turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 2/233/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ในวิฆาสวัตถุ ๕ เรื่อง มีวินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น
ให้อนุปสัมบันทำให้เป็นของควร แล้วฉัน. แต่เมื่อภิกษุจะถือเอาเนื้อซึ่งเป็น
เดน พึงถือเอาเนื้อที่สัตว์เหล่านั้นกินเหลือทิ้งแล้ว. ถ้าอาจจะให้สัตว์เหล่านั้น
ซึ่งกำลังกินอยู่ให้ทิ้งอาทิผิด สระไปแล้วถือเอา, แม้เนื้อที่เป็นเดนนั้น ก็ควร. แต่ไม่ควร
ถือเอา เพื่อประโยชน์แก่การคุ้มครองตน และเพื่อความเป็นผู้มีความเอ็นดูใน
สัตว์อื่น.
ในเรื่องแจกข้าวสุก ของควรเคี้ยว ขนม อ้อย และผลมะพลับ มี
วินิจฉัยดังนี้:- ภิกษุอ้างบุคคลอาทิผิด อักขระซึ่งไม่มีตัวว่า ท่านจงให้ส่วนแก่ภิกษุรูปอื่นอีก.
สองบทว่า อมูลกํ อคฺคเหสิ ความว่า เธอได้กล่าวมุสาวาท ถือ
เอาส่วนที่ไม่มีตัวบุคคลเป็นมูลอย่างเดียว. เธอหาได้ถือเอาส่วนนั้นด้วยไถยจิต
ไม่. เพราะเหตุนั่นแล พระผู้มีพระภาคเจ้า จึงไม่ตรัสถามว่า เธอมีจิตอย่างไร ?
ตรัสว่า เป็นปาจิตตีย์ จริงอยู่ เมื่อเธอกล่าวว่า ท่านจงให้ส่วนแก่ภิกษุอีกรูป
หนึ่ง วัตถุแห่งปาราชิก ย่อมไม่ปรากฏ และพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมไม่
ตรัสถามในฐานะเช่นนี้. แต่ถ้าคำนั้น จะพึงเป็นวัตถุแห่งปาราชิกไซร้, พึง
ทราบว่า พึงเป็นทุกกฏเท่านั้น เหมือนเป็นทุกกฏ เพราะการตู่เอาสวน ฉะนั้น.
ความสังเขป เรื่องนี้ มีเท่านี้.
ส่วนความพิสดาร พึงทราบดังนี้;- ก็สิ่งใดเป็นของมีอยู่แห่งสงฆ์
เท่านั้น เมื่อสิ่งนั้น อันภิกษุซึ่งสงฆ์สมมติ หรือมิได้สมมติก็ตาม แจกอยู่,
เมื่อภิกษุกล่าวว่า ท่านจงให้ส่วนแก่ภิกษุอีกรูปหนึ่ง คืออ้างบุคคลที่ไม่มีตัว
อย่างนั้น ถือเอาด้วยการกล่าวเท็จอย่างเดียว เป็นปาจิตตีย์ด้วย เป็นภัณฑไทย
ด้วย. เมื่อภิกษุถือเอาด้วยไถยจิต ก็มีนัยเหมือนกันนี้. ภิกษุรูปใด ไม่ได้อ้าง
บุคคล กล่าวว่า ท่านจงให้อีกส่วนหนึ่ง แล้วถือเอาก็ดี นับพรรษาโกงถือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/122/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ม้านั้นเป็นชาติของลา เพราะเหตุนั้น แพะจึงได้กล่าวกะม้านั้นอย่างนี้.
บทว่า วิชานหิ ความว่า แกจงรู้เถิดว่า เรานั่นแหละโง่. บทว่า
ปริกฺขิตฺโต ความว่า แกถูกเขาเอาเชือกรัดอาทิผิด อักขระคอไว้กับแอก. บทว่า
วงฺโกฏฺโฐ ได้แก่ มีริมฝีปากเบี้ยว. บทว่า โอหิโตมุโข ได้แก่ มีปาก
ถูกเชือกมัดปากปิดไว้. บทว่า มุตฺโต น ปลายสิ ความว่า การที่เจ้า
พ้นจากรถ แล้วหนีอาทิผิด อาณัติกะเข้าป่าไปไม่ได้ ในเวลาพ้นแล้วไม่หนีไปเป็นคนโง่
แม้อีกอย่างหนึ่ง. บทว่า โส จ พาลตโร ความว่า พระเจ้าเสนกะ
ผู้ที่แกลากไปนั้น โง่กว่าแกอีก
พระราชาทรงเข้าพระทัยถ้อยคำของสัตว์ทั้ง ๒ ตัวนั้น เพราะ
ฉะนั้น เมื่อทรงสดับคำนั้น จึงทรงให้ขับรถไปค่อย ๆ. ฝ่ายม้าสินธพ
ได้ฟังคำของแพะแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
สหายอชราชเอ๋ย ข้าโง่ด้วยเหตุใดหนอ
เหตุนั้นแกก็รู้ แต่พระเจ้าเสนกะโง่ เพราะ
เหตุใด แกอาทิผิด อักขระถูกข้าถามแล้ว จงบอกเหตุนั้น
แก่ข้า.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยํ เป็นปฐมาวิภัติใช้ในความหมาย
ของตติยาวิภัติ. บทว่า นุ เป็นนิบาต ใช้ในความหมายว่าตามฟัง.
มีคำอธิบายไว้ว่า ดูก่อนสหายอชราช ก่อนอื่นฉันโง่ เพราะเหตุ คือ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 29/190/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีความเห็นผิด หมู่มหาชนมาประชุมกันแล้ว พึงสวดวิงวอน สรรเสริญ
ประนมมือเดินเวียนรอบผู้นั้นว่า คือบุรุษนี้เมื่อตายไป จงเข้าถึงสุคติโลก
สวรรค์ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน บุรุษนั้นเมื่อตายไป พึงเข้าถึง
สุคติโลกสวรรค์เพราะเหตุการสวดวิงวอน เพราะเหตุการสรรเสริญ หรือ
เพราะเหตุการประนมมือเดินเวียนรอบดังนี้ หรือ.
คา. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
[๕๙๙] พ. ดูก่อนนายคามณี เปรียบเหมือนบุรุษโยนหินก้อน
หนาใหญ่ลงในห้วงน้ำลึก หมู่มหาชนพึงมาประชุมกันแล้วสวดวิงวอน
สรรเสริญ ประนมมือเดินเวียนรอบหินนั้นว่า ขอจงโผล่ขึ้นเถิดอาทิผิด อักขระท่าน
ก้อนหิน ขอจงลอยขึ้นเถิดท่านก้อนหิน ขอจงขึ้นบกเถิดท่านก้อนหินท่าน
จะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน ก้อนหินนั้นพึงโผล่ขึ้น พึงลอยขึ้น หรือ
พึงขึ้นบก เพราะเหตุการสวดวิงวอน สรรเสริญ ประณมมือเดินเวียน
รอบของหมู่มหาชนบ้างหรือ.
คา. ไม่ใช่อย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พ. ดูก่อนนายคามณี ฉันนั้นเหมือนกัน บุรุษคนใดฆ่าสัตว์
ลักทรัพย์ ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จ พูดส่อเสียด พูดคำหยาบ พูด
เพ้อเจ้อ มากไปด้วยอภิชฌา มีจิตพยาบาท มีความเห็นผิด หมู่มหาชน
พึงมาประชุมกันแล้วสวดวิงวอน สรรเสริญ ประนมมือเดินเวียนรอบ
บุรุษนั้นว่า ขอบุรุษนี้เมื่อตายไป จงเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ ก็จริง แต่บุรุษ
นั้นเมื่อตาย พึงเข้าถึงอบาย ทุคติ วินิบาต นรก.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/58/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือมันเป็นเพียงหยาดที่ไหลออกตรงปลายของเข็มละเอียดที่เขาจุ่มในน้ำมันแล้ว
ยกขึ้น ดังนี้. แม้หยาดน้ำนั้นนั่นท่านก็ปฏิเสธแล้วกล่าวว่า เมื่อเขาจับผม
เส้นหนึ่งยกขึ้นจากน้ำมันแล้วก็เป็นเพียงหยาดน้ำที่ไหลออกตรงปลายผมเส้นนั้น
ดังนี้ แม้หยาดน้ำนั้นท่านก็ปฏิเสธแล้วกล่าวว่า เมื่อผ่าเส้นผมของมนุษย์ชาว
ชนบทนี้ออกเป็น ๘ ส่วน เส้นผมของชาวอุตตรกุรุทวีปมีประมาณเท่าส่วนหนึ่ง
แต่ ๘ ส่วนนั้น กลละนั้นก็เป็นเพียงหยาดที่ตั้งอยู่ตรงปลายผมของมนุษย์ชาว
อุตตรกุรุทวีปนั้นที่เขายกขึ้นจากน้ำมันงาใส ดังนี้ แม้น้ำมันงาใสนั้นท่านก็ปฏิเสธ
แล้วกล่าวว่า นั่นก็ยังมาก ธรรมดาขนทรายเป็นธรรมชาติละเอียด กลละนั้น
เป็นเพียงหยาดที่ไหลออกตรงปลายของขนเนื้อทรายเส้นหนึ่งที่เขาจุ่มในน้ำมันงา
ใสแล้วยกขึ้น ดังนี้. ก็กลละนี้นั้นใสสะอาด ไม่ขุ่นมัว บริสุทธิ์ เสมออาทิผิด อักขระด้วย
หยาดน้ำมันงาใส ข้อนี้สมดังคำที่ท่านกล่าวไว้ว่า
ติลเตลสฺสอาทิผิด อักขระ ยถา พินฺทุ สปฺปิมณฺโฑ อนาวิโลอาทิผิด สระ
เอวํ วณฺณปฏิภาคํ กลลนฺติ ปวุจฺจติ
หยาดน้ำมันงา ใสเหมือนเนยใส
ไม่ขุ่นมัว ฉันใด ท่านกล่าวว่า กลลรูปมีส่วน
เปรียบด้วยรูปพรรณ ฉันนั้น.
ในสันตติรูปเล็กน้อยอย่างนี้ ยังมีสันตติรูปที่เป็นประธาน ๓ กลุ่ม คือ
วัตถุทสกะ ๑ กายทสกะ ๑ ภาวทสกะด้วยอำนาจอิตถินทรีย์ของหญิงและด้วย
อำนาจปุริสินทรีย์ของชาย ๑ บรรดาสันตติรูปทั้ง ๓ กลุ่มเหล่านั้น รูปนี้ คือ
วัตถุรูป ๑ มหาภูติรูป ๔ เป็นที่อาศัยของวัตถุรูปนั้น และวรรณะ คันธะ รสะ
โอชา รวม ๔ ที่อาศัยมหาภูตรูปนั้น และชีวิตรูป ๑ ชื่อว่า วัตถุทสกะ รูปนี้
คือ กายประสาท ๑ มหาภูตรูป ๔ ซึ่งเป็นที่อาศัยของกายประสาทนั้น วรรณะ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 31/259/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[๑๓๙๗] ดูก่อนอานนท์ สติปัฏฐาน ๔ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้
กระทำให้มากแล้วอย่างนี้ ย่อมยังโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์.
[๑๓๙๘] ดูก่อนอานนท์ ก็โพชฌงค์ ๗ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างไร
กระทำอาทิผิด สระให้มากแล้วอย่างไร ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ ภิกษุในธรรม
วินัยนี้ ย่อมเจริญสติสัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ
น้อมไปในการสละ ย่อมเจริญธรรมวิจยสัมโพชฌงค์... วิริยสัมโพชฌงค์...
ปีติสัมโพชฌงค์... ปัสสัทธิสัมโพชฌงค์... สมาธิสัมโพชฌงค์... อุเบกขา-
สัมโพชฌงค์ อันอาศัยวิเวก อาศัยวิราคะ อาศัยนิโรธ น้อมไปในการสละ
ดูก่อนอานนท์ โพชฌงค์ ๗ อันภิกษุเจริญแล้วอย่างนี้ กระทำให้มากแล้ว
อย่างนี้ ย่อมยังวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์.
จบปฐมอานันทสูตรที่ ๓
อรรถกถาปฐมอานันทสูตร
ปฐมอานันทสูตรที่ ๓. คำว่า ย่อมค้นคว้า คือ ย่อมเลือกเฟ้น
ด้วยอำนาจแห่งความไม่เที่ยงเป็นต้น. อีก ๒ บทนอกนี้ เป็นคำใช้แทน
คำว่า ย่อมค้นคว้า นี้เอง. คำว่า อันหาอามิสมิได้ คือไม่มีกิเลส ได้แก่
ทั้งกายทั้งจิต ย่อมสงบระงับ. ด้วยความสงบระงับความกระวนกระวายทางกาย
และทางใจ. คำว่า ย่อมตั้งมั่น ได้แก่ ถูกตั้งไว้โดยชอบ คือ เป็นเหมือน
อัปปนาจิต. คำว่า ย่อมเป็นผู้วางเฉยอย่างยิ่ง คือย่อมเป็นผู้วางเฉยอย่าง
ยิ่ง ด้วยความวางเฉยอย่างยิ่งคือธรรมที่เกิดร่วมด้วย.
สติในกายนั้น ของภิกษุผู้กำหนดกายด้วยวิธี ๑๔ อย่าง ดังที่ว่ามานี้
ชื่อว่า สติสัมโพชฌงค์ ญาณอาทิผิด อักขระที่ประกอบกับสตินั้น เป็นธัมมวิจยสัมโพชฌงค์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 30/258/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกถารุกขสูตร
พึงทราบวินิจฉัยในรุกขอาทิผิด สระสูตรที่ ๙.
บทว่า อชฺฌารหา แปลว่า งอกขึ้น. บทว่า กจฺฉโก แปลว่า
ต้นไทร. บทว่า กปิตฺถโน ได้แก่ ต้นมิลักขุเกิดขึ้นแล้วมีผลเช่นกับนมลิง.
จบอรรถกถารุกขสูตรที่ ๙
๑๐. นีวรณสูตร
นิวรณ์ทำให้มืด
[๕๐๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิวรณ์ ๕ เหล่านี้ กระทำให้มืด
กระทำไม่ให้มีจักษุ กระทำไม่ให้มีญาณ เป็นที่ตั้งแห่งความดับปัญญา เป็น
ไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. นิวรณ์ ๕ เป็นไฉน
คือ กามฉันทนิวรณ์ กระทำให้มืด กระทำไม่ให้มีจักษุ กระทำไม่ให้มีญาณ
เป็นที่ตั้งแห่งความดับปัญญา เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น ไม่เป็นไป
เพื่อนิพพาน พยาบาทนิวรณ์. . . ถีนมิทธนิวรณ์ . . . อุทธัจจกุกกุจจ-
นิวรณ์ . . . วิจิกิจฉานิวรณ์ กระทำให้มืด กระทำไม่อาทิผิด อาณัติกะให้มีจักษุ กระทำไม่ให้
มีญาณ เป็นที่ตั้งแห่งความดับปัญญา เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น
ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน. ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นิวรณ์ ๕ เหล่านี้แล กระทำ
ให้มืด กระทำไม่อาทิผิด อาณัติกะให้มีจักษุ กระทำไม่ให้มีญาณ เป็นที่ตั้งแห่งความดับปัญญา
เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความคับแค้น ไม่เป็นไปเพื่อนิพพาน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 78/294/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดื่ม เคี้ยว และลิ้มรส มีสติสัมปชัญญะในการถ่ายอุจจาระและปัสสาวะ มีสติ
สัมปชัญญะในการเดิน ยืน นั่ง หลับ ตื่น พูด และนิ่ง.
ในบทเหล่านั้น บทว่า มีสติ มีอธิบายว่า สติ เป็นไฉน ?
สติ ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ
ความไม่เลื่อนลอย ความไม่ลืม สติ สตินทรีย์ สติอาทิผิด สระพละ สัมมาสติ อันใด
นี้เรียกว่า สติ.
บทว่า มีสัมปชัญญะ มีอธิบายว่า สัมปชัญญะ เป็นไฉน ?
ปัญญา กิริยาที่รู้ชัด ความวิจัย ความเลือกสรร ความวิจัยธรรม
ความกำหนดหมาย ความเข้าไปกำหนด ความเข้าไปกำหนดเฉพาะ ภาวะที่รู้
ภาวะที่ฉลาด ภาวะที่รู้ละเอียด ความรู้แจ่มแจ้ง ความค้นคิด ความใคร่อาทิผิด สระครวญ
ปัญญาเหมือนแผ่นดิน ปัญญาเครื่องทำลายกิเลส ปัญญาเป็นเครื่องนำทาง
ความเห็นแจ้ง ความรู้ชัด ปัญญาเหมือนประตัก ปัญญา ปัญญินทรีย์ ปัญญา-
พละ ปัญญาเหมือนศัสตรา ปัญญาเหมือนปราสาท ความสว่างคือปัญญา
แสงสว่างคือปัญญา ปัญญาเหมือนประทีป ปัญญาเหมือนดวงแก้ว ความไม่
หลง ความวิจัยธรรม สัมมาทิฏฐิ อันใด นี้เรียกว่า สัมปชัญญะ.
ภิกษุ เป็นผู้เข้าไปถึงแล้ว ฯลฯ ประกอบแล้วด้วยสติและสัมปชัญญะ
นี้ ด้วยประการฉะนี้.
ด้วยการปฏิบัติอย่างนี้ ภิกษุชื่อว่า มีสติสัมปชัญญะก้าวไปข้างหน้า
มีสติสัมปชัญญะถอยกลับมาข้างหลัง มีสติสัมปชัญญะแลดูข้างหน้า มีสติสัม-
ปชัญญะเหลียวดูข้างซ้ายข้างขวา มีสติสัมปชัญญะคู้อวัยวะเข้า มีสติสัมปชัญญะ
เหยียดอวัยวะออก มีสติสัมปชัญญะในการทรงผ้าสังมาฏิ บาตร และจีวร มีสติ
สัมปชัญญะในการกิน ดื่ม เคี้ยว และลิ้มรส มีสติสัมปชัญญะในการถ่ายอุจจาระ
และปัสสาวะ มีสติสัมปชัญญะในการเดิน ยืน นั่ง หลับ ตื่น พูด และนิ่ง.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/540/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๙. ปัจจัย ๖ คือ อินทริยะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๐. ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ วิปากะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๑. ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ วิปกะ สัมปยุตตะอาทิผิด อักขระ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๒. ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ นิสสยะ วิปากะ
วิปปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
๑๓. ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะอาทิผิด อักขระ
นิสสยะ วิปากะ วิปปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ.
สมัคคฆฏนา ๙
๑๔. ปัจจัย ๖ คือ อินทริยะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ.
๑๕. ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ มัคคะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๖. ปัจจัย ๘ คือ อินทริยะ สหชาตะ อัญญมัญญะ
นิสสยะ มัคคะ สัมปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
๑๗. ปัจจัย ๗ คือ อินทริยะ สหชาตะ นิสสยะ มัคคะ
วิปปยุตตะ อัตถิ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/264/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ได้ว่า วนสัณฑะ ราวป่า เหมือนในประโยคเป็นต้นว่า อตฺถิ สวิตกฺกสวิจาเร,
อตฺถิ อวิตกฺกวิจารมตฺเต, สุเข ทุกฺเข ชีเว, มีวิตกมีวิจารก็มี ไม่มี
วิตกมีวิจารก็มี, ชีพเป็นสุข เป็นทุกข์. คำว่า ยถา เป็นคำอุปมา ยอดของ
พุ่มไม้นั้นบานแล้ว เหตุนั้น พุ่มไม้นั้นจึงชื่อว่า มียอดบานแล้ว อธิบายว่า
ดอกไม้ที่เกิดเองที่กิ่งใหญ่กิ่งน้อยทุกกิ่ง. ดอกไม้นั้น ท่านกล่าวว่ามียอดอัน
บานแล้ว ตามนัยที่กล่าวมาก่อนแล้วนั่นแล. บทอาทิผิด สระว่า คิมฺหานมาเส ปฐมสฺมึ
คิมฺเห ความว่า ในเดือนหนึ่ง แห่งเดือนในฤดูคิมหันต์ ๔ เดือน. ถ้าจะ
ถามว่า ในเดือนไหน. ตอบว่า ในฤดูคิมหันต์เดือนต้น อธิบายว่า ในเดือน
จิตรมาส เดือน ๕. จริงอยู่ เดือนจิตรมาสนั้น ท่านเรียกว่าเดือนต้นฤดูคิมหันต์
และว่าฤดูวัสสานะอ่อน ๆ คำนอกจากนั้น ปรากฏชัดอาทิผิด อักขะโดยอรรถแห่งบทแล้ว
ทั้งนั้น.
ส่วนความรวมในคำนี้มีดังนี้ว่า พุ่มไม้ที่งอกงามมีนามเรียกว่า กอไม้
รุ่น ยอดกิ่งมีดอกบานสะพรั่ง ย่อมสง่างามอย่างเหลือเกิน ในป่าที่รกชัฏด้วย
ต้นไม้นานาชนิดในฤดูวสันต์อ่อน ๆ ที่มีชื่อว่า เดือนต้นฤดูคิมหันต์ ฉันใด
พระผู้มีพระภาคเจ้า มิใช่ทรงแสดงเพราะเห็นแก่ลาภ มิใช่ทรงแสดงเพราะเห็น
แก่สักการะเป็นต้น หากแต่มีพระหฤทัยอันพระมหากรุณาให้ทรงขะมักเขม้น
อย่างเดียว ได้ทรงแสดงพระปริยัติธรรมอันประเสริฐที่ชื่อว่า มีอุปมาเหมือน
อย่างนั้น เพราะสง่างามอย่างยิ่งด้วยดอกไม้ คือประเภทแห่งอรรถนานาประการ
มีขันธ์อายตนะเป็นต้นก็มี มีสติปัฏฐานและสัมมัปปธานเป็นต้นก็มี มีศีลขันธ์
สมาธิขันธ์เป็นต้นก็มี ชื่อว่า ให้ถึงพระนิพพาน เพราะแสดงมรรคอันให้ถึง
พระนิพพาน เพื่อเป็นประโยชน์อย่างยิ่งแก่สัตว์ทั้งหลาย ฉันนั้นเหมือนกัน
ส่วนในคำว่า ปรมํ หิตาย ท่านลงนิคคหิต ก็เพื่อสะดวกแก่การผูกคาถา.
ส่วนความมีดังนี้ว่า ได้ทรงแสดง เพื่อประโยชน์อย่างยิ่ง คือเพื่อพระนิพพาน.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 39/274/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถึงกรุงพาราณสี เห็นหมู่มหาชนประชุมกัน คิดว่าในหมู่ชนเป็นอันมาก สักคน
หนึ่ง คงจักรู้ข่าวคราวลูกของเราแน่แท้ จึงเข้าไปที่กลุ่มชนถามว่า มาณพชื่อ
สุสีมะมาในที่นี้มีไหม ท่านรู้ข่าวคราวของเขาบ้างหรือหนอ ชนเหล่านั้น กล่าว
ว่า เออ พราหมณ์ พวกเรารู้ ท่านเรียนจบไตรเพท ในสำนักพราหมณ์ใน
พระนครนี้แล้ว บวชในสำนักของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย เป็นพระปัจเจก-
พุทธเจ้า ปรินิพพานด้วยอนุปาทิเสสนิพพานธาตุแล้ว นี้พระสถูป เราสร้าง
ไว้สำหรับท่าน. สังขพราหมณ์นั้นเอามือทุบแผ่นดิน ร่ำไห้รำพันไปยังลาน
เจดีย์นั้น ถอนหญ้าแล้ว เอาผ้าห่มห่อทรายนำไปเกลี่ยที่ลานเจดีย์พระปัจเจก
พุทธเจ้า เอาน้ำในคนโทน้ำประพรม ทำการบูชาด้วยดอกไม้ป่า เอาผ้าห่มยกขึ้น
ทำเป็นธง ผูกฉัตรคือร่มของตนไว้บนสถูปแล้วกลับไป.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นทรงแสดงเรื่องอดีตอย่างนี้แล้ว เมื่อทรงต่อ
เชื่อมชาดก. นั้นกับปัจจุบันจึงตรัสธรรมแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
พวกเธอจะพึงมีความคิดว่า คนอื่นเป็นสังขพราหมณ์สมัยนั้น แน่แท้ แต่พวก
เธอไม่พึงเห็นอย่างนี้ สมัยนั้น เราเป็นสังขพราหมณ์ เราถอนหญ้าที่ลานเจดีย์
ของพระสุสีมปัจเจกพุทธเจ้า ด้วยผลกรรมของเรานั้น ชนทั้งหลายจึงทำทาง ๘
โยชน์ให้ปราศจากตอและหนาม ทำพื้นที่ให้ราบเรียบ สะอาด เราโรยทรายที่
ลานเจดีย์พระสุสีมปัจเจกพุทธเจ้านั้น ด้วยผลกรรมของเรานั้น ชนทั้งหลาย
จึงโรยทรายที่หนทาง ๘ โยชน์ เราทำบูชาที่พระสถูปนั้น ด้วยดอกไม้ป่า ด้วย
ผลกรรมของเรานั้น ชนทั้งหลายจึงได้ทำเครื่องลาดอาทิผิด อักขระดอกไม้ด้วยดอกไม้ป่านานา
ชนิด ทั้งบนบกทั้งในน้ำ ในหนทาง ๘ โยชน์ เราประพรมพื้นดินด้วยน้ำใน
คนโทน้ำที่พระสถูปนั้น ด้วยผลกรรมของเรานั้น ฝนโบกขรพรรษจึงตกลงที่
กรุงเวสาลี เรายกธงแผ่นผ้าและผูกฉัตรที่พระเจดีย์นั้น ด้วยผลกรรมของเรา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/279/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
[กถาว่าด้วยปุพเพนิวาสญาณ]
ก็พระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงแสดงเอกเทศอาทิผิด อักขระแห่งคุณทั้งหลาย ที่
จตุตถฌานเป็นเหตุอำนวยให้เหล่านั้น จึงตรัสว่า เอวํ สมาหิเต จิตฺเต
ดังนี้เป็นต้น.
ในคำว่า โส เอวํ เป็นต้นเหล่านั้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
บทว่า โส คือ โส อหํ แปลว่า เรานั้น. บทว่า เอวํ นั่นเป็น
บทแสดงลำดับแห่งจตุตถฌาน. มีอธิบายว่า เราได้เฉพาะจตุตถฌาน ด้วย
ลำดับนี้.
บทว่า สมาหิเต ความว่า (เมื่อจิตของเรา) ตั้งมั่นแล้วด้วยสมาธิ
ในจตุตถฌานนี้.
ส่วนในคำว่า ปริสุทฺเธ เป็นต้น มีวินิจฉัยดังต่อไปนี้ :-
ชื่อว่า บริสุทธิ์ เพราะมีสติเป็นธรรมชาติบริสุทธิ์ อันอุเบกขาให้
เกิดแล้ว. มีคำอธิบายไว้ว่า ชื่อว่า ผุดผ่อง คือใสสว่าง เพราะความเป็น
ธรรมชาติบริสุทธิ์นั่นเอง.
ชื่อว่า ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน เพราะความที่กิเลสเพียงดังเนินมีราคะ
เป็นต้น อันมรรคกำจัดแล้ว เพราะฆ่าซึ่งปัจจัยมีสุขเป็นต้นเสียได้. ชื่อว่า
มีอุปกิเลสปราศไปแล้ว เพราะความไม่มีกิเลสเพียงดังเนินนั่นเอง. จริงอยู่
จิตย่อมเศร้าหมอง เพราะกิเลสเพียงดังเนิน.
ชื่อว่า เป็นธรรมชาติอ่อน เพราะอบรมดีแล้ว มีคำอธิบายว่า ถึงความ
ชำนาญ. แท้จริง จิตที่เป็นไปอยู่ในอำนาจ ท่านเรียกว่า มุทุ (อ่อน). อนึ่ง
ชื่อว่าควรแก่การงาน เพราะความเป็นจิตอ่อนนั่นเอง มีคำอธิบายว่า เหมาะแก่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 21/311/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีเปลว มีสี มีแสงสว่าง และอาจทำกิจที่ต้องทำด้วยไฟนั้นได้ แม้ไฟที่บุรุษ
ทั้งหลายผู้เกิดแต่สกุลจัณฑาล ... แล้วสีให้ไฟลุกโพลงขึ้น ก็พึงเป็นไฟมีเปลว
มีสี มีแสงสว่าง และอาจทำกิจที่ต้องทำด้วยไฟนั้นได้ ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ
ความจริง แม้ไฟทุกอย่างก็พึงเป็นไฟมีเปลว มีสี มีแสงสว่าง และอาจทำกิจ
ที่ต้องทำด้วยไฟนั้นได้หมด.
พ. ดูก่อนอัสสลายนะ ในเรื่องนี้ อะไรเป็นกำลัง อะไรเป็นความ
ยินดีของพราหมณ์ทั้งหลายผู้กล่าวอย่างนี้ว่า พราหมณ์เท่านั้นเป็นวรรณะ
ประเสริฐ... เป็นทายาทของพรหม.
อ. ท่านพระโคดมตรัสอย่างนั้นก็จริง แต่ในเรื่องนี้ พราหมณ์ทั้งหลาย
ก็ยังเข้าใจอยู่อย่างนี้ว่า พราหมณ์เท่านั้นเป็นวรรณะประเสริฐ ฯลฯ เป็นทายาท
ของพรหม.
[๖๒๓] พ. ดูก่อนอัสสลายนะ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
ขัตติยกุมารในโลกนี้ พึงสำเร็จการอยู่ร่วมกับนางพราหมณี เพราะอาศัยการอยู่
ร่วมของคนทั้งสองนั้น พึงเกิดบุตรแต่นางพราหมณีกับขัตติยกุมารนั้น เหมือน
มารดาก็ดี เหมือนบิดาก็ดี ก็ควรกล่าวได้ว่าเป็นกษัตริย์บ้าง เป็นพราหมณ์
บ้างหรือ.
อ. ข้าแต่พระโคดมผู้เจริญ บุตรผู้เกิดแต่นางพราหมณีกับขัตติยอาทิผิด อักขระกุมาร
นั้น เหมือนมารดาก็ดี เหมือนบิดาก็ดี ก็ควรกล่าวได้ว่า เป็นกษัตริย์บ้าง
เป็นพราหมณ์บ้าง.
[๖๒๔] พ. ดูก่อนอัสสลายนะ ท่านจะสำคัญความข้อนั้นเป็นไฉน
พราหมณ์กุมารในโลกนี้ พึงสำเร็จการอยู่ร่วมกับนางกษัตริย์ เพราะอาศัยการ
อยู่ร่วมของคนทั้งสองนั้น พึงเกิดบุตร บุตรผู้เกิดแต่นางกษัตริย์กับพราหมณ์
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 4/20/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ขุททกกัณฑวรรณนา
ขุททกสิกขาบทเหล่าใด สงเคราะห์
ตามวรรคเป็น ๙ วรรค ประดิษฐานอยู่ด้วยดี
แล้ว บัดนี้ จะมีการพรรณนาสิกขาบท
เหล่านั้น ดังต่อไปนี้:-
ปาจิตตีย์ มุสาวาทวรรคที่ ๑
มุสาวาทสิกขาอาทิผิด อักขระบทที่ ๑
บรรดาวรรค ๙ เหล่านั้น (บรรดาขุททกสิกขาอาทิผิด สระบทเหล่านั้น) พึงทราบ
วินิจฉัยในสิกขาบทที่ ๑ แห่งมุสาวาทวรรคอาทิผิด อักขระดูก่อน.
[แก้อรรถปฐมบัญญัติเรื่องพระหัตถกะ]
คำว่า หตฺถโก เป็นชื่อของพระเถระนั้น. บุตรของพวกเจ้าศากยะ
ชื่อว่าศากยบุตร. ได้ยินว่า ในครั้งพุทธกาล บุรุษแปดหมื่นคน ได้ออกบวช
จากศากยตระกูล. ท่านพระหัตถกะนั้น เป็นคนใดคนหนึ่ง บรรดาบุรุษ
แปดหมื่นคนนั้น.
บทว่า วาทกฺขิตฺโต มีความว่า ถูกคำพูดที่ตนกำหนดไว้อย่างนี้ว่า
เราจักกระทำวาทะ (ทำการโต้วาทะกัน) ซัดไป คือ ผลักไป อธิบายว่า ดันไป
คือ ส่งไปสู่สำนักของพวกปรวาที. อีกอย่างหนึ่ง ท่านพระหัตถกะนั้น ถูกจิต
ของตนซัดไปในวาทะ. ย่อมปรากฏในสถานที่ซึ่งมีการโต้วาทะกันทุกครั้งไป.
แม้เพราะเหตุนั้น ท่านจึงชื่อว่าถูกซัดไปในวาทะ (เป็นคนพูดสับปลับ).
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 77/359/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นิรุชฺฌมานา นิรุชฺฌติ ( จักษุเป็นปิยรูป สาตรูปในโลก ตัณหานี้เมื่อจะละ
ย่อมละที่จักษุนี้ เมื่อจะดับย่อมดับที่จักษุนี้). คำที่เหลือในที่ทั้งหมดมีเนื้อความ
ตื้นทั้งนั้นแล.
กถาว่าด้วยนิเทศแห่งนิโรธสัจจะ จบ
วรรณนานิเทศวาร
ว่าด้วยมรรคสัจจะ (บาลีข้อ ๑๖๒)
พึงทราบวินิจฉัยในนิเทศแห่งมรรคสัจจะ ต่อไป.
บทว่า อยเมว (นี้เท่านั้น) เป็นคำกำหนดแน่นอน เพื่อปฏิเสธ
มรรคอื่น. บทว่า อริโย (อริยะ) ความว่า ที่ชื่อว่า อริยะ เพราะไกล
จากกิเลสทั้งหลายที่ฆ่าด้วยมรรคนั้น ๆ เพราะทำความเป็นอริยะ และเพราะ
ทำการได้อาทิผิด อาณัติกะเฉพาะซึ่งอริยผล. องค์ ๘ ของมรรคนั้นมีอยู่ เพราะเหตุนั้น มรรคนั้น
จึงชื่อว่า อฏฺฐงฺคิโก (มีองค์ ๘) องค์ ๘ ของมรรคนี้นั้นเป็นเพียงองค์เท่านั้น
เหมือนเสนามีองค์ ๔ และดนตรีมีองค์ ๕ พ้นจากองค์มิได้มี. ที่ชื่อว่า มรรค
เพราะอรรถว่า อันผู้ต้องการพระนิพพานย่อมแสวงหา หรือย่อมแสวงหา
พระนิพพาน หรือเป็นสภาพฆ่ากิเลสทั้งหลายไป. ศัพท์ว่า เสยฺยถีทํ ความว่า
ถ้ามีผู้ถามว่า องค์มรรคนั้นเป็นไฉน ดังนี้.
บัดนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงแสดงว่า มรรค คือ องค์มรรค
นั่นเอง นอกจากองค์มรรคย่อมไม่มีจึงตรัสว่า สัมมาทิฏฐิ ฯลฯ สัมมาอาทิผิด สมาธิ
ดังนี้. บรรดาองค์มรรค ๘ เหล่านั้น สัมมาทิฏฐิ สมฺมาทสฺสนลกฺขณา
มีปัญญาเห็นโดยชอบเป็นลักษณะ สัมมาสังกัปปะ สมฺมา อภินิโรปน-
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 63/133/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อย่างเหลือเกิน แม้พระนางสีวลีเทวีก็ไม่ทรงสามารถทำรอยขีดนั้นให้เลือนหาย
ได้ ทอดพระเนตรเห็นพระราชาหันพระปฤษฎางค์เสด็จไปอยู่ ไม่สามารถจะ
กลั้นโศกาดูร ก็ข้อนพระอุระล้มขวางทางใหญ่กลิ้งเกลือกไปมาล่วงเลยรอยขีด
นั้นเสด็จไป มหาชนเข้าใจว่า เจ้าของรอยขีดได้ทำลายเจ้าของรอยขีดแล้ว จึง
พากัน โดยเสด็จไปตามมรรคาอาทิผิด อักขระที่พระเทวีเสด็จไป พระมหาสัตว์ทรงบ่ายพระ
พักตร์เสด็จไปหิมวันตประเทศทางทิศอุดร ฝ่ายพระนางสีวลีเทวีก็พาเสนาพล
พาหนะทั้งปวง ตามเสด็จไปด้วย พระราชาไม่อาจที่จะให้มหาชนกลับ ได้เสด็จ
ไปสิ้นทางประมาณหกสิบโยชน์.
ในกาลนั้น มีดาบสรูปหนึ่งชื่อนารทะ อยู่ที่สุวรรณคูหาอาทิผิด อักขระในหิมวันต
ประเทศ ให้เวลาล่วงไปด้วยสุขเกิดแต่ฌานอันสัมปยุตด้วยอภิญญาห้า ล่วง
เจ็ดวันก็ออกจากสุขเกิดแต่ฌาน เปล่งอุทานว่า โอ เป็นสุข เป็นสุขอย่างยิ่ง
ดาบสนั้นตรวจดูสัตวโลกด้วยทิพยจักษุว่า ใคร ๆ ในพื้นชมพูทวีปแสวงหา
สุขนี้ มีบ้างหรือหนอ ก็เห็นพระมหาชนกผู้พุทธางกูร จึงคิดว่า พระมหา-
ชนกนั้นเป็นพระราชาออกมหาภิเนษกรมณ์ ไม่สามารถจะยังมหาชนราชบริ-
พาร มีพระนางสีวลีเทวีเป็นประมุขให้กลับพระนครได้ ข้าราชบริพารนั้นพึง
ทำอันตรายแก่พระองค์ เราจักถวายโอวาทแก่พระองค์ เพื่อให้ทรงสมาทาน
มั่น โดยยิ่งโดยประมาณ จึงไปด้วยกำลังฤทธิ์ สถิตอยู่ในอากาศตรงเบื้องพระ
พักตร์พระราชา กล่าวคาถาให้พระองค์เกิดอุตสาหะอาทิผิด อักขระว่า
ความกึกก้องของประชุมชนใหญ่นี้ เพื่ออะไร
นั่นใครหนอมากับท่าน เหมือนเล่นกันอยู่ในบ้าน
สมณะ อาตมาขอถามท่าน ประชุมชนนี้แวดล้อมท่าน
เพื่ออะไร.
พระปิฎกธรรม