Kae
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 59/122/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ม้านั้นเป็นชาติของลา เพราะเหตุนั้น แพะจึงได้กล่าวกะม้านั้นอย่างนี้.
บทว่า วิชานหิ ความว่า แกจงรู้เถิดว่า เรานั่นแหละโง่. บทว่า
ปริกฺขิตฺโต ความว่า แกถูกเขาเอาเชือกรัดอาทิผิด อักขระคอไว้กับแอก. บทว่า
วงฺโกฏฺโฐ ได้แก่ มีริมฝีปากเบี้ยว. บทว่า โอหิโตมุโข ได้แก่ มีปาก
ถูกเชือกมัดปากปิดไว้. บทว่า มุตฺโต น ปลายสิ ความว่า การที่เจ้า
พ้นจากรถ แล้วหนีอาทิผิด อาณัติกะเข้าป่าไปไม่ได้ ในเวลาพ้นแล้วไม่หนีไปเป็นคนโง่
แม้อีกอย่างหนึ่ง. บทว่า โส จ พาลตโร ความว่า พระเจ้าเสนกะ
ผู้ที่แกลากไปนั้น โง่กว่าแกอีก
พระราชาทรงเข้าพระทัยถ้อยคำของสัตว์ทั้ง ๒ ตัวนั้น เพราะ
ฉะนั้น เมื่อทรงสดับคำนั้น จึงทรงให้ขับรถไปค่อย ๆ. ฝ่ายม้าสินธพ
ได้ฟังคำของแพะแล้ว จึงกล่าวคาถาที่ ๔ ว่า :-
สหายอชราชเอ๋ย ข้าโง่ด้วยเหตุใดหนอ
เหตุนั้นแกก็รู้ แต่พระเจ้าเสนกะโง่ เพราะ
เหตุใด แกอาทิผิด อักขระถูกข้าถามแล้ว จงบอกเหตุนั้น
แก่ข้า.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ยํ เป็นปฐมาวิภัติใช้ในความหมาย
ของตติยาวิภัติ. บทว่า นุ เป็นนิบาต ใช้ในความหมายว่าตามฟัง.
มีคำอธิบายไว้ว่า ดูก่อนสหายอชราช ก่อนอื่นฉันโง่ เพราะเหตุ คือ
พระปิฎกธรรม
没有评论:
发表评论