Samutthan
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/251/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
คือ จักขุวิญญาณ อาศัยขันธ์ทั้งหลาย ที่สหรคตด้วยจักขุวิญญาณ
และจักขายตนะ ฯลฯ ที่สหรคตด้วยกายวิญญาณ.
จิต อาศัยขันธ์ทั้งหลายที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และหทยวัตถุ
ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.
๗. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และธรรมที่ไม่ใช่
จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานอาทิผิด สระธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม และ
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะอารัมมณ-
ปัจจัย
คือ ขันธ์ ๒ และจิต อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นจิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม
และหทยวัตถุ ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒.
ในปฏิสนธิขณะ มี ๑ นัย.
ฯลฯ
การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๓๓] ในเหตุปัจจัย มี ๙ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๙ วาระ ใน
อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ ในปัจจัยทั้งปวง มี ๙ วาระ ในอวิคตปัจจัย มี ๙ วาระ.
ปัจจนียนัย
๑. นเหตุปัจจัย
[๒๓๔] ๑. จิตตสังสัฏฐสมุฏฐานธรรม อาศัยจิตตสังสัฏฐ-
สมุฏฐานธรรม เกิดขึ้น เพราะนเหตุปัจจัย
พระปิฎกธรรม
1 条评论:
ฉบับประมวลศัพท์
สมุฏฐาน
ที่เกิด, ที่ตั้ง, เหตุ; ทางที่เกิดอาบัติ โดยตรงมี ๔ คือ ๑.ลำพังกาย ๒.ลำพังวาจา ๓.กายกับจิต ๔.วาจากับจิต และที่ควบกันอีก ๒ คือ ๑.กายกับวาจา ๒.กายกับวาจากับทั้งจิต
ไทย-บาลี
กาลสมุฏฺฐาน
(นปุ.) การตั้งขึ้นพร้อมแห่ง กาล, กาลสมุฏฐาน กาลสมุตถาน เรียกโรค ที่เกิดขึ้นเพราะธาตุไม่เป็นไปตามปกติ.
发表评论