turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 89/212/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปัจจยวาระ
อนุโลมนัย
เหตุปัจจัย
[๑๙๗] ๑. จิตตสหภูธรรม อาศัยจิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น
เพราะเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๔. ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตต-
สหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ จิต อาศัยหทยวัตถุ, จิตตสมุฏฐานรูป ที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
อาศัยจิต.
ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ เหมือนกับปฏิจจวาระ มหาภูตอาทิผิด อักขระรูปทั้งหมด.
๕. จิตตสหภูธรรม อาศัยธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม
เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-
ธรรม อาศัยจิต.
ขันธ์ทั้งหลาย ที่เป็นจิตตสหภูธรรม อาศัยหทยวัตถุ.
ในปฏิสนธิขณะ มหาภูตรูปทั้งหมด เหมือนกับปฏิจจวาระ.
๖. จิตตสหภูธรรม และธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัย
ธรรมที่ไม่ใช่จิตตสหภูธรรม เกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย
คือ สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย และจิตตสมุฏฐานรูป ที่เป็นจิตตสหภู-
ธรรม และไม่ใช่จิตตสหภูธรรม อาศัยจิต.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 19/224/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
แม้นี้ ก็ห้ามไว้แล้ว โดยเนื่องด้วยสิกขาบท ในสูตรนี้ ไม่ตรัสถึง
มโนสมาจารทั้งสองนั้น โดยตรัสแต่ธรรมชื่อขัดเกลาอย่างยิ่ง. ภิกษุ
ใด ย่อมตรึกถึงกามวิตก หรือพยาบาทวิตก หรือวิหิงสาอาทิผิด วิตก มโนสมาจาร
ของภิกษุนั้น ชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์. มโนสมาจารที่ตรงกันข้าม ชื่อว่า บริสุทธิ์.
ในอาชีวะ ภิกษุใด เพราะอาชีวะเป็นเหตุย่อมเลี้ยงชีพด้วยอำนาจ
อเนสนา ๒๑ อย่าง เช่นทำเวชกรรมรับใช้ค่าฝี การให้น้ำมันทาขา ย่อมหุง
น้ำมันเป็นต้น หรือว่า ภิกษุใด ทำวิญญัติบริโภค อาชีวะของภิกษุนั้นชื่อว่า
ไม่บริสุทธิ์. ก็อาชีวะอันไม่บริสุทธิ์นี้ ตรัสห้ามไว้โดยเนื่องด้วย
สิกขาบท. ในสูตรนี้ พระผู้มีพระภาคเจ้าไม่ตรัสถึงอาชีวะอันไม่บริสุทธิ์
ทั้งสอง ได้ตรัสแต่ธรรมชื่อขัดเกลาอย่างยิ่ง.
จริงอยู่ ภิกษุใด ได้ปัจจัยมีเนยใส เนยข้นอาทิผิด สระ น้ำมัน น้ำผึ้ง และน้ำอ้อย
เป็นต้นแล้วคิดว่า จักฉันในวันพรุ่งนี้ มะรืนนี้ แล้วฉันสิ่งที่ตนสั่งสมไว้. หรือ
ว่า ภิกษุใด เห็นช่อสะเดาเป็นต้น แล้วกล่าวกะพวกสามเณรว่า พวกเธอจง
เคี้ยวกินช่อสะเดา ดังนี้. พวกสามเณรคิดว่า พระเถระอยากจะเคี้ยวกิน จึงทำให้
เป็นกัปปิยะแล้วถวาย. ภิกษุกล่าวกะภิกษุหนุ่มหรือสามเณรว่า ดูก่อนผู้มีอายุ
พวกเธอจงดื่มน้ำดังนี้. ภิกษุหนุ่ม หรือสามเณรเหล่านั้น คิดว่า พระเถระ
ต้องการจะดื่มน้ำ จึงทำน้ำนั้นให้สะอาดแล้วถวาย. อาชีวะของภิกษุผู้บริโภค
น้ำนั้น ชื่อว่า ไม่บริสุทธิ์. อาชีวะตรงกันข้าม ชื่อว่า บริสุทธิ์.
บทว่า มตฺตญฺ ได้แก่ ผู้รู้จักพอดี รู้จักพอควร รู้จักพอประ
มาณ ในการแสวงหาการรับและการบริโภค.
บทว่า ชาคริยมนุยุตฺตา ได้แก่ ทำการแบ่งกลางคืนกลางวันออก
เป็น ๖ ส่วนแล้วกระทำโอกาสเพื่อการหลับส่วนหนึ่ง ประกอบขวนขวายแล้ว
ในธรรมเป็นเครื่องตื่น ๕ ส่วน. ในบทว่า สีหเสยฺยํ นี้ได้แก่ การนอน ๔
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 74/216/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
๑๐. สสปัณฑิตจริยา
ว่าด้วยจริยาวัตรของสสบัณฑิต
[๑๐] อีกเรื่องหนึ่ง ในกาลเมื่อเราเป็นกระต่าย
เที่ยวอยู่ในป่า มีหญ้า ใบไม้ ผักและผลไม้
เป็นภักษา เว้นจากการเบียดเบียนผู้อื่น ใน
กาลนั้น ลิง สุนัขจิ้งจอก ลูกนากอาทิผิด อักขระและเราเป็น
สหายอยู่ร่วมกัน มาพบกันทั้งเวลาเย็นเวลาเช้า
เราสั่งสอนสหายเหล่านั้นในกุศลธรรมและ
อกุศลธรรมว่า ท่านทั้งหลาย จงเว้นบาปกรรม
เสีย จงตั้งอยู่ในกรรมอันงาม เราเห็นพระจันทร์
เต็มดวงในวันอุโบสถ จึงบอกอาทิผิด อักขระแก่สหายเหล่า
นั้นว่า วันนี้เป็นวันอุโบสถ ท่านทั้งหลายจง
ตระเตรียมทานทั้งหลายเพื่ออาทิผิด ให้แก่ทักขิไณย.
บุคคลครั้นให้ทานแก่ทักขิไณยบุคคลแล้ว จง
รักษาอุโบสถ สหายเหล่านั้นรับคำของเราว่า
สาธุ แล้วได้ตระเตรียมทานต่าง ๆ ตามสติกำลัง
แล้วแสวงหาทักขิไณยบุคคล เรานอนคิดถึง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 57/230/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เรื่องราวจักมีแจ้งในอุมมาทันตีชาดก.
ก็ในเรื่องนี้ ภิกษุนั้นเมื่อพระศาสดาตรัสถามว่า ได้ยินว่า
เธอกระสันจริงหรือ กราบทูลว่า จริงพระเจ้าข้า ตรัสถามว่า
ก็ใครทำให้เธอกระสันเล่า กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้า
พระพุทธเจ้าเห็นมาตุคามคนหนึ่ง ตกแต่งอย่างสวยงาม แล้วตกอยู่
ในอำนาจกิเลสจึงกระสัน พระศาสดาจึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุ
ขึ้นชื่อว่ามาตุคามมักอกตัญญู ประทุษร้ายมิตร มีดวงใจกระด้าง
แม้โบราณกบัณฑิต ให้ดื่มโลหิตที่เข่าขวาของตน บริจาคทาน
ตลอดชีวิตอาทิผิด อักขระ ยังไม่ได้ดังใจของมาตุคาม แล้วทรงนำเรื่องอดีตมา
ตรัสเล่า.
ในอดีตกาลครั้งพระเจ้าพรหมทัตเสวยราชสมบัติอยู่ใน
กรุงพาราณสี พระโพธิสัตว์ทรงอุบัติในพระครรภ์ของพระ-
อัครมเหสีของพระองค์. ในวันขนานพระนาม ได้รับพระราชทาน
นามว่า ปทุมราชกุมาร. พระปทุมราชกุมาร ได้มีพี่น้องอีกหก
พระองค์. ทั้งเจ็ดพระองค์นั้น เจริญพระชนม์ขึ้นโดยลำดับ
ครองฆราวาส ทรงประพฤติเยี่ยงพระราชา.
อยู่มาวันหนึ่งพระราชาประทับทอดพระเนตรพระลาน-
หลวง ทรงเห็นพระราชกุมารพี่น้องเหล่านั้น มีบริวารมาก
พากันมาปฏิบัติราชการ ทรงเกิดความระแวงว่า ราชกุมาร
เหล่านี้จะพึงฆ่าเราแล้วชิงเอาราชสมบัติ จึงตรัสเรียกพระ-
ราชกุมารเหล่านั้นมารับสั่งว่า ลูก ๆ ทั้งหลาย พวกเจ้าจะอยู่
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 26/216/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
โทมนัสและอุปายาส ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วย
ประการอย่างนี้ ก็เพราะอวิชชาดับด้วยสำรอกโดยไม่เหลือ สังขารจึงดับ
เพราะสังขารดับ วิญญาณจึงดับ เพราะวิญญาณดับ นามรูปจึงดับ เพราะ
นามรูปดับ สฬายตนะจึงดับ เพราะสฬายตนะดับ ผัสสะจึงดับ เพราะ
ผัสสะดับ เวทนาจึงดับ เพราะเวทนาดับ ตัณหาจึงดับ เพราะตัณหา
ดับ อุปาทานจึงดับ เพราะอุปาทานดับ ภพจึงดับ เพราะภพดับ ชาติ
จึงดับ เพราะชาติดับ ชราและมรณะ โสกอาทิผิด อักขระปริเทวทุกขโทมนัสและอุปายาส
จึงดับ ความดับแห่งกองทุกข์ทั้งมวลนี้ ย่อมมีด้วยประการอย่างนี้ ญาย-
ธรรมอันประเสริฐนี้ อริยสาวกนั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้ว ด้วย
ปัญญา.
[๑๕๕] ดูก่อนคฤหบดี เมื่อใดแล ภัยเวร ๕ ประการนี้ของ
อริยสาวกสงบแล้ว เมื่อนั้น อริยสาวกย่อมประกอบด้วยธรรมเป็นองค์
แห่งโสดาปัตติ ๔ อย่าง และญายธรรมอย่างประเสริฐนี้ อันอริยสาวก
นั้นเห็นดีแล้ว แทงตลอดดีแล้วด้วยปัญญา อริยสาวกนั้นหวังอยู่ พึง
พยากรณ์ด้วยตนเองได้ว่า เราเป็นผู้มีนรกสิ้นแล้ว มีกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน
สิ้นแล้ว มีปิตติวิสัยสิ้นแล้ว มีอบาย ทุคติ วินิบาตสิ้นแล้ว เราเป็น
โสดาบัน มีอันไม่ตกต่ำเป็นธรรมดา เป็นผู้เที่ยงจะตรัสรู้ในภายหน้า.
จบปฐมปัญจเวรภยสูตรที่ ๑
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 40/228/20 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นั้นแล้ว กลับมาทูลบอกความเป็นไปนั้น. ครั้งนั้น พระดาบสตรัสเรียก
พระมารดาของกุมารนั้นมาแล้ว ตรัสว่า “นางผู้เจริญ หล่อนจงให้ข่าว
สาสน์แก่บุตรของหล่อน, เขาไปจากที่นี่เทียว จักเป็นพระเจ้าแผ่นดิน.”
พระราชเทวี ตรัสเรียกพระโอรสมาแล้ว ตรัสว่า “ เจ้าเป็นลูกของพระเจ้า
ปรันตปะในกรุงโกสัมพี. นกหัสดีลิงค์ นำเรามาทั้งที่มีครรภ์” ดังนี้แล้ว
ตรัสบอกชื่อของเสนาบดีเป็นต้น แล้ว ตรัสว่า “เมื่อเขาพากันไม่เชื่อ
เจ้าพึงเอาผ้ากัมพลอันเป็นพระภูษาห่ม และพระธำมรงค์อันเป็นเครื่อง
ประดับของพระบิดานี้ แสดง” ดังนี้ จึงส่งไปแล้ว.
พระกุมารจึงทูลถามพระดาบสว่า “บัดนี้ หม่อมฉันจะทำอย่างไร ?”
ดาบสกล่าวว่า “เจ้าจงนั่งกิ่งข้างล่างแห่งต้นไม้ ร่ายมนต์บทนี้
ดีดสายพิณสายนี้ ช้างนายฝูงน้อมหลังเข้ามาหาเจ้า เจ้านั่งบนหลังของ
มันเทียว จงไปยึดเอาราชสมบัติ.”
พระกุมารนั้น ถวายบังคมพระราชบิดาพระราชมารดาแล้ว ทรง
ทำตามนั้นแล้ว นั่งบนหลังของช้างตัวที่มาแล้ว กระซิบบอกช้างว่า
“ ข้าพเจ้าเป็นบุตรของพระเจ้าปรันตปะในกรุงโกสัมพี, ขอท่านจงยึดเอา
ราชสมบัติอันเป็นของบิดาให้แก่ข้าพเจ้าเถิด นาย.” ช้าง นายฝูง ฟังคำ
นั้นแล้ว จึงร้องเป็นเสียงช้างว่า “ช้างจงมาประชุมกันหลาย ๆ พัน.”
ช้างหลายพัน มาประชุมกันแล้ว. ร้องอีกว่า “ช้างแก่ ๆ จงถอยไป.”
ช้างแก่พากันถอยไปแล้ว. ร้องอีกว่า “ ช้างตัวเล็ก ๆ จงกลับไป.”
แม้ช้างเหล่านั้น ก็พากันกลับแล้ว. พระกุมารนั้น อันช้างนักรบตั้งหลายอาทิผิด อักขระ
พันพากันแวดล้อมแล้ว ถึงบ้านปลายแดนแล้ว ประกาศว่า “ เราเป็น
ลูกพระเจ้าแผ่นดิน, ผู้ที่ปรารถนาสมบัติ จงมากับเรา.” ตั้งแต่นั้นไป
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 6/91/13 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ปาฏิหาริย์ที่ ๒
[๔๐] ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ ไพรสณฑ์แห่งหนึ่ง
ไม่ไกลจากอาศรมของชฎิลอุรุเวลกัสสป ครั้งนั้น ท้าวมหาราชทั้ง ๔ เมื่อราตรี
ปฐมยามผ่านไปแล้ว เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว แล้วเข้า
ไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า ครั้นถึงแล้วจึงถวายบังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า ได้ยืน
เฝ้าอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น ต่อมาชฎิลอุรุเวลกัสสป เข้าไปเฝ้า
พระผู้มีพระภาคเจ้าโดยผ่านราตรีนั้น ครั้นถึงแล้วได้ทูลคำนี้ต่อพระผู้มีพระภาค
เจ้าว่า ถึงเวลาแล้วมหาสมณะภัตตาหารเสร็จแล้ว พวกนั้นคือใครกันหนอ เมื่อ
ราตรีปฐมยามผ่านไปแล้ว มีรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไป
หาท่าน ครั้นถึงแล้วอภิวาทท่านได้ยืนอยู่ทั้ง ๔ ทิศ ดุจกองไฟใหญ่ฉะนั้น.
พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสตอบว่า ดูก่อนกัสสป พวกนั้นคือท้าวมหาราช
ทั้ง ๔ เข้ามาหาเราเพื่อฟังธรรม.
ครั้งนั้น ชฎิลอุรุเวลกัสสปได้มีความดำริว่า พระมหาอาทิผิด อักขระสมณะมีฤทธิ์มาก
มีอนุภาพมากแท้ ถึงกับท้าวมหาราชทั้ง ๔ เข้ามาหาเพื่อฟังธรรม แต่ก็ไม่
เป็นพระอรหันต์เหมือนเราแน่.
ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเสวยภัตตาหารของชฎิลอุรุเวลกัสสป แล้ว
ประทับอยู่ในไพรสณฑ์ตำบลนั้นแล.
ปาฏิหาริย์ที่ ๒ จบ
ปาฏิหาริย์ที่ ๓
[๔๑] ครั้งนั้น ท้าวสักกะจอมทวยเทพ เมื่อราตรีปฐมยามล่วงไปแล้ว
เปล่งรัศมีงาม ยังไพรสณฑ์ทั้งสิ้นให้สว่างไสว เข้าไปเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้า
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/231/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อีกรูปหนึ่งทำปัญญาอย่างเดียวเท่านั้นให้เป็นธุระ อาศัยอำนาจวิปัสสนา
พิจารณาสุทธสังขาร หรือรูปาวจรฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง บรรลุพระอรหัต.
ภิกษุแม้นี้ ในขณะแห่งโสดาปัตติมรรค ชื่อว่า ธัมมานุสารี แต่ในฐานะ ๖
ข้างหน้า คือ ตั้งแต่โสดาปัตติผลถึงอรหัตมรรค ชื่อว่า ทิฏฐิปัตตะ. เมื่อบรรลุ
พระอรหัตผล ชื่อว่า ปัญญาวิมุต. ชื่อ ๒ อย่างคือ ปัญญาวิมุตอาทิผิด สระ และ ทิฏฐิปัตตะ
ไม่เคยมีในที่นี้ และรวมกับชื่อก่อน ๆ อีก ๓ ชื่อ คือ ธัมมานุสารี กายสักขี
และอุภโตภาควิมุต จึงเป็น ๕ ชื่อด้วยกัน.
อีกรูปหนึ่ง ท่านได้สมาบัติ ๘ กระทำศรัทธาให้เป็นธุระ อาศัยอำนาจ
สมถะ กระทำอรูปสมาบัติอย่างใดอย่างหนึ่งให้เป็นปทัฏฐาน เริ่มทั้งวิปัสสนา
บรรลุพระอรหัต. ภิกษุนี้ ในขณะแห่งโสดาปัตติมรรค ชื่อว่า สัทธานุสารี
แต่ในฐานะ ๖ ข้างหน้า ชื่อว่า กายสักขีนั่นแหละ. เมื่อบรรลุพระอรหัตผล
แล้วจึงชื่อว่า อุภโตภาควิมุต นั่นเทียว. ชื่ออย่างเดียวเท่านั้น คือ สัทธานุสารี
ไม่เคยมีในที่นี้ รวมกับชื่อ ๕ ชื่อข้างต้น ก็เป็น ๖ ชื่อด้วยกัน.
ภิกษุอีกรูปหนึ่ง กระทำศรัทธานั่นแหละให้เป็นธุระ อาศัยอำนาจ
วิปัสสนาพิจารณาสังขารล้วน หรือรูปาวจรฌานอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วบรรลุ
พระอรหัต. ภิกษุแม้นี้ ในขณะแห่งโสดาปัตติมรรค ชื่อว่า สัทธานุสารี ใน
ฐานะ ๖ ข้างหน้าอาทิผิด อักขระ คือ ตั้งแต่โสดาปัตติผลถึงอรหัตมรรค ชื่อว่า สัทธาวิมุต
เมื่อท่านบรรลุอรหัตผลแล้วจึงชื่อว่าปัญญาวิมุต. ชื่ออย่างเดียวเท่านั้น คือ สัท-
ธาวิมุต ไม่เคยมีในที่นี้ แล้วรวมกับชื่อ ๖ ชื่อข้างต้น ก็เป็น ๗ ชื่อด้วยกัน.
พระอริยบุคคล ๗ จำพวกเหล่านี้ ชื่อว่า เป็นทักขิไณยบุคคลผู้เลิศในโลก.
จบอรรถกถาสัทธานุสารีบุคคล
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 79/245/3 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
อรรถกาอุทธังโสโตอกนิฏฐคามีบุคคล
วินิจฉัยในนิเทศแห่งพระอนาคามี ผู้ชื่อว่า อุทธังโสโตบุคคล.
ตณฺหาอาทิผิด อักขระโสตํ กระแส คือ ตัณหา หรือวฏฺฏโสตํ กระแส คือ วัฏฏะ
ของพระอนาคามีนั้นมีอยู่ในเบื้องบน เพราะเป็นธรรมชาตินำไปในเบื้องบน
ฉะนั้นท่านจึงชื่อว่า อุทฺธํโสโต แปลว่า ผู้มีกระแส คือ ตัณหา หรือวัฏฏะใน
เบื้องบน. อีกอย่างหนึ่ง มคฺคโสตํ กระแส คือ มรรคของพระอนาคามีนั้น
มีอยู่ในเบื้องบน เพราะท่านไปสู่ภพเบื้องบนแล้วจึงได้ เพราะฉะนั้น ท่านจึง
ชื่อว่า อุทฺธํโสโต แปลว่า ผู้มีกระแส คือ มรรคในเบื้องบน. สองบทว่า
“ อกนิฏฐํ คจฺฉติ ” ได้แก่ ผู้มีปกติไปสู่ อกนิฏฐภพ.
พึงทราบวินิจฉัยในคำว่า “อวิหาโต จุโต อตปฺปํ คจฺฉติ” เป็นต้น
ดังนี้ว่า พระอนาคามีเมื่ออยู่ในอวิหาภูมิตลอด ๑,๐๐๐ มหากัป ไม่อาจบรรลุ
อรหัต จึงไปสู่สุทัสสีภูมิ. เมื่อท่านแม้อยู่ในสุทัสสีภูมิตลอด ๘,๐๐๐ มหากัป
ก็ไม่อาจบรรลุพระอรหัต ย่อมไปสู่อกนิฏฐภูมิ. อธิบายว่า เมื่อท่านอยู่ใน
อกนิฏฐภูมินั้น ย่อมให้อริยมรรคเกิดได้.
อนึ่ง เพื่อต้องการทราบประเภทของพระอนาคามีเหล่านี้ นักศึกษา
พึงทราบหมวด ๔ แห่งพระอนาคามี ผู้ชื่อว่า อุทฺธํโสโตอกนิฏฺฐคามี.
บรรดาพระอนาคามีเหล่านั้นองค์ใดชำระเทวโลกทั้ง ๔ ให้สะอาด
จำเดิมแต่อวิหาภูมิ และไปสู่อกนิฏฐภูมิจึงปรินิพพาน องค์นี้ชื่อว่า อุทฺธํโสโต-
อกนิฏฺฐคามี.
ก็องค์ใด ชำระเทวโลกทั้ง ๓ เบื้องต่ำให้สะอาด แล้วดำรงอยู่ใน
สุทัสสีเทวโลก จึงปรินิพพาน องค์นี้ชื่อว่า อุทฺธํโสโต น อกนิฏฺฐคามี
แปลว่า ผู้มีกระแสในเบื้องบน แต่ไม่ไปสู่อกนิฏฐภูมิ.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 62/353/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
นายพรานถูกตรึงอาทิผิด อักขระด้วยถ้อยคำอันอ่อนหวานของสุมุขหงส์นั้น จึงกล่าว
คาถาว่า
เรามิได้ผูกท่านไว้ และไม่ปรารถนาจะฆ่าท่าน
เชิญท่านรีบไปจากที่นี้ตามความปรารถนา แล้วจงอยู่
เป็นสุขตลอดกาลนานเถิด.
ลำดับนั้น สุมุขหงส์จึงกล่าวคาถา ๔ คาถาว่า
ข้าพเจ้าไม่ปรารถนาจะมีชีวิตอยู่ โดยเว้นจาก
ชีวิตของพญาหงส์นี้ ถ้าท่านยินดีเพียงตัวเดียว ขอ
ให้ท่านปล่อยพญาหงส์นี้ และจงกินข้าพเจ้า ข้าพเจ้า
ทั้งสองเป็นผู้เสมอกัน ด้วยรูปทรงสัณฐานและวัย
ท่านไม่เสื่อมแล้วจากลาภอาทิผิด อักขระ ขอท่านจงเปลี่ยนข้าพเจ้า
กับพญาหงส์นี้เถิด เชิญท่านพิจารณาดูในข้าพเจ้า
ทั้งสอง เมื่อท่านมีความปรารถนาเฉพาะตัวเดียว จง
เอาบ่วงผูกข้าพเจ้าไว้ก่อน จงปล่อยพญาหงส์ใน
ภายหลัง ถ้าท่านทำตามที่ข้าพเจ้าขอร้อง ลาภของท่าน
ก็คงมีประมาณเท่านั้นเหมือนกัน ทั้งท่านจะได้เป็น
มิตรกับฝูงหงส์ธตรฐจนตลอดชีวิตด้วย.
บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า เอตํ ความว่า ข้าพเจ้าไม่ปรารถนาความ
เป็นอยู่ของข้าพเจ้าโดยปราศจากชีวิตของพญาหงส์นี้เลย. บทว่า ตุลฺยสฺมา
ได้แก่ ข้าพเจ้าทั้งสองย่อมเป็นผู้สม่ำเสมอกัน. บทว่า นิมินา ตุวํ คือ
ท่านจงแลกเปลี่ยนตัวกันเสียเถิด. บทว่า ตวสฺมสุ ความว่า สุมุขหงส์นั้น
กล่าวว่า ท่านมีความปรารถนาในข้าพเจ้าทั้งสอง ท่านจะประโยชน์อะไร
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 29/229/7 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ ดังนี้ เขาย่อมทำตัวให้ร้อนรนกระวนกระวายบรรลุ
กุศลธรรมอย่างเดียว แต่กระทำให้แจ้งซึ่งอุตตริมนุสสธรรมที่เป็นญาณทัศ-
นะวิเศษชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ไม่ได้ ๑ ดูก่อนนายคามณี ก็บุคคลผู้มีตบะ
ทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมองบางคนในโลกนี้ เป็นผู้มีศรัทธา ออกบวชเป็น
บรรพชิตด้วยคิดว่า ไฉนหนอ เราพึงบรรลุกุศลธรรม พึงทำให้แจ้ง
ซึ่งอุตตริมนุสสธรรมที่เป็นญาณทัศนะวิเศษชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ ดังนี้
เขาย่อมทำตัวให้ร้อนรนกระวนกระวาย ได้บรรลุกุศลธรรม และทำให้อาทิผิด สระแจ้ง
ซึ่งอุตตริมนุสสธรรมที่เป็นญาณทัศนะวิเศษชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ ๑.
[๖๔๕] ดูก่อนนายคามณี ในบรรดาบุคคลผู้มีตบะทรงชีพอยู่
อย่างเศร้าหมอง ๓ จำพวกนั้น ผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมอง ที่ทำตัว
ให้ร้อนรนกระวนกระวาย ไม่ได้บรรลุกุศลธรรม ทำให้แจ้งซึ่งอุตตริมนุ-
สสธรรมที่เป็นญาณทัศนะวิเศษชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ไม่ได้นี้ พึงถูกติเตียน
โดย ๓ สถาน พึงถูกติเตียนโดย ๓ สถานเป็นไฉน คือ สถานที่ ๑ พึงถูก
ติเตียนดังนี้ว่า ทำตัวให้ร้อนรนกระวนกระวาย สถานที่ ๒ พึงถูกติเตียน
ดังนี้ว่า ไม่ได้บรรลุกุศลธรรม สถานที่ ๓ พึงถูกติเตียนดังนี้ว่า ทำให้
แจ้งซึ่งอุตตริมนุสสธรรม ที่เป็นญาณทัศนะวิเศษชั้นเยี่ยมอย่างบริบูรณ์ไม่
ได้ดูก่อนนายคามณีบุคคลผู้มีตบะทรงชีพอย่างเศร้าหมองนี้ พึงถูกติเตียน
โดย ๓ สถานเหล่านี้.
[๖๔๖] ดูก่อนนายคามณี ในบรรดาบุคคลผู้มีตบะทรงชีพอยู่
อย่างเศร้าหมอง ๓ จำพวกนั้น ผู้มีตบะทรงชีพอยู่อย่างเศร้าหมอง ที่ทำ
ตัวให้ร้อนรนกระวนกระวาย ได้บรรลุกุศลธรรมเหล่านั้น แต่ทำให้แจ้ง
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 32/404/18 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
เที่ยงคืน ให้เล่าเรียนมายาของเนื้อดีแล้ว ดูก่อน
น้องหญิง เนื้อหลานชายกลั้นลมหายใจไว้ได้ โดย
ช่องโสตข้างหนึ่ง แนบติดอยู่กับพื้น จะทำกลลวง
นายพรานด้วยอุบาย ๖ ประการ.
ต่อมา ในเวลาที่สามเณรมีอายุ ๗ พรรษา ทรงแสดง
อัมพลัฏฐิยราหุโลวาทแก่ราหุลสามเณรนั้นว่า ราหุลอย่ากล่าว
สัมปชานมุสา แม้เพื่อจะเล่นโดยความเป็นเด็กเลย ดังนี้เป็นต้น
ในเวลาที่สามเณรมีอายุ ๑๘ พรรษา ตรัสมหาราหุโลวาทสูตร
โดยนัยว่า “ราหุล รูปอย่างใดอย่างหนึ่ง” ดังนี้เป็นต้น แก่ราหุล
ผู้เข้าไปบิณฑบาตตามหลังของพระตถาคต มองดูรูปสมบัติของ
พระศาสดาและของตน ตรึกวิตกที่เนื่องด้วยครอบครัว ส่วนราหุโลวาท
ในสังยุตก็ดี ราหุโลวาทในอังคุตตรนิกายก็ดี เป็นอาจารย์แห่ง
วิปัสสนาของพระเถระทั้งนั้น.
ภายหลังพระศาสดาทรงทราบว่าญาณของท่านแก่กล้า
ในเวลาที่ราหุลเป็นภิกษุยังไม่มีพรรษาประทับนั่งที่อันธวันตรัส
จุลลราหุโลวาทสูตรแล้ว เวลาจบเทศนา พระราหุลเถระบรรลุ
พระอรหัตพร้อมกับเทวดาแสนพันโกฏิ เทวดาที่เป็นพระโสดาบัน
พระสกทาคามีและพระอนาคามีนับไม่ถ้วน. ต่ออาทิผิด อักขระมาภายหลังพระ-
ศาสดาทรงประทับนั่งท่ามกลางพระอริยสงฆ์ ทรงสถาปนาพระเถระ
ในตำแหน่งเป็นยอดของเหล่าภิกษุผู้ใคร่ต่อการศึกษาในศาสนานี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 1/302/9 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ที่ชื่อว่า ทุคติ เพราะอรรถว่า มีคติแห่งทุกข์เป็นที่พึ่ง. อีกอย่างหนึ่ง
ชื่อว่า ทุคติ เพราะอรรถว่า มีคติที่เกิดเพราะกรรมที่ชั่วร้ายเพราะมีโทษมาก.
ที่ชื่อว่า วินิบาต เพราะอรรถว่า เป็นสถานที่พวกสัตว์ผู้ชอบทำชั่ว
ตกไปไร้อำนาจ. อีกอย่างหนึ่ง ชื่อว่า วินิบาต เพราะอาทิผิด สระอรรถว่า เป็นสถานที่
ที่พวกสัตว์ผู้กำลังพินาศ มีอวัยวะใหญ่น้อยแตกกระจายตกไปอยู่.
ที่ชื่อว่า นิรยะ เพราะอรรถว่า เป็นสถานที่ไม่มีความเจริญที่รู้กัน
ว่าความยินดี อีกอย่างหนึ่ง พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงกำเนิดสัตว์ดิรัจฉาน
ด้วยอบายศัพท์. จริงอยู่ กำเนิดสัตว์ดิรัจฉานจัดเป็นอบาย เพราะปราศจาก
สุคติอาทิผิด แต่ไม่จัดเป็นทุคติ เพราะเป็นสถานที่เกิดแห่งสัตว์ทั้งหลายมีพญานาค
เป็นต้น ผู้มีศักดามาก. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงเปตวิสัย ด้วยทุคติศัพท์.
จริงอยู่ เปตวิสัยนั้นจัดเป็นอบายด้วย เป็นทุคติด้วย เพราะปราศไปจากทุคติ
และเพราะเป็นคติแห่งทุกข์, แต่ไม่เป็นวินิบาต เพราะไม่มีความตกไป เช่น
กับพวกอสูร. แท้จริง แม้วิมานทั้งหลาย ย่อมเกิดขึ้นแก่พวกเปรตผู้มีฤทธิ์มาก.
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงอสุรกาย ด้วยวินิปาตศัพท์. ความจริงอสุรกาย
นั้น ท่านเรียกว่า เป็นอบายด้วย เป็นทุคติอาทิผิด อักขระด้วย เพราะอรรถตามที่กล่าวมาแล้ว
และว่าเป็นวินิบาต เพราะเป็นผู้มีความตกไปจากความเกิดขึ้นแห่งสมบัติทั้งปวง,
พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงนิรยะนั่นแล ซึ่งมีอเนกอาทิผิด อักขระประการมีอเวจีเป็นต้น
ด้วยนิรยศัพท์.
บทว่า อุปปนฺนา แปลว่า เข้าถึงแล้ว อธิบายว่า เกิดขึ้นแล้วใน
นรกนั้น. ศุกลปักษ์ (ฝ่ายขาว) พึงทราบโดยบรรยายที่แปลกกันจากที่กล่าว
แล้ว. ส่วนความแปลกกันมีดังต่อไปนี้ :- แม้คติแห่งมนุษย์ ท่านก็สงเคราะห์เอา
ด้วยอาทิผิด อักขระสุคติศัพท์ ในศุกลปักษ์นี้. เทวคติเท่านั้นท่านสงเคราะห์เข้าด้วยสัคคศัพท์.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 3/567/5 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
กว่าจะครบสามจบอยู่ สละกรรมนั้นเสีย สละได้อย่างนี้ นั่นเป็น
การดี หากเธอไม่สละเสีย เป็นสังฆาทิเสส.
เรื่องพระเทวทัต จบ
สิกขาบทวิภังค์
[๕๙๔] บทว่า อนึ่ง...ใด ความว่า ผู้ใด คือผู้เช่นใดอาทิผิด สระ มีการ
งานอย่างใด มีชาติอย่างใด มีชื่ออย่างใด มีโคตรอย่างใด มีปกติอย่างใด
มีธรรมเครื่องอยู่อย่างใด มีอารมณ์อย่างใด เป็นเถระก็ตาม เป็นนวกะ
ก็ตาม เป็นมัชฌิมะก็ตาม นี้พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า อนึ่ง...ใด.
บทว่า ภิกษุ ความว่า ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้ขอ
ที่ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า ประพฤติภิกขาจริยวัตร ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ
อรรถว่า ทรงผืนผ้าที่ถูกทำลายแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ โดยสมญา ชื่อว่า ภิกษุ
โดยปฏิญญา ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นเอหิภิกษุ ชื่อว่า ภิกษุ
เพราะอรรถว่า เป็นผู้อุปสมบทแล้วด้วยไตรสรณคมน์ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะ
อรรถว่า เป็นผู้เจริญ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า มีสารธรรม ชื่อว่า ภิกษุ
เพราะอรรถว่า เป็นพระเสขะ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นพระอเสขะ
ชื่อว่า ภิกษุ เพราะอรรถว่า เป็นผู้อันสงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้
ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ ควรแก่ฐานะ บรรดาภิกษุเหล่านั้น
ภิกษุที่สงฆ์พร้อมเพรียงกันอุปสมบทให้ด้วยญัตติจตุตถกรรม อันไม่กำเริบ
ควรแก่ฐานะ นี้ชื่อว่า ภิกษุ ทรงประสงค์ในอรรถนี้.
พระปิฎกธรรม
turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม
คำศัพท์ 85/229/17 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว
ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”
อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
ดำเนินการนับปัจจัยที่มีมูลหนึ่งตามบาลี ด้วยคำว่า นเหตุยา เทฺว ดังนี้
แล.
พึงทราบวินิจฉัยใน ทุมูลกปัจจัย ต่อไป. ในคำนี้ว่า นเหตุปจฺจยา
นารมฺมเณ เอกํ อธิบายว่า ด้วยอำนาจแห่งปัจจัยที่นับได้น้อยกว่าในการ
เทียบปัจจัยที่นับได้น้อยกว่ากับปัจจัยที่นับได้มาก พึงมีปัจจัย ๒ เหมือน
ในนเหตุปัจจัยก็จริง ถึงอย่างนั้น คำว่า เอกํ ท่านกล่าวหมายถึงรูปา-
พยากตะ เกิดขึ้นเพราะอาศัยอัพยากตะ เพราะอรูปธรรมขาดไปด้วยอำนาจ
นอารัมมณปัจจัย แม้ในปัจจัยแต่ละปัจจัยในทุกะปัจจัยก็นัยนี้เหมือนกัน.
บัณฑิตพึงทราบวาระสองเกี่ยวกับที่ได้ในนเหตุปัจจัย ในที่ซึ่งท่านกล่าว
ไว้ว่า “เทฺว.” ก็ในปัจจัยทั้งปวงที่มีมูล ๓ เป็นต้น มีวิสัชนาวาระเดียว
เท่านั้น เพราะนอารัมมณปัจจัยขาดไป. นี้เป็นการคำนวณในปัจจัยที่มี
มูล ๑ เป็นต้น เริ่มแต่เหตุปัจจัยไปในปัจจนียนัย. ส่วนอารัมมณปัจจัย
ไม่แสดงไว้ในที่นี้ เพราะเป็นเช่นเดียวกับนัยก่อนในเอกมูลกะนั้นแหละ
เป็นต้น .
คำว่า นารมฺมณปจฺจยา นเหตุยา เอกํ ในทุมูลูกนัย พระผู้มี-
พระภาคเจ้าตรัสไว้ ในนเหตุทุกมูลกนัยนั่นเทียว ด้วยสามารถแห่ง
อารัมมณอาทิผิด สระปัจจัย. คำว่า นาธิปติยา ปญฺจ พึงทราบด้วยอำนาจการได้ใน
นารัมมณอาทิผิด สระปัจจัย.
ในการเปรียบเทียบปัจจัยทั้งหมด พึงทราบจำนวนด้วยอำนาจปัจจัย
ที่นับได้น้อยกว่าในปัจจัยที่นอารัมมณปัจจัยเข้าได้ รูปเท่านั้นเป็นปัจจ-
ยุบบัน. แม้ในฐานที่นอนันตรปัจจัย นสมนันตระ - นอัญญมัญญะ -
นอุปนิสสยะ - นอาหาระ - นอินทริยะ - นสัมปยุตตะ - โนนัตถิ - โนวิคต-
พระปิฎกธรรม