูตร ๘. อาทิจจสูตร ๙. ปฐม-
อังคสูตร ๑๐. ทุติยอังคอาทิผิด สระสูตร พร้อมทั้งอรรถกถา.
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 七月 02, 2015

Pla

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 58/181/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โพธิสัตว์แล้วพูดว่า ท่านเที่ยวหากินตลอดกาลประมาณเท่านี้ การรู้
ประมาณในโภชนะ. ย่อมสมควรมิใช่หรือ มาเถอะท่าน เราจะได้ไป
ในเวลายังไม่เย็นเกินไป. พระโพธิสัตว์ได้พากานั้นไปยังสถานที่อยู่.
พ่อครัวคิดว่านกพิราบของเราพาสหายมา จึงตั้งกระเช้าแกลบไว้ในที่
แห่งหนึ่งสำหรับกา. ฝ่ายกาอยู่โดยทำนองนั้นนั่นแล ๔-๕ วัน ครั้น
วันหนึ่ง คนทั้งหลายนำปลาและเนื้อเป็นอันมากมาให้ท่านเศรษฐี.
กาเห็นดังนั้น ถูกความโลภครอบงำ นอนทอดถอนใจตั้งแต่เวลาใกล้
รุ่ง. ครั้นในวันรุ่งขึ้น พระโพธิสัตว์กล่าวกะกาว่า มาเถอะสหาย เราพา
กันหลีกไปหากินเถิด. กากล่าวว่า ท่านไปเถอะ ข้าพเจ้ามีโรคอาหาร
ไม่ย่อย. พระโพธิสัตว์กล่าวว่า ดูก่อนสหาย ธรรมดาโรคอาหารไม่
ย่อย ย่อมไม่มีแก่พวกกาเลย เพราะมาตรว่าไส้ประทีปที่กินเข้าไป
จะอยู่ในท้องของพวกท่านเพียงครู่เดียวทุก ๆ อย่าง พอสักว่ากลืนกิน
ไปเท่านั้น ย่อมย่อยไปหมด ท่านจงกระทำตามคำของเรา ท่านอย่าได้
ทำอย่างนี้ เพราะได้เห็นปลาอาทิผิด อักขระและเนื้อ. กากล่าวว่า ข้าแต่นายท่านพูด
อะไรอย่างนั้น สำหรับข้าพเจ้ามีความสงสัยว่าอาหารไม่ย่อยจริงๆ พระ-
โพธิสัตว์ให้โอวาทกานั้นว่า ถ้าอย่างนั้น ท่านจงอย่าเป็นผู้ประมาท แล้ว
หลีกไป. ฝ่ายพ่อครัวจัดแจงปลาและเนื้อชนิดต่าง ๆ เสร็จแล้ว เมื่อ
จะชำระล้างเหงื่อออกจากร่างกาย จึงได้ไปยืนอยู่ที่ประตูครัว. กาคิดว่า
เวลานี้เป็นเวลาควรจะเคี้ยวกินเนื้อ จึงบินไปจับอยู่เหนือจานสำหรับ
ปรุงรส. พ่อครัวได้ยินเสียงกริ๊ก จึงเหลียวมาดู แลเห็นกา จึงเข้าไป
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 七月 01, 2015

Len

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/77/21  ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระเจ้าพิมพิสารตรัสว่า ถ้าเช่นนั้น ข้าพเจ้าจักถวายคนทำการวัดอาทิผิด อักขระแก่
พระคุณเจ้า.
ครั้งนั้น พระเจ้าพิมพิสารจอมเสนามาคธราช ทรงรับปฏิญาณถวาย
คนทำการวัดแก่ท่านพระปิลินทวัจฉะดังนั้นแล้ว ทรงลืมเสีย ต่อนานมาทรง
ระลึกได้จึงตรัสถามอาทิผิด อักขระมหาอำมาตย์ผู้สำเร็จราชกิจทั้งปวงผู้หนึ่งว่า พนาย คนทำ
การวัดที่เราได้รับปฏิญาณจะถวายแก่พระคุณเจ้านั้น เราได้ถวายไปแล้วหรือ ?
มหาอำมาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ ยังไม่ได้พระราชทาน พระพุทธ
เจ้าข้า.
พระราชาตรัสถามว่า จากวันนั้นมานานกี่ราตรีแล้ว.
ท่านมหาอำมาตย์นับราตรีแล้วกราบทูลในทันใดนั้นแลว่า ขอเดชะ
๕๐๐ ราตรี พระพุทธเจ้าข้า.
พระราชารับสั่งว่า พนาย ถ้าเช่นนั้น จงถวายท่านไป ๕๐๐ คน ท่าน
มหาอำมาตย์รับพระบรมราชโองการว่าเป็นดังโปรดเกล้า ขอเดชะ แล้วได้จัด
คนทำการวัดไปถวายท่านพระปิลินทวัจฉะ ๕๐๐ คน หมู่บ้านของคนทำการวัด
พวกนั้นได้ตั้งอยู่แผนกหนึ่ง คนทั้งหลายเรียกบ้านตำบลนั้นว่า ตำบลบ้าน
อารามิกบ้าง ตำบลบ้านปิลินทวัจฉะบ้าง.

นิรมิตมาลัยทองคำ
[๔๖] ก็โดยสมัยนั้นแล ท่านพระปิลินทวัจฉะได้เป็นพระกุลุปกะ ใน
หมู่บ้านตำบลนั้น ครั้นเช้าวันหนึ่ง ท่านครองอันตรวาสกแล้ว ถือบาตรจีวร
เข้าไปบิณฑบาตยังตำบลบ้านปิลินทวัจฉะ สมัยนั้น ในตำบลบ้านนั้นมีมหรสพ
พวกเด็ก ๆ ตกแต่งกายประดับดอกไม้เล่นอาทิผิด สระมหรสพอยู่ พอดี ท่านพระปิลินทวัจฉะ
 
พระปิฎกธรรม