turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/68/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
มีสุขและทุกข์เป็นต้น. บทว่า ปตฺตํ ได้แก่ แสวงหาหรือไม่แสวงหาก็มาถึง
แล้ว. บทว่า ปริเยสิตํ ความว่า มาถึงหรือยังไม่มาถึง ก็แสวงหาแล้ว.
บทว่า อนุวิจริตํ มนสา ได้แก่ คิดค้นด้วยจิต. ด้วยบทว่า ตถาคเตน
อภิสมฺพุทฺธํ นี้ ทรงแสดงข้อนี้ว่า รูปารมณ์เป็นต้นว่า สีเขียว สีเหลือง
อันใดปรากฏในจักขุทวารของโลกพร้อมทั้งเทวโลกนี้ ในโลกธาตุ อันหา
ประมาณมิได้ ตถาคตตรัสรู้รูปารมณ์อันนั้นทั้งหมดอย่างนี้ว่า สัตว์นี้เห็น
รูปารมณ์ ชื่อนี้ ในขณะนี้แล้ว เกิดดีใจบ้าง เสียใจบ้าง เป็นกลางบ้าง ดังนี้.
อนึ่ง สัททารมณ์เป็นอาทิผิด สระต้นว่า เสียงกลอง ปรากฏในโสตทวารของโลกพร้อมทั้ง
เทวโลกนี้ ในโลกธาตุอันหาประมาณมิได้ก็เหมือนกัน คันธารมณ์เป็นต้นว่า
กลิ่นที่ราก กลิ่นที่เปลือก ปรากฏในฆานทวาร รสารมณ์เป็นต้นว่า รสที่ราก
รสที่ลำต้น ปรากฏในชิวหาทวาร โผฏฐัพพารมณ์ต่างด้วยธาตุดิน ธาตุไฟ
ธาตุลม เป็นต้นว่า แข็ง อ่อน ปรากฏในกายทวาร ตถาคตตรัสรู้โผฏฐัพ-
พารมณ์นั้นทั้งหมดอย่างนี้ว่า สัตว์มีถูกต้องโผฏฐัพพารมณ์ ชื่อนี้ ในขณะนี้
แล้ว เกิดดีใจบ้าง เสียใจบ้าง เป็นกลางบ้างดังนี้. อนึ่ง ธรรมารมณ์ต่างด้วย
สุขและทุกข์เป็นต้น ปรากฏในมโนทวารของโลกพร้อมทั้งเทวโลกนี้ ในโลกธาตุ
ที่หาประมาณมิได้ ตถาคตตรัสรู้ธรรมารมณ์นั้นทั้งหมดอย่างนี้ว่า สัตว์นี้รู้
ธรรมารมณ์ ชื่อนี้ ในขณะนี้แล้ว เกิดดีใจบ้าง เสียใจบ้าง เป็นกลางบ้าง ดังนี้.
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อารมณ์อันใดอันสรรพสัตว์เหล่านี้ เห็นแล้ว ได้ยินแล้ว
ทราบแล้ว รู้สึกแล้ว ในอารมณ์อันนั้น ตถาคตไม่เห็น ไม่ได้ยิน ไม่ทราบ
หรือไม่รู้ ก็หามิได้ ส่วนอารมณ์ที่มหาชนนี้แสวงหาแล้ว แต่ไม่ถึงก็มี
ไม่แสวงหาแล้วไม่ถึงก็มี แสวงหาแล้วจึงถึงก็มี ไม่แสวงหาแล้วแต่ถึงก็มี
อารมณ์แม้ทั้งหมด ชื่อว่าไม่ถึงแก่ตถาคต ตถาคตไม่ทำให้แจ้งด้วยญาณหามีไม่.
บทว่า ตสฺมา ตถาคโตติ วุจฺจติ ความว่า เรียกว่าตถาคต เพราะโลก
ไปอย่างใด. ตถาคตก็ไปอย่างนั้นแหละ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 35/175/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แห่งดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ ๔ อย่าง ซึ่งเป็นเหตุให้ดวงจันทร์ดวงอาทิตย์ไม่
สว่างไสวไพโรจน์
ภิกษุทั้งหลาย ฉันเดียวกันนั้นแล อุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์ทั้งหลาย
ก็มี ๔ ประการ ซึ่งเป็นเหตุให้สมณพราหมณ์ทั้งหลายไม่งามสง่า สุกใส
รุ่งเรืองอาทิผิด อาณัติกะ อุปกิเลสของสมณพราหมณ์ ๔ ประการ คืออะไรบ้าง คือ
มีอยู่ สมณพราหมณ์บางเหล่าดื่มสุราเมรัย ไม่งดเว้นจากการดื่ม
สุราเมรัย การดื่มสุราเมรัยเป็นอุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์ข้อ ๑ ซึ่งเป็นเหตุ
ให้สมณพราหมณ์ไม่งามสง่าสุกใสรุ่งเรือง
มีอยู่ สมณพราหมณ์บางเหล่าเสพเมถุนธรรม ไม่งดเว้นจากเมถุน-
ธรรม การเสพเมถุนธรรมนี้เป็นอุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์ข้อ ๒ ซึ่งเป็นเหตุ
ให้สมณพราหมณ์ไม่งามสง่าสุกใสรุ่งเรือง.
มีอยู่ สมณพราหมณ์บางเหล่ายินดีทองและเงิน ไม่งดเว้นจากการ
รับทองและเงิน ความยินดีรับทองและเงินนี้เป็นอุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์
ข้อ ๓ ซึ่งเป็นเหตุให้สมณพราหมณ์ไม่งามสง่าสุกใสรุ่งเรือง
มีอยู่ สมณพราหมณ์บางเหล่าเลี้ยงชีวิตโดยมิจฉาอาชีวะ ไม่งดเว้น
จากมิจฉาอาชีวะ การเลี้ยงชีวิตโดยมิจฉาอาชีวะนี้เป็นอุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์
ข้อ ๔ ซึ่งเป็นเหตุให้สมณพราหมณ์ไม่งามสง่าสุกใสรุ่งเรือง
ภิกษุทั้งหลาย นี้แล อุปกิเลสแห่งสมณพราหมณ์ ๔ ประการ ซึ่ง
เป็นเหตุให้สมณพราหมณ์ไม่งามสง่าสุกใสรุ่งเรือง.
สมณพราหมณ์บางเหล่าผู้มีราคะโท-
สะปกคลุมแล้ว เป็นคนอันอวิชชาปกปิด
แล้ว เพลินยินดีในปิยรูป (สิ่งที่รัก) ดื่ม
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 86/525/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ในปฏิสนธิขณะ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นสวิตักก-
สวิจารธรรม และวิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปุเรชาตะ ได้แก่
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นสวิตักกสวิจารธรรม และ
วิตก ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๓๙๙] ๘. อวิตักกวิจารมัตตธรรม และอวิตักกอวิจารธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะอาทิผิด อักขระ และ ปัจฉาชาตะ
ที่เป็น สหชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดพร้อม และวิจาร เป็น
ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรม และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปทั้งหลาย ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
ที่เป็น ปัจฉาชาตะ ได้แก่
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอวิตักกวิจารมัตตธรรมที่เกิดภายหลัง และวิจาร
เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย.
[๔๐๐] ๙. สวิตักกสวิจารธรรม และอวิตักกวิจารมัตตธรรม
เป็นปัจจัยแก่อวิตักกอวิจารธรรม ด้วยอำนาจของวิปปยุตตปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 88/254/16 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้
ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม และอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ด้วยอำนาจของปัจฉาชาต-
ปัจจัย.
พึงกระทำมูลแห่งวาระทั้งสอง.
๑๒. อาเสวนปัจจัย
[๒๔๒] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอาเสวนปัจจัย
คือ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ที่เกิดก่อน ๆ ฯลฯ โวทาน
เป็นปัจจัยแก่มรรค ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย.
๑๓. กัมมปัจจัย
[๒๔๓] ๑. อัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของกัมมปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น สหชาตะ และ นานาขณิกะ
ที่เป็น สหชาตะอาทิผิด อักขระ ได้แก่
เจตนาที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต-
สมุฏฐานรูปทั้งหลาย ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/291/21 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เชื้อแห่งความยึดมั่นทั้งหมด เพื่อระงับสังขารทั้งหมด เพื่อสละคืนอุปธิทั้งหมด
เพื่อความสิ้นแห่งตัณหา เพื่อความสำรอก เพื่อความดับ เพื่อนิพพาน บุคคลนั้น
ไม่มีความเห็นอย่างนี้ว่า เราจักขาดสูญแน่แท้ จักฉิบหายแน่แท้ จักไม่มีแน่
แท้ บุคคลนั้นย่อมไม่เศร้าโศก ไม่ลำบาก ไม่ร่ำไร ไม่คร่ำครวญตีอก ไม่
ถึงความลุ่มหลง เมื่อความพินาศแห่งบริขารในภายในไม่มี ความไม่สะดุ้งย่อม
มีอาทิผิด สระได้ด้วยอาการอย่างนี้แล.
[๒๘๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เธอทั้งหลายพึงกำหนดถือเอาบริขาร
ที่หวงแหน ซึ่งเป็นของเที่ยง ยั่งยืน คงที่ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ตั้งอยู่เสมอด้วยความเที่ยงอย่างนั้น เธอทั้งหลายเห็นบริขารที่หวงแหน ซึ่งเป็น
ของเที่ยง ยั่งยืน คงที่ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ตั้งอยู่เสมอด้วยความ
เที่ยงอย่างนั้นหรือไม่. ภิกษุทั้งหลายกราบทูลว่า ไม่เป็นอย่างนั้น พระเจ้าข้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดีละ ภิกษุทั้งหลาย เราก็ไม่พิจารณาเห็นบริขาร
ที่หวงแหน ซึ่งเป็นของเที่ยง ยั่งยืน คงที่ ไม่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา
ตั้งอยู่เสมอด้วยความเที่ยงอย่างนั้น. เธอทั้งหลายพึงเข้าไปยึดถืออัตตวาอาทิผิด ทุปาทาน
ซึ่งเมื่อเธอยึดถืออยู่ จะพึง โสกะปริเทวะ ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส เธอ
ทั้งหลายเห็นอัตตวาทุปาทาน ซึ่งเมื่อเธอยึดถืออยู่จะพึงไม่บังเกิด โสกะปริเทวะ
ทุกขะ โทมนัส และอุปายาส หรือไม่.
ไม่เป็นอย่างนั้นพระเจ้าข้า.
ดีละ. ภิกษุทั้งหลาย แม้เราก็ไม่พิจารณาเห็นอัตตวาอาทิผิด ทุปาทาน ซึ่งเมื่อ
บุคคลยึดถืออยู่จะไม่พึงบังเกิดโสกะ ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสอาทิผิด อักขระ และอุปายาส
เธอทั้งหลายพึงอาศัยทิฐินิสัยอาทิผิด อักขระ ซึ่งเมื่อเธออาศัยยึดถืออยู่จะพึงไม่บังเกิดความโสกะ
ปริเทวะ ทุกขะ โทมนัสอาทิผิด อักขระ และอุปายาส เธอทั้งหลายเห็นทิฐินิสัย ซึ่งเมื่อเธอ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 18/517/12 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็มหาภูตรูป ๔ เป็นไฉน คือปฐวีธาตุ อาโปธาตุ
เตโชธาตุ วาโยธาตุ.
ว่าด้วยปฐวีธาตุ
[๓๔๒] ดูก่อนท่านผู้มีอายุทั้งหลาย ก็ปฐวีธาตุเป็นไฉน. คือ ปฐวีธาตุ
ที่เป็นไปภายในก็มี ปฐวีธาตุที่เป็นไปภายนอกก็มี. ก็ปฐวีธาตุที่เป็นไปภายใน
เป็นไฉน. คือ อุปาทินนกรูปอันเป็นภายใน เฉพาะตน เป็นของแข้นแข็ง
เป็นของหยาบ คือ ผม ขน เล็บ ฟัน หนัง เนื้อ เอ็น กระดูก เยื่อใน
กระดูก ม้าม หัวใจ ตับ พังผืด ไต ปอด ไส้ใหญ่ ไส้น้อย อาหารใหม่
อาหารเก่า ก็หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งซึ่งเป็นอุปาทินนกรูป อันเป็นภายในเป็นของ
เฉพาะตน เป็นของแข้นแข็ง เป็นของหยาบอย่างอื่น นี้เรียกว่า ปฐวีธาตุ
เป็นไปภายใน. ก็ปฐวีธาตุอันใดแล เป็นไปภายใน และปฐวีธาตุอันใด เป็น
ไปภายนอก นั่นเป็นปฐวีธาตุแล. บัณฑิตพึงเห็นปฐวีอาทิผิด อักขระธาตุนั้นนั่น ด้วยปัญญา
อันชอบตามความเป็นจริงอย่างนี้ว่า นั่นไม่ใช่ของเรา เราไม่เป็นนั่น นั่นไม่
เป็นตนของเรา. บัณฑิตครั้นเห็นปฐวีธาตุนั่น ด้วยปัญญาอันชอบตามความ
เป็นจริงอย่างนี้แล้ว ย่อมเบื่อหน่ายในปฐวีธาตุ ย่อมยังจิตให้คลายกำหนัดใน
ปฐวีธาตุ. สมัยที่ปฐวีธาตุที่เป็นไปภายนอกกำเริบ ย่อมจะมีได้แล ในสมัยนั้น
ปฐวีธาตุอันเป็นภายนอกจะเป็นของอันตรธานไป. ก็ชื่อว่าความที่แห่งปฐวีธาตุ
อันเป็นไปภายนอกนั้น ซึ่งใหญ่ถึงเพียงนั้น เป็นของไม่เที่ยงจักปรากฏได้
ความเป็นของสิ้นไปเป็นธรรมดาจักปรากฏได้ ความเป็นของเสื่อมไปเป็น
ธรรมดาจักปรากฏได้ ความเป็นของแปรปรวนไปเป็นธรรมดาจักปรากฏได้.
ก็ไฉนความที่แห่งกายอันตัณหาเข้าไปถือเอาแล้ว ว่าเรา ว่าของเรา ว่าเรามีอยู่
อันตั้งอยู่ตลอดกาลพอประมาณนี้ เป็นของไม่เที่ยง เป็นของมีความสิ้นไปเป็น
ธรรมดา เป็นของมีความเสื่อมไปเป็นธรรมดา เป็นของมีความแปรปรวนไป
เป็นธรรมดา จักไม่ปรากฏเล่า เมื่อเป็นเช่นนี้ ความยึดถือด้วยสามารถตัณหา
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 53/59/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ถวายบังคมพระศาสดาและไหว้ภิกษุสงฆ์แล้วลุกจากอาสนะหลีกไป. เขา
ทำบุญมากหลายในอัตภาพนั้นตลอดชั่วอายุ จุติจากอัตภาพนั้นแล้วท่อง
เที่ยวไปในเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย ในกัปที่ ๙๒ แต่ภัทรกัปนี้ ในกาล
แห่งพระผู้มีพระภาคเจ้าพระนามว่า ผุสสะ เมื่อราชบุตร ๓ พระองค์ ผู้
เป็นพระภาดาต่างพระชนนีกันกับพระศาสดา ทรงอุปัฏฐากพระศาสดาอยู่
ได้กระทำกิจแห่งบุญกิริยาของราชบุตรเหล่านั้น.
เขาสั่งสมกุศลนั้นๆ เป็นอันมากในภพนั้นๆ อย่างนี้ ท่องเที่ยวอยู่
แต่เฉพาะสุคติเท่านั้น ในพุทธุปบาทกาลนี้ บังเกิดในเรือนของรัฐปาล
เศรษฐี ในถุลลโกฏฐิกนิคม ในกุรุรัฐ, เพราะเกิดในตระกูลที่สามารถรวบ
รวมรัฐที่แตกแยกออกของท่านรัฐปาลเศรษฐีนั้น จึงได้มีนามตามตระกูล
วงศ์ว่า รัฐปาละ. รัฐปาละนั้นเจริญด้วยบริวารเป็นอันมาก ถึงความเป็น
หนุ่มโดยลำดับ บิดามารดาจึงหาภรรยาที่สมควรให้ และให้ดำรงอยู่ใน
ยศใหญ่ เสวยเฉพาะสมบัติอาทิผิด สระดุจสมบัติทิพย์.
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสด็จจาริกไปยังชนบทในแคว้นกุรุรัฐ
เสด็จถึงถุลลโกฏฐิกนิคมโดยลำดับ. รัฐปาลกุลบุตรได้สดับดังนั้น จึงเข้าไป
เฝ้าพระศาสดา ฟังธรรมในสำนักของพระศาสดาแล้วได้ศรัทธาประสงค์
จะบวช ได้ทำการอดอาหาร ๗ วัน ให้บิดามารดาอนุญาตอย่างแสนยาก
ลำบาก แล้วเข้าไปเฝ้าพระศาสดาทูลขอบรรพชา ได้บวชในสำนักของ
พระเถระรูปหนึ่ง โดยอาณัติ (คำสั่ง) ของพระศาสดา กระทำกรรมโดย
โยนิโสมนสิการ เจริญวิปัสสนา บรรลุพระอรหัตแล้ว. ด้วยเหตุนั้น
ท่านจึงกล่าวไว้ในอปทานว่า๑
๑. ขุ. อ. ๓๒/ข้อ ๒๐.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 53/66/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เหล่านั้นให้ เมื่อท่านทั้งสองเศร้าโศกอยู่นั่นแล ก็ไปเสีย.
พระเถระแสดงบิดามารดากระทำให้เป็นเสมือนพรานเนื้อ กระทำ
เงินทอง และเรือนหญิงให้เป็นดุจบ่วง กระทำโภคะที่ตนใช้สอยในกาล
ก่อน และโภชนะที่ตนบริโภคในกาลนี้ ให้เป็นดุจเหยื่อคือหญ้า และ
กระทำให้เป็นดุจเนื้อใหญ่. ท่านกล่าวคาถานี้แล้วเหาะขึ้นสู่เวหาสไป นั่ง
อยู่ที่แผ่นศิลาอันเป็นมงคลของพระเจ้าโกรพยะ ในมิคาชินอุทยาน.
ได้ยินว่าโยมบิดาของพระเถระให้ใส่ดาลที่ซุ้มประตูทั้ง ๗ แห่ง แล้ว
สั่งคนปล้ำไว้ว่า อย่าให้ออกไป จงดึงผ้ากาสายะออกให้นุ่งผ้าขาว เพราะ-
ฉะนั้น พระเถระอาทิผิด สระจึงไปทางอากาศ. ลำดับนั้น พระเจ้าโกรพยะอาทิผิด ทรง
สดับว่า พระเถระนั่งอยู่ที่นั้น จึงเสด็จเข้าไปหา ทรงทำสัมโมทนียคาถาอัน
เป็นเครื่องระลึกถึงกันให้ผ่านไปแล้ว จึงตรัสถามว่า ท่านรัฐปาละผู้เจริญ
บุคคลผู้จะบวชในโลกนี้ เป็นผู้ประสบความเสื่อมเพราะเป็นโรค หรือ
ความเสื่อมเพราะชรา โภคะ และญาติ จึงออกบวช ส่วนตัวท่าน
ไม่ประสบความเสื่อมอะไร ๆ เลย เพราะเหตุไร จึงออกบวช.
ลำดับนั้น พระอาทิผิด สระเถระจึงกล่าวถึงตนผู้มีภาวะอันวิเวกต่อธัมมุทเทส ๔
ประการนี้แด่พระราชาว่า โลกอันชรานำเข้าไป ไม่ยั่งยืน, โลกไม่มีผู้
ต้านทาน ไม่เป็นใหญ่เฉพาะตน, โลกไม่เป็นของตน จำต้องละสิ่งทั้ง
ปวงไป, โลกพร่องอยู่เป็นนิตย์ ไม่รู้จักอิ่มเป็นทาสตัณหาดังนี้ เมื่อจะ
กล่าวการร้อยกรองตามลำดับแห่งเทศนานั้น จึงได้กล่าวคาถาเหล่านี้ว่า
เราเห็นหมู่มนุษย์ที่มีทรัพย์ในโลกนี้ ได้ทรัพย์แล้ว
ไม่ให้ทาน เพราะอาทิผิด สระความลุ่มหลง ได้ทรัพย์แล้วทำการสั่ง
สมไว้ และปรารถนาอยากได้ยิ่งขึ้นไป พระราชากดขี่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 29/252/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ให้ทานอาทิผิด อาณัติกะ การทรมานอินทรีย์ การสำรวม การกล่าวคำสัตย์ บุญที่มีการทำ
เช่นนั้นเป็นเหตุย่อมมีแก่เขา มีบุญมาถึงเขา ดังนี้ ถ้าถ้อยคำของศาสดา
นั้นเป็นความจริง ข้อที่เราสำรวมกาย สำรวมวาจา สำรวมใจ ๑ ข้อที่เรา
จักเข้าถึงสุคติโลกสวรรค์ เมื่อแตกกายตายไป ๑ ทั้งสองนี้เป็นการถือเอา
ชัยชนะในข้อนี้ เพราะเราผู้ไม่เบียดเบียนใครๆ คือ ผู้สะดุ้งหรือผู้มั่นคง
เป็นผู้ปฏิบัติไม่ผิด ความปราโมทย์ย่อมเกิดแก่พระอริยสาวกนั้น เมื่อเกิด
ปราโมทย์แล้ว ย่อมเกิดปีติ เมื่อมีปีติในใจ กายย่อมสงบ เธออาทิผิด อักขระมีกายสงบ
แล้ว ย่อมได้เสวยสุข เมื่อมีสุข จิตย่อมตั้งมั่น ดูก่อนนายคามณี นี้แล
ธรรมสมาธิ ถ้าท่านตั้งอยู่ในธรรมสมาธินั้น พึงได้จิตตสมาธิไซร้ เมื่อ
เป็นเช่นนี้ ท่านพึงละความสงสัยนี้ได้.
[๖๗๐] ดูก่อนนายคามณี พระอริยสาวกนั้น ผู้ซึ่งปราศจาก
อภิชฌา ปราศจากพยาบาทแล้วอย่างนี้ เป็นผู้ไม่ฟั่นเฟือน มีสัมปชัญญะ
มีสติเฉพาะหน้า มีใจประกอบด้วยกรุณาแผ่ไปตลอดทิศหนึ่งอยู่ . . . มีใจ
ประกอบด้วยมุทิตาแผ่ไปตลอดทิศหนึ่งอยู่ . . .พระอริยสาวกนั้นผู้ซึ่งปราศ-
จากอภิชฌา ปราศจากพยาบาทแล้วอย่างนี้ เป็นผู้ไม่ฟั่นเฟือน มีสัม-
ปชัญญะ มีสติเฉพาะหน้า มีใจประกอบด้วยอุเบกขาแผ่ไปตลอดทิศหนึ่งอยู่
ทิศที่ ๒ ที่ ๓ ที่ ๔ ก็เหมือนกัน ตามนัยนี้ ทั้งเบื้องบน เบื้องล่าง
เบื้องขวาง แผ่ไปตลอดโลก ทั่วสัตว์ทุกเหล่า ในที่ทุกสถาน ด้วยใจประกอบ
อุเบกขาอันไพบูลย์ ถึงความเป็นใหญ่หาประมาณมิได้ ไม่มีเวร ไม่มีความ
เบียดเบียนอยู่ พระอริยสาวกนั้นย่อมพิจารณาเห็นดังนี้ว่า ศาสดาผู้มีวาทะ
อย่างนี้ มีความเห็นอย่างนี้ว่า ทานไม่มีผล การบูชาไม่มีผล การเซ่นสรวง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 51/246/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าให้พระมหาวีรสรรเพชญ์ นายกโลก
ผู้เสด็จเข้ามาแล้ว ให้พอพระทัยด้วยโอสถทุกอย่าง ขอ
พระองค์จงทรงพอพระทัยด้วยมือ (ของข้าพระองค์)
ข้าพเจ้าได้ทำกรรมดีแด่พระองค์ไว้ ความสมบูรณ์แห่ง
พืช ข้าพเจ้าได้ทำไว้แล้วในบุญเขตที่ดี ข้าพเจ้าไม่อาจ
จะให้หมดสิ้นไปได้เลย เพราะในครั้งนั้น ข้าพเจ้าได้
ทำกรรมไว้ดีแล้ว เป็นลาภของเรา เป็นโชคดีของเรา
ที่ได้เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้ทรงเป็นนายก ด้วยผล
กรรมที่เหลือ ข้าพเจ้าจึงได้ลุถึงทางที่ไม่หวั่นไหว
พระสมณโคดมผู้สูงสุดแห่งศากยวงศ์ ได้ทรงทราบ
เรื่องทั้งหมดนี้แล้ว ได้ประทับอาทิผิด อักขระนั่งในหมู่สงฆ์ ทรงตั้ง
ข้าพเจ้าไว้ในตำแหน่งเอตทัคคะอาทิผิด ข้าพเจ้าได้ทำกรรม
อันใดไว้ในครั้งนั้น เพราะกรรมนั้น ข้าพเจ้าจึงไม่
รู้จักทุคติตลอดกัป นับไม่ถ้วนนับถอยหลังแต่กัปนี้ไป
นี้เป็นผลแห่งเภสัช. กิเลสทั้งหลาย ข้าพเจ้าได้เผาแล้ว
ฯ ล ฯ คำสอนของพระพุทธเจ้า ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติแล้ว.
อนึ่ง ครั้นได้บรรลุพระอรหัตแล้ว อยู่มาวันหนึ่ง ท่านเป็นผู้อัน
พระศาสดา ผู้กำลังทรงตั้งพระสาวกทั้งหลายของพระองค์ไว้ในฐานันดร ตาม
ลำดับได้ทรงตั้งไว้ในตำแหน่งผู้เลิศกว่าภิกษุทั้งหลาย ผู้มีอาพาธน้อย เมื่อจะ
พยากรณ์อรหัตผล ด้วยโอวาทที่สำคัญแก่ภิกษุทั้งหลาย ท่ามกลางสงฆ์ ใน
สมัยปรินิพพาน จึงได้กล่าวคาถาไว้ ๓ คาถา ว่า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 15/13/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ว่า เราไม่ละวาจา จิต และสละคืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็พึงไปพบเห็นพระ
สมณโคดมได้ ดังนี้ แม้ศีรษะเขาจะพึงแตกออก.
สุนักขัตตะ ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาค
ทรงรักษาพระวาจานั้น ขอพระสุคตทรงรักษาพระวาจานั้น.
เรากล่าวว่า ดูก่อนสุนักขัตตะ ก็ ไฉนเธอจึงกล่าวกะเราอย่าง
นี้ว่า ข้าแด่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระผู้มีพระภาคทรงรักษาพระวาจานั้น
ขอพระสุคตทรงรักษาพระวาจานั้น.
สุนักขัตตะทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ เพราะพระผู้มีพระ
ภาคตรัสวาจาโดยแน่นอนว่า นักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร เมื่อไม่ละวาจา
จิตและสละคืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็ไม่สามารถจะมาพบเห็นเราได้ แม้ถ้าเขา
พึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เราไม่ละวาจา จิต และสละคืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็พึงไป
พบเห็นพระสมณโคดมได้ ดังนี้ แม้ศีรษะเขาพึงแตกออก ดังนี้ ข้าแต่
พระองค์ผู้เจริญ ก็นักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตร อาจแปลงรูปมาพบเห็น
พระผู้มีพระภาคก็ได้ พระดำรัสเช่นนั้นของพระผู้มีพระภาคก็เป็นมุสา.
เรากล่าวว่า ดูก่อนสุนักขัตตะ ตถาคตเคยกล่าววาจาที่เป็นสอง
ไว้บ้างหรือ.
สุนักขัตตะ ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็พระผู้มีพระภาค
ทรงทราบ นักบวชเปลือยชื่อปาฏิกบุตรโดยแจ้งชัดด้วยพระหฤทัยว่า เขา
เมื่อไม่ละวาจา จิต และสละคืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็ไม่สามารถที่จะมาพบ
เห็นเราได้ ถ้าแม้เขาพึงคิดเห็นอย่างนี้ว่า เราไม่ละวาจา จิต และสละ
คืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็พึงไปพบเห็นพระสมณโคดมได้ ดังนี้ แม้ศีรษะเขาจะ
พึงแตกอาทิผิด สระออกหรือเทวดามาทูลความนั้นแด่พระผู้มีพระภาคว่า เขาเมื่อไม่
ละวาจา จิต และอาทิผิด สระสละคืนทิฏฐิเช่นนั้น ก็ไม่สามารถที่จะมาพบเห็น
พระองค์ได้ แม้ถ้าเขาพึงคิดเห็นอย่างไรว่า เราไม่ละวาจา จิต และอาทิผิด สระสละ
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 72/266/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เอาถ้อยคำที่ไม่เป็นจริงกล่าวทับถม ได้แก่เราได้กระทำการกล่าวตู่ด้วยเรื่องที่
ไม่เป็นจริง. บทว่า ทุนฺทุภิโย ความว่า เภรีท่านเรียกว่าทุนทุภิ กลอง
มะโหระทึกเพราะเปล่งเสียงว่า ทุง ทุง ดังนี้. บทว่า นาทยึสุ แปลว่า เปล่ง
เสียงดัง. บทว่า สมนฺตโต อสนิโย เชื่อมความว่า ประกอบลงแล้วในหิน
คือให้พินาศไปโดยทิศาภาคทั้งหมด รวมความว่า สายฟ้าอาชญาของเทวดา
อัน นำมาซึ่งความหวาดกลัวได้ผ่าแล้ว. บทว่า อุกฺกา ปตึสุ นภสา ความว่า
ก่อกองไฟได้ตกลงแล้ว จากอากาศ. บทว่า ธุมเกตุ จ ทิสฺสติ ความว่า และ
กองไฟอันประกอบด้วยกลุ่มควัน ย่อมปรากฏชัดเจน. คำที่เหลือ มีเนื้อความ
พอที่จะกำหนดได้โดยง่ายทีเดียวแล.
จบอรรถกถาอาทิผิด ทัพพมัลลปุตตเถราปทาน
กุมารกัสสปเถราปทานที่ ๕ (๕๓๕)
ว่าด้วยบุพจริยาของพระกุมารกัสสปเถระ
[๑๒๕] ในกัปที่แสนแต่กัปนี้ พระ-
ผู้มีพระภาคเจ้าผู้นายก ทรงเกื้อกูลแก่สัตว์โลก
ทั้งปวง เป็นนักปราชญ์ มีพระนามว่าปทุมุตตระ
ได้เสด็จอุบัติขึ้นแล้ว
ครั้งนั้น เราเป็นพราหมณ์มีชื่อเสียง
โด่งดัง รู้จบไตรเพท เที่ยวไปในที่พักสำราญ
กลางวัน ได้พบพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้นายกของ
โลก กำลังทรงประกาศสัจจะ ๔ ทรงยัง
มนุษย์พร้อมด้วยทวยเทพให้ตรัสรู้ กำลังทรง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/251/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.
จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ
ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.
๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานอาทิผิด สระธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๓๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/254/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๔. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย เจือกับจิต.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
๕. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุอาทิผิด อักขระปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ เจือกับขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
และจิต ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๓๗] ในเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๕ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๓๘] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เจือกับจิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย ฯลฯ มีทั้ง ๓ วาระ, โมหะ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/257/8 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ เพราะปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ขันธ์
ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๒).
จิต ปรารภขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
พึงกระทำมูล (วาระที่ ๓).
เพราะปรารภจิต และสัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตต-
สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรมอาทิผิด อักขระ เป็น
ปัจจัยแก่ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของ
อารัมมณปัจจัย
คือ พระอริยะทั้งหลาย ฯลฯ พิจารณา นิพพาน.
นิพพาน เป็นปัจจัยแก่โคตรภู ฯลฯ
อารัมมณปัจจัยในจิตตสหภุทุกะฉันใด พึงทำฉันนั้น ไม่มีแตกต่างกัน
พึงกระทำทั้ง ๙ วาระ.
๓. อธิปติปัจจัย
[๒๔๒] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต-
สังสัฏฐสมุฏฐานธรรม ด้วยอำนาจของอธิปติปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ และ สหชาตาธิปติ มี ๓ วาระ.
พึงกระทำอธิปติปัจจัยทั้งสอง.
พระปิฎกธรรม