星期五, 七月 03, 2015

Angkha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 30/272/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความเป็นผู้มีมิตรดีเลย. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย อันภิกษุผู้มีมิตรดี พึงหวังข้อ
นี้อาทิผิด ได้ว่า จักเจริญโพชฌงค์ ๗ จักกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗.
[๕๒๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ภิกษุผู้มีมิตรดี ย่อมเจริญโพชฌงค์
๗ ย่อมกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗ อย่างไรเล่า. ภิกษุในธรรมวินัยนี้ ย่อม
เจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปใน
การสละ ฯลฯ ย่อมเจริญอุเบกขาสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ
อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุผู้มีมิตรดี ย่อม
เจริญโพชฌงค์ ๗ ย่อมกระทำให้มากซึ่งโพชฌงค์ ๗ อย่างนี้แล.
จบทุติยอังคสูตรที่ ๑๐
จบจักกวัตติวรรคที่ ๕
รวมพระสูตรที่มีในวรรคที่ ๕
๑. วิธาสูตร ๒. จักกวัตติสูตร ๓. มารสูตร ๔.ทุปปัญญสูตร
๕. ปัญญวาสูตร ๖. ทลิททสูตร ๗. อทลิททสูตร ๘. อาทิจจสูตร ๙. ปฐม-
อังคสูตร ๑๐. ทุติยอังคอาทิผิด สระสูตร พร้อมทั้งอรรถกถา.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: