星期三, 八月 31, 2016

Khuen

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 22/264/15 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
วจีสมาจารเป็นต้นที่เป็นเหตุให้อกุศลธรรมเสื่อมหรือเจริญ

และกุศลธรรมเสื่อมหรือเจริญ

[๒๒๔] ก็แล ข้อที่กล่าวไว้ดังนี้ว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคต
กล่าว วจีสมาจาร. . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตกล่าว มโนสมาจาร. . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตกล่าว ความเกิดขึ้นแห่งจิต. . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตกล่าว การได้สัญญา. . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เราตถาคตกล่าว การกลับได้ทิฏฐิ. . .
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ข้อที่เราตถาคตกล่าว การได้อัตภาพ
ไว้ ๒ อย่าง คือ ที่ควรเสพอย่าง ๑ ที่ไม่ควรเสพอย่าง ๑ ทั้งสองอย่างนั้น
แต่ละอย่างเป็น การได้อัตภาพ ด้วยกัน เราตถาคตอาศัยอะไรจึงกล่าวไว้
แล้ว.

การกลับได้อัตภาพที่ไม่ควรเสพ (ได้)

ดูก่อนสารีบุตร เมื่อบุคคลเสพ การได้อัตภาพ แบบไร อกุศล-
ธรรมทั้งหลายจะเจริญขึ้นอาทิผิด สระ แต่กุศลธรรมทั้งหลายกลับเสื่อมลง การได้อัตภาพ
แบบนี้ ไม่ควรเสพ.

การกลับได้อัตภาพที่ควรเสพ (ได้)

ดูก่อนสารีบุตร ก็แล เมื่อบุคคลเสพ การได้อัตภาพ แบบไร
อกุศลธรรมทั้งหลายจะเสื่อมไป แต่กุศลธรรมทั้งหลายกลับเจริญขึ้น การได้
อัตภาพแบบนี้ ควรเสพ.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 28, 2016

Chang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 71/986/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โตเทยยเถรปทานที่ ๘ (๔๐๘)
ว่าด้วยผลแห่งการสร้างบรรณศาลา
[๔๑๐] ในกาลนั้น (เราเห็น) พระราชาอาทิผิด สระพระนามว่าวิชิตชัย เป็นผู้
กล้า ทรงถึงพร้อมด้วยความกล้าใหญ่ ประทับอยู่ในท่ามกลาง
พระนครเกตุมดีอันอุดม.
ในกาลนั้น เมื่อพระราชาพระองค์นั้นประมาท โจรผู้
ประทุษร้ายแว่นแคว้นก็ตั้งขึ้น และโจรผู้หยาบช้าทางทิศเหนือ
ก็กำจัดแว่นแคว้น.
เมื่อปัจจันตชนบทกำเริบ พระราชาจึงสั่งให้พลรบและ
ทหารรักษาพระองค์ประชุมกัน รับสั่งให้ใช้อาวุธบังคับข้าศึก.
ในกาลนั้น พลช้าง พลม้า ทหารเสื้อเกราะผู้กล้าหาญ พล
ธนูและพลรถมาประชุมกันทั้งหมด พวกพ่อครัว พนักงาน
เครื่องต้น พนักงานสรงสนาน ช่างอาทิผิด อาณัติกะดอกไม้ผู้กล้าหาญ เคย
ชนะสงคราม มาประชุมกันทั้งหมด.
พวกชายฉกรรจ์ผู้ถือดาบ ถือธนู สวมเกราะหนัง เป็น
คนแข็งกล้าเคยชนะสงคราม มาประชุมกันทั้งหมด.
ช้างมาตังคะตกมัน ๓ ครั้ง มีอายุ ๖๐ ปี มีสายประคน
พานหน้าพานหลัง และเครื่องประดับล้วนทอง มาประชุมกัน
ทั้งหมด.
นักรบอาชีพ อดทนต่อหนาว ร้อน อุจจาระ ปัสสาวะ มี
กรรมอันทำเสร็จแล้ว มาประชุมกันทั้งหมด.
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 24, 2016

Tathakhot

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 27/231/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ความสมัครสมาน จึงได้เสด็จพุทธดำเนิน (ต่อไป) ยังป่าปาจีนวังสะ.
พระองค์ได้ตรัสอานิสงส์ในการอยู่ด้วยกันด้วยความสมัครสมานแก่
ภิกษุทั้ง ๓ รูปนั้นตลอดคืน (แล้วรุ่งเช้าเสด็จออกบิณฑบาต) ทรงให้
ภิกษุทั้ง ๓ รูปนั่นกลับในที่นั้นนั่นเอง แล้วเสด็จหลีกมุ่งสู่เมืองปาลิเลยยกะ
ตามลำพังพระองค์เดียว เสด็จถึงเมืองปาลิเลยยกะตามลำดับ ด้วยเหตุนั้น
พระสังคีติกาจารย์จึงกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะเสด็จจาริกไป
ตามลำดับ ก็ได้เสด็จไปทางเมืองปาลิเลยยกะ.

ช้างอุปัฏฐากพระพุทธเจ้า
บทว่า ภทฺทสาลมูเล ความว่า ชาวเมืองปาลิเลยยกะถวายทาน
แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ได้พากันสร้างบรรณศาลาถวาย
พระผู้มีพระภาคเจ้าในราวป่าชื่อรักขิตะ. ซึ่งอยู่ไม่ไกลจากป่า
ปาลิเลยยกะ ทูลอาราธนาพระผู้มีพระภาคเจ้าให้ประทับอยู่อาทิผิด ว่า
ขอนิมนต์พระองค์ประทับอยู่ในบรรณศาลาอาทิผิด อักขระนี้เถิด.
ก็แล ต้นสาละบ้างต้นในราวป่านั้นนั่นแล เป็นต้นไม้ใหญ่
ประเสริฐ จึงเรียกว่า ภัททสาละ พระผู้มีพระภาคเจ้าเข้าไปอาศัยเมือง
นั้นประทับอยู่ที่โคนต้นไม้นั้น (ซึ่งอยู่) ใกล้บรรณศาลาในราวป่านั้น
ด้วยเหตุนั้นพระสังคีติกาจารย์จึงกล่าวว่า ภทฺทสาลมูเล.
ก็เมื่อพระตถาคตอาทิผิด อักขระประทับอยู่ในราวป่านั้นอย่างนั้น ช้างพลาย
ตัวหนึ่ง ถูกพวกช้างพังและลูกช้างเป็นต้น เบียดเสียดในสถานที่
ทั้งหลายมีสถานที่ออกหากินและสถานที่ลงท่าน้ำเป็นต้น เมื่อหน่าย
(ที่จะอยู่) ในโขลง คิดว่า เราจะอยู่กับช้างพวกนี่ไปทำไม จึงละโขลง
(ออก) ไปยังถิ่นมนุษย์ เห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าในราวป่าปาลิเลยยกะ
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 20, 2016

Khiang

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/122/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ขณะนั้น นางอัมพปาลีคณิกา ทำให้งอนรถกระทบงอนรถ แอก
กระทบแอก ล้อกระทบล้อ เพลากระทบเพลา ของเจ้าลิจฉวีหนุ่ม ๆ เจ้าลิจ-
ฉวีเหล่านั้นจึงได้ตรัสถามนางว่า แม่อัมพปาลี เหตุไฉนเธอจึงได้ทำให้งอนรถ
กระทบงอนรถ แอกกระทบอาทิผิด แอก ล้อกระทบอาทิผิด ล้อ เพลากระทบเพลา ของ
เจ้าลิจฉวีหนุ่ม ๆ ของพวกเราเล่า.
อัม. จริงอย่างนั้น พ่ะยะค่ะ เพราะหม่อมฉันได้นิมนต์ภิกษุสงฆ์มี
พระพุทธเจ้าเป็นประมุข เพื่อเจริญบุญกุศลและปีติปราโมทย์ในวันพรุ่งนี้.
ลจ. แม่อัมพปาลี เธอจงให้ภัตตาหารมื้อนี้แก่พวกฉัน ด้วยราคาแสน
กษาปณ์เถิด.
อัม. แม้ว่าฝ่าพระบาท จะพึงประทาน พระนครเวสาลีพร้อมทั้ง
ชนบทแก่หม่อมฉัน ๆ ก็ถวายภัตตาหารมื้อนั้นไม่ได้ พ่ะยะค่ะ.
เจ้าลิจฉวีเหล่านั้น จึงได้ทรงดีดพระองคุลีตรัสว่า ท่านทั้งหลาย พวก
เราแพ้แม่อัมพปาลีแล้ว ท่านทั้งหลาย พวกเราแพ้แม่อัมพปาลีแล้ว จึงพากัน
เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ๆ ได้ทอดพระเนตรเห็นเจ้าลิจฉวีเหล่านั้นกำลัง
เสด็จมาแต่ไกลครั้นแล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ภิกษุ
เหล่าใดไม่เคยเห็นเทพเจ้าชั้นดาวดึงส์ ก็จงแลดูพวกเจ้าลิจฉวี พิจารณาดู
เทียบเคียงอาทิผิด อักขระดู พวกเจ้าลิจฉวีกับพวกเทพเจ้าชั้นดาวดึงส์อาทิผิด อักขระเถิด เจ้าลิจฉวีเหล่านั้น
จึงได้เสด็จไป ด้วยยวดยาน ตลอดพื้นที่ที่ยวดยานจะไปได้ แล้วเสด็จลงจาก
ยวดยานทรงดำเนินด้วยพระบาท เข้าไปถึงพุทธสำนัก ถวายบังคมพระผู้มี-
พระภาคเจ้าแล้ว ประทับนั่งอยู่ ณ ที่อาทิผิด อาณัติกะควรส่วนข้างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า
ทรงชี้แจงให้เจ้าลิจฉวีเหล่านั้น ทรงเห็นแจ้งสมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วย
ธรรมีกถา เจ้าลิจฉวีเหล่านั้น อันพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงชี้แจงให้เห็นแจ้ง
สมาทาน อาจหาญ ร่าเริงด้วยธรรมีกถาแล้ว จึงได้กราบทูลอาราธนาพระ-
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 18, 2016

Santhan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/206/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถามธุปิณฑิกสูตร
มธุปิณฑิกสูตร มีคำเริ่มต้นว่า ข้าพเจ้าได้สดับมาดังนี้ :-
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า มหาวนํ ได้แก่ ป่าที่เกิดขึ้นเองโดยไม่มี
ใครปลูก ต่อเนื่องเป็นอันเดียวกันกับป่าหิมพานต์ ไม่เหมือนป่าเกี่ยวกับป่าที่
ปลูกแล้ว และยังไม่ได้ปลูกในเมืองเวสาลี. บทว่า ทิวาวิหาราย ได้แก่
เพื่อประโยชน์แก่การทรงพักผ่อนในเวลากลางวัน. บทว่า เวลุวลฏฺฐิกาย
ได้แก่ ต้นมะตูมหนุ่ม. บทว่า ทณฺฑปาณิ คือ ทรงถือไม้เท้าเพราะความ
เป็นผู้ทุรพลด้วยชราก็หาไม่. เพราะทัณฑปาณิศากยะนี้ ยังเป็นหนุ่มเทียว
ดำรงอยู่ในปฐมวัย แต่ทรงถือไม้เท้าทองคำ เพราะความที่มีจิตในไม้เท้าเที่ยวอาทิผิด อาณัติกะไป
เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า ทัณฑปาณิ. บทว่า ชงฺฆาวิหารํ ได้แก่ เดินเล่น
เพื่อบรรเทาความเหน็ดเหนื่อยของแข้ง. บทว่า อนุจงฺกมมาโน คือกำลังเสด็จ
เที่ยวข้างโน้น และข้างนี้ เพื่อประโยชน์แก่การทรงชมสวน ชมป่า และชม
ภูเขา เป็นต้น. ได้ยินว่า ทัณฑปาณิศากยะนั้น เมื่อจะเสด็จออกไป
ก็เสด็จออกในบางเวลาเท่านั้น เที่ยวไป. บทว่า ทณฺฑโมลุพฺภา
ความว่า ทรงยันไม้เท้า คือวางไม้เท้าข้างหน้า เหมือนเด็กเลี้ยงโค วางพระ
หัตถ์ทั้งสองไว้บนปลายไม้เท้า ทรงแนบหลังพระฝ่าพระหัตถ์ ไว้กับพระหณุ
แล้ว ประทับยืน ณ ที่ควรข้างหนึ่ง. บทว่า กึวาที ได้แก่ ทรงมีความเห็น
อย่างไร. บทว่า กิมกฺขายิ คือ ตรัสบอกอย่างไร. พระราชานี้ไม่ทรงไหว้
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงกระทำสักว่า ปฏิสันถารอาทิผิด อักขระเท่านั้น แล้วทูลถามปัญหา
แต่ก็ทูลถามโดยความจำใจ เพราะความที่ไม่ประสงค์จะรู้. นัยว่าพระราชานี้
ทรงเป็นพวกของพระเทวทัต เพราะเหตุไร. เพราะพระเทวทัตแตกในพระ-
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 17, 2016

Athippatai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 74/667/2 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
โพธิสัตว์เกิดในหมู่สัตว์ใด ๆ ย่อมครอบงำสัตว์อื่นในหมู่สัตว์นั้น ๆ ด้วย วรรณ
ยศ สุข พละ อธิปไตยอันอาทิผิด ยอดยิ่ง เพราะประกอบด้วยบุญวิเศษ.
เป็นผู้มีอาพาธน้อย มีโรคน้อย. ศรัทธาอาทิผิด อักขระของพระโพธิสัตว์นั้นบริสุทธิ์
ด้วยดี. ความเพียรบริสุทธิ์ด้วยดี. สติ สมาธิ ปัญญา บริสุทธิ์ด้วยดี. มี
กิเลสเบาบาง มีความกระวนกระวายน้อย มีความเร่าร้อนน้อย. เป็นผู้ว่าง่าย
เพราะมีกิเลสเบาบาง. เป็นผู้มีความเคารพ. อดทนสงบเสงี่ยม. อ่อนโยน
ฉลาดในปฏิสันถารอาทิผิด อักขระ. ไม่โกรธ ไม่ผูกโกรธ ไม่ลบหลู่ ไม่ตีเสมอ. ไม่ริษยา
ไม่ตระหนี่. ไม่โอ้อวด ไม่มีมายา. ไม่กระด้าง ไม่ถือตัว. ไม่รุนแรง ไม่
ประมาท. อดทนต่อความเดือดร้อนจากผู้อื่น ไม่ทำผู้อื่นให้เดือดร้อนอาทิผิด อักขระ.
อันตรายมีภัยเป็นต้นที่ยังไม่เกิด ย่อมไม่เกิดในตำบลที่ตนอาศัยอยู่. และที่
เกิดแล้วย่อมสงบไป. ทุกข์มีประมาณยิ่งย่อมไม่เบียดเบียนดุจชนเป็นอันมาก
ในอบายที่ทุกข์เกิด. ย่อมถึงความสังเวชโดยประมาณยิ่ง. เพราะฉะนั้นพึง
ทราบว่าคุณวิเศษเหล่านั้น มีความเป็นทักขิไณยบุคคลเสมอด้วยบิดาเป็นต้น
ของสัตว์ทั้งหลาย เป็นอานิสงส์ที่พระมหาบุรุษได้ในภพนั้น ๆ ตามสมควร.
อนึ่ง แม้คุณสมบัติเหล่านี้ คือ อายุสัมปทา รูปสัมปทา กุสลสัมป-
ทา อิสริยสัมปทา อาเทยยวจนตา คือพูดเชื่อได้ มหานุภาวตา พึงทราบ
ว่า เป็นอานิสงส์แห่งบารมีทั้งหลายของมหาบุรุษ. ในคุณวิเศษเหล่านั้น
ชื่อว่า อายุสัมปทา ได้แก่ความมีอายุยืน ความตั้งอยู่นานในการเกิดนั้น ๆ
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 16, 2016

Insi

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 70/245/1 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านี้ มีอินทรีย์อาทิผิด สระสงบ มีใจสงบ
มีใจตั้งมั่น มีปกติประพฤติกรุณาในสัตว์ ในปัจจันตชนบท
เกื้อกูลแก่เหล่าสัตว์ รุ่งเรืองอาทิผิด อาณัติกะอยู่ในโลกนี้และโลกหน้า เช่น
กับดวงประทีปฉะนั้น.
พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านี้ ละกิเลสเครื่องกั้นทั้งปวง
หมดแล้ว เป็นจอมชน เป็นอาทิผิด อักขระประทีปส่องโลกให้สว่าง มีรัศมี
เช่นรัศมีแห่งทองคำแท่ง เป็นพระทักขิไณยบุคคลชั้นดีของ
ชาวโลก โดยไม่ต้องสงสัย เป็นผู้เต็มเปี่ยมอยู่เสมอ.
คำสุภาษิตของพระปัจเจกพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมเป็นไป
ในโลกพร้อมทั้งเทวโลก ชนเหล่าใดผู้เป็นพาลได้ฟังแล้วไม่
กระทำเหมือนอย่างนั้น ชนเหล่านั้นท่องเที่ยวไปในสังสาร-
ทุกข์บ่อย ๆ.
คำสุภาษิตของพระปัจเจกสัมพุทธเจ้าทั้งหลาย เป็นคำ
ไพเราะ. ดังน้ำผึ้งรวงอันไหลออกอยู่ ชนเหล่าใดได้ฟังแล้ว
ประกอบการปฏิบัติเช่นนั้น ชนเหล่านั้นย่อมเป็นผู้มีปัญญา
เห็นสัจจะ.
คาถาอันโอฬารที่พระปัจเจกสัมพุทธชินเจ้า ออกบวช
กล่าวไว้แล้ว คาถาเหล่านั้นอันพระศากยสีหะผู้สูงสุดกว่า
นรชนทรงประกาศแล้ว เพื่อให้รู้แจ้งธรรม.
คำที่เป็นคาถาเหล่านี้ พระปัจเจกสัมพุทธเจ้าเหล่านั้น
รจนาไว้อย่างวิเศษ เพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก อันพระสยัมภู
 
พระปิฎกธรรม

星期一, 八月 15, 2016

Pure

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 88/783/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บุคคลเห็นรูปด้วยทิพยจักษุ, ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตะ เป็น
ปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่
จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัย
แก่กายวิญญาณ.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสวิปปยุตตธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
๒. ปรามาสวิปปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส-
สัมปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
มี ๒ อย่าง คือที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรอาทิผิด ชาตะ
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่
บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่งซึ่งจักษุ ฯลฯ หทยวัตถุ เพราะ
ปรารภจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม ย่อมเกิดขึ้น.
หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นปรามาสสัมปยุตตธรรม
ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

๑๑. ปัจฉาชาตปัจจัย
[๗๑๗] ๑. ปรามาสสัมปยุตตธรรม เป็นปัจจัยแก่ปรามาส-
วิปปยุตตธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย ฯลฯ
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 13, 2016

Ajjhattarammana

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 87/709/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
[๒๑๖๕] ๔. พหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตา-
รัมมณธรรม ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น นานาขณิกะ ได้แก่
เจตนาที่เป็นพหิทธารัมมณธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลายที่เป็น
อัชฌัตตารัมมณธรรม ซึ่งเป็นวิบาก ด้วยอำนาจของกัมมปัจจัย.

๑๒. วิปากปัจจัย ฯลฯ ๒๑. อวิคตปัจจัย
[๒๑๖๖] อัชฌัตตารัมมณธรรมอาทิผิด  เป็นปัจจัยแก่อัชฌัตตารัมมณ-
ธรรม ด้วยอำนาจของวิปากปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอาหาร-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอินทริยปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจ-
ของฌานปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของมัคคปัจจัย, เป็นปัจจัย
ด้วยอำนาจของสัมปยุตตปัจจัย เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอัตถิปัจจัย,
เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของนัตถิปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของวิคต-
ปัจจัย, เป็นปัจจัย ด้วยอำนาจของอวิคตปัจจัย.

การนับจำนวนวาระในอนุโลม
[๒๑๖๗] ในเหตุปัจจัย มี ๒ วาระ ในอารัมมณปัจจัย มี ๔ วาระ
ในอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ในอาทิผิด อักขระอนันตรปัจจัย มี ๔ วาระ ในสมนันตรปัจจัย
มี ๓ วาระ ในสหชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ
ในนิสสยปัจจัย มี ๒ วาระ ในอุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ในอาเสวนปัจจัย
มี ๓ วาระ ในกัมมปัจจัย มี ๔ วาระ ในวิปากปัจจัย มี ๒ วาระ ในปัจจัย
ทั้งปวง มี ๒ วาระ ในสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ในอัตถิปัจจัย มี ๒ วาระ
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 10, 2016

Patchai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 88/237/6 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๒. อารัมมณปัจจัย
[๒๒๑] ๑. อัปปฏิฆธรรม อาศัยอัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น
เพราะอารัมมณปัจจัย
คือ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ
ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ทั้งหลาย อาศัยหทยวัตถุ.

๓. อธิปติปัจจัยอาทิผิด สระ
[๒๒๒] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น
เพราะอธิปติปัจจัย พึงเว้นปฏิสนธิ และกฏัตตารูป.
๔. อนันตรปัจจัย ฯลฯ ๖. สหชาตปัจจัย
ฯลฯ เพราะอนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสมนันตรปัจจัย
ฯลฯ เพราะสหชาตปัจจัย พึงกระทำมหาภูตรูปทั้งหมด.

๗. อัญญมัญญปัจจัย
[๒๒๓] ๑. สัปปฏิฆธรรม อาศัยสัปปฏิฆธรรม เกิดขึ้น เพราะ
อัญญมัญญปัจจัย
คือ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ที่เป็นสัปปฏิฆธรรม ฯลฯ อาศัย
มหาภูตรูป ๒.
 
พระปิฎกธรรม

星期日, 八月 07, 2016

Puppheniwasanutsatiyan

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 88/248/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พระอริยะทั้งหลายพิจารณากิเลสที่ละแล้ว, กิเลสที่ข่มแล้ว, รู้ซึ่งกิเลส
ทั้งหลายที่เคยเกิดขึ้นแล้วในกาลก่อน.
บุคคลพิจารณาเห็นหทยวัตถุ ฯลฯ อิตถินทรีย์ ปุริสินทรีย์ ชีวิตินทรีย์
อาโปธาตุ ฯลฯ กวฬีการาหาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ โทมนัสย่อม
เกิดขึ้น.
บุคคลรู้จิตของบุคคลผู้พร้อมเพรียงด้วยจิต ที่เป็นอัปปฏิฆธรรม ด้วย
เจโตปริยญาณ.
อากาสานัญจายตนะ เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ, อากิญจัญญา-
ยตนะเป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ.
ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโต-
ปริยญาณ, แก่ปุพเพนิวาสาอาทิผิด สระนุสสติญาณ, แก่ยถากัมมูปคญาณ, แก่อนาคตังส-
ญาณ, แก่อาวัชชนะ ด้วยอำนาจของอารัมมณปัจจัย.

๓. อธิปติปัจจัย
[๒๓๕] ๑. สัปปฏิฆธรรม เป็นปัจจัยแก่อัปปฏิฆธรรม ด้วย
อำนาจของอธิปติปัจจัย
มีอย่างเดียว คือที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่
บุคคล ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำจักษุ ฯลฯ
โผฏฐัพพะทั้งหลายให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ครั้นกระทำจักษุเป็นต้นนั้น
ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่นแล้ว ราคะ ย่อมเกิดขึ้น ทิฏฐิ ย่อมเกิดขึ้น.
 
พระปิฎกธรรม

星期六, 八月 06, 2016

Giveyyaka

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 7/276/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
สั้น ๆ พูนคันนาเชื่อมกันดังทาง ๔ แพร่ง ตามที่ซึ่งคันนากับคันนาผ่านตัดกัน
ไป ครั้นแล้ว รับสั่งกะท่านพระอานนท์ว่า อานนท์เธอเห็นนาของชาวมคธ
ซึ่งเขาพูนดินขึ้นเป็นคันนาสี่เหลี่ยม พูนคันนายาวทั้งด้านยาวและด้านกว้าง พูน
คันนาคั่นในระหว่าง ๆ ด้วยคันนาสั้น ๆ พูนคันนาเชื่อมกันดังทาง ๔ แพร่ง
ตามที่ซึ่งคันนากับคันนาผ่านตัดกันไปหรือไม่ ?
อา. เห็นตามพระพุทธดำรัส พระพุทธเจ้าข้า.
ภ. เธอสามารถแต่งจีวรของภิกษุทั้งหลายให้มีรูปอย่างนั้นได้หรือไม่ ?
อา. สามารถ พระพุทธเจ้าข้า.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ทักขิณาคิรีชนบทตามพระ-
พุทธาภิรมย์ แล้วเสด็จกลับมาพระนครราชคฤห์อีก ครั้งนั้นท่านพระอานนท์
แต่งจีวรสำหรับภิกษุหลายรูป ครั้นแล้วเข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าได้กราบทูล
ว่า ขอพระผู้มีพระภาคเจ้าจงทรงทอดพระเนตรจีวรที่ข้าพระพุทธเจ้าแต่งแล้ว
พระพุทธเจ้าข้า.

ตรัสสรรเสริญท่านพระอานนท์
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทำธรรมีกถา ในเพราะเหตุเป็น
เค้ามูลนั้น ในเพราะเหตุแรกเกิดนั้น แล้วรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูก่อนภิกษุ
ทั้งหลาย อานนท์เป็นคนฉลาด อานนท์เป็นคนเจ้าปัญญา อานนท์ได้ซาบซึ้ง
ถึงเนื้อความแห่งถ้อยคำที่เรากล่าวย่อได้โดยกว้างขวาง อานนท์ทำผ้าชื่อกุสิก็ได้
ทำผ้าชื่ออัฑฒกุสิก็ได้ ทำผ้าชื่อมณฑลก็ได้ ทำผ้าชื่ออัทฒมณฑลก็ได้ ทำผ้าชื่อ
วิวัฏฏะก็ได้ ทำผ้าชื่ออนุวิวัฏฏะก็ได้ ทำผ้าชื่อคีเวยยกะอาทิผิด อักขระก็ได้ ทำผ้าชื่อชังเฆย-
ยกะก็ได้ และทำผ้าชื่อพาหันตะก็ได้จีวรจักเป็นผ้าที่ตัดแล้ว เศร้าหมองด้วย
ศัสตรา สมควรแก่สมณะและพวกศัตรูไม่ต้องการ.
 
พระปิฎกธรรม

星期五, 八月 05, 2016

Aditta

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 24/268/22 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
อรรถกถาฆฏิกรสูตร

พึงทราบวินิจฉัยในฆฏิกรสูตรที่ ๑๐ ต่อไป :-
บทว่า ผู้เข้าถึง ได้แก่ เข้าถึงแล้วด้วยอำนาจแห่งความเกิดขึ้น.
บทว่า เป็นผู้หลุดพ้นแล้ว ได้แก่ เป็นผู้หลุดพ้นแล้ว ด้วยความหลุดพ้น
แห่งพระอรหัตผลในระหว่างแห่งเวลาใกล้ชิดกับความอุบัติขึ้นในอวิหาพรหม
โลก.
ในข้อนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสสังโยชน์เบื้องต่ำ ๕ อย่างนี้ว่า มานุสํ
เทหํ แปลว่ากายของมนุษย์. ตรัสสังโยชน์อันเป็นส่วนเบื้องบน ๕ อย่าง ด้วย
บทว่า ทิพฺพโยคํ แปลว่า ทิพยโยคะ นี้. บทว่า อุปจฺจคุํ แปลว่า ก้าว
ล่วงแล้ว. บทว่า ท่านอุปกะ เป็นต้น เป็นชื่อของพระเถระเหล่านั้น. บทว่า
ความฉลาด ในคำว่า ท่านเป็นผู้มีความฉลาด กล่าวสรรเสริญภิกษุเหล่า
นั้น นี้มีอยู่แก่บุคคลนี้ใด เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้น จึงชื่อว่า มีความฉลาด
อธิบายว่า ท่านเป็นผู้มีความฉลาด มีวาจาไม่มีโทษกล่าวชมเชยสรรเสริญ
พระเถระเหล่านั้น คือว่า ตรัสว่า ดูก่อนเทวบุตร ท่านเป็นผู้ฉลาด. บทว่า
ตํ เต ธมฺมํ อิธญฺญาย ความว่า พระเถระเหล่านั้นรู้ธรรมนั้นในพระศาสนา
ของพระองค์นี้. บทว่า คมฺภีรํ ได้แก่ มีอรรถอันลึก. บทว่า ผู้ประพฤติ
พรหมจรรย์ไม่เกี่ยวด้วยอามิส ความว่า ชื่อว่า ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ไม่
เกี่ยวด้วยอามิส คือ พระอนาคามี. อธิบายว่า ได้สำเร็จเป็นพระอนาคามีแล้ว.
บทว่า อหุวา แปลว่า ได้เคยเป็นแล้ว. บทว่า สคาเมยฺโย แปลว่า ได้เคย
เป็นคนร่วมบ้านกับพระองค์. ปริโยสานคาถา พระสังคีติกาจารย์ทั้งหลายกล่าว.
จบอรรถกถาฆฏิกรสูตรที่ ๑๐
จบอาทิตตวรรคที่ ๕
 
พระปิฎกธรรม

星期四, 八月 04, 2016

Kla

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 25/255/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ลำดับนั้น พราหมณ์คิดว่า สมณะนี้กล่าวว่า แม้เราก็ไถก็หว่าน แต่
เราไม่เห็นเครื่องไถมีแอกและไถเป็นต้นที่ใหญ่ ๆ ของสมณะนี้ สมณะนี้กล่าว
เท็จหรือหนอตรวจดูพระผู้มีพระภาคเจ้าตั้งแต่พื้นพระบาทจนถึงปลายพระเกศา
เพราะตนสำเร็จวิชาดูลักษณะ จึงรู้ว่าสมณะนั้นสมบูรณ์ด้วยลักษณะประเสริฐ
๓๒ ประการ เหตุได้สั่งสมบุญญาธิการไว้ เกิดมานะอย่างแรงกล้าอาทิผิด อาณัติกะว่า ข้อที่
สมณะเห็นปานนี้พูดมุสามิใช่ฐานะที่จะเป็นได้ จึงละวาทะว่าสมณะในพระผู้มี
พระภาคเจ้า เมื่อจะเรียกพระผู้มีพระภาคเจ้าโดยโคตร จึงกล่าวว่า น โข ปน
มยํ ปสฺสาม โภโต โคตมสฺส เป็นต้น. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะ
ทรงแสดงพุทธานุภาพ เพราะเหตุที่ขึ้นชื่อว่าการกล่าวด้วยเป็นผู้เทียบด้วยธรรม
มีในก่อน เป็นอานุภาพของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย จึงตรัสคำมีอาทิว่า สทฺธา
พีชํ ดังนี้.
ถามว่า ก็ในข้อนี้ ความเป็นผู้มีส่วนเสมอด้วยธรรมมีในก่อน คือ
อะไร พระผู้มีพระภาคเจ้าถูกพราหมณ์ถามถึงเครื่องไถมีแอกและไถเป็นต้น
มิใช่หรือ แต่พระองค์ตรัสว่า สทฺธา พีชํ เป็นต้น เพราะพืชที่ไม่ถูกถาม
เทียบกันได้ และเมื่อเป็นเช่นนั้น แม้ถ้อยคำก็ต่อกัน ไม่ได้ ธรรมดาว่าถ้อยคำ
ของพระพุทธเจ้าทั้งหลายที่ต่อกันไม่ได้ จะมีไม่ได้เลย. พระพุทธเจ้าทั้งหลาย
จะตรัสด้วยความที่ธรรมมีในก่อนเทียบกันไม่ได้ ก็หาไม่. ก็ในข้อนี้ พึงทราบ
อนุสนธิอย่างนี้ว่า จริงอยู่ พระผู้มีพระภาคเจ้าถูกพราหมณ์ถามถึงการไถ โดย
เครื่องไถมีแอกและไถเป็นต้น. ด้วยความอนุเคราะห์พราหมณ์นั้น พระองค์
ประสงค์ให้พราหมณ์ทราบเรื่องการไถพร้อมทั้งมูล พร้อมทั้งอุปการะ พร้อม
ทั้งสัมภาระที่เหลือ พร้อมทั้งผล มิให้ลดน้อยลง ด้วยพระดำริว่า ข้อนี้เขา
มิได้ถาม เมื่อจะทรงแสดงจำเดิมแต่ต้นมา จึงตรัสคำมีอาทิว่า สทฺธา พีชํ
ดังนี้. พืชในเรื่องนั้น เป็นมูลของการไถ เพราะเมื่อพืชมีก็ควรทำ เมื่อพืช
 
พระปิฎกธรรม

星期三, 八月 03, 2016

Athibai

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 18/494/19 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
พรหมผู้มีอานุภาพมากใช้องคุลีหนึ่ง แผ่รัศมีไปใน ๑,๐๐๐ จักรวาล แผ่รัศมี
ไปใน ๑๐,๐๐๐ จักรวาลด้วย ๒ องคุลี ฯล ฯ ๑๐ องคุลี และเสวยสุขอันเกิด
แต่ฌานสมาบัติอันยอดเยี่ยม พรหมแม้นั้นพระองค์ทรงการทำให้แจ้งแล้วหรือ
ดังนี้ จึงตรัสว่า สพฺรหฺมกํ. แต่นั้นเมื่อจะทรงกำจัดความสงสัยของเหล่าชน
ผู้มีความคิดว่า สมณพราหมณ์เป็นอันมากเป็นข้าศึกต่อพระศาสนาแม้เหล่านั้น
พระองค์ทรงกระทำให้แจ้งแล้วหรือดังนี้ จึงตรัสว่า สสฺสมณฺพฺรหฺมณึ ปชํ.
ก็แลครั้นพระองค์ทรงประกาศความที่พระองค์ทรงทำให้แจ้งมารและสมณ-
พราหมณ์เหล่านั้นอย่างสูงสุดอย่างนี้แล้ว ลำดับนั้นเมื่อจะทรงประกาศความที่
พระองค์ทรงทำให้แจ้งสัตว์โลกที่เหลือ โดยกำหนดอย่างสูง หมายถึงสมมติเทพ
และมนุษย์ที่เหลือ จึงตรัสว่า สเทวมนุสฺสํ. ในคำนี้มีลำดับ ความแจ่มแจ้ง
ดังนี้ . ก็พระโบราณาจารย์กล่าวว่า บทว่า สเทวกํ ได้แก่ โลกที่เหลือกบ
เหล่าเทวดา. บทว่า สมารกํ ได้แก่ โลกที่เหลือกับมาร. บทว่า สพฺรหฺมกํ
ได้แก่ โลกที่เหลือกับเหล่าพรหม. ท่านใส่เหล่าสัตว์ที่เข้าถึงไตรภพแม้ทั้งหมด
ลงในบททั้งสามด้วยอาการสามด้วยประการฉะนี้ เมื่อจะกำหนดถือเอาด้วยบท
ต้นทั้งสองอีก จึงกล่าวว่า สสฺสมณพฺรหฺมณึ ปชํ สเทวมนุสฺสํ ดังนี้
เป็นอันว่า ท่านกำหนดถือเอาไตรธาตุเท่านั้น ด้วยอาการนั้น ๆ ด้วยบททั้งห้า
ด้วยประการฉะนี้.
ในคำว่า สยํ อภิญฺญา สจฺฉิกตฺวา ปเวเทติ บทว่า สยํ แปลว่า
เอง. บทว่า อภิญญา แปลว่า รู้ อธิบายอาทิผิด อักขระว่า รู้ด้วยญาณยิ่งเอง. บทว่า
สจฺฉิกตฺวา ได้แก่ ทำให้ประจักษุ. เป็นอันท่านปฏิเสธการคาดคะเนเป็นต้น
ด้วยข้อนี้. บทว่า ปเวเทติ ได้แก่ ทำให้ตื่น ให้รู้ให้แจ้งประกาศ. บทว่า โส
ธมฺมํ เทเสติ อาทิมชฺฌปริโยสานกลฺยาณํ ความว่า พระผู้มีพระภาคเจ้า
นั้นทรงอาศัยความกรุณาในสัตว์ทั้งหลาย ทรงแสดงธรรมมีสุขอันเกิดแต่วิเวก
 
พระปิฎกธรรม

星期二, 八月 02, 2016

Muean

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 26/270/14 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
๑๐. นิทานสูตร

ว่าด้วยความพอใจในปฏิจจสมุปบาท

[๒๒๔] สมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ที่นิคมของหมู่
ชนชาวเมืองกุรุ อันมีชื่อว่ากัมมาสทัมมะ แคว้นกุรุรัฐ ครั้งนั้นแล
ท่านพระอานนท์เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ถวายอภิวาท
พระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว นั่ง ณ ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง เมื่อท่านนั่งเรียบ
ร้อยแล้วได้กราบทูลพระผู้มีพระภาคเจ้าดังนี้ว่า น่าอัศจรรย์ พระเจ้าข้า
ไม่เคยมีมา พระเจ้าข้า คือปฏิจจสมุปบาทอาทิผิด สระนี้เป็นธรรมลึกซึ้งเพียงไร
ทั้งมีกระแสความลึกซึ้ง แต่ถึงอย่างนั้น ก็ปรากฏเหมือนธรรมง่าย ๆ แก่
ข้าพระองค์.
[ ๒๒๕] พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า ดูก่อนอานนท์ เธออย่า
กล่าวอย่างนี้ ดูก่อนอานนท์ เธออย่ากล่าวอย่างนี้ ปฏิจจสมุปบาทนี้ เป็น
ธรรมลึกซึ้ง ทั้งมีกระแสความลึกซึ้ง เพราะไม่รู้ ไม่ตรัสรู้ ไม่แทง
ตลอดธรรมนี้ หมู่สัตว์นี้จึงเป็นเหมือนเส้นด้ายที่ยุ่ง เป็นเหมือนอาทิผิด อักขระกลุ่มเส้น
ด้ายที่เป็นปม เป็นเหมือนหญ้ามุงกระต่ายและหญ้าปล้อง ย่อมไม่ผ่านพ้น
อบาย ทุคติ วินิบาต สงสาร.
[๒๒๖] ดูก่อนอานนท์ เมื่อภิกษุเห็นความพอใจเนือง ๆ ใน
ธรรมทั้งหลายอันเป็นปัจจัยแห่งอุปาทานอยู่ ตัณหาย่อมเจริญ เพราะ
ตัณหาเป็นปัจจัย จึงมีอุปาทาน เพราะอุปาทานเป็นปัจจัย จึงมีภพ
เพราะภพเป็นปัจจัย จึงมีชาติ เพราะชาติเป็นปัจจัย จึงมีชราและมรณะ

๑. บางแห่งเป็น กัมมาสธัมมะ
 
พระปิฎกธรรม