星期四, 二月 02, 2017

Sikkha

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 11/98/11 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
บัดนี้พึงทราบว่า มี ๓ มีวินัยเป็นต้น เพราะรวมเข้ากับปิฎกศัพท์
นั้น พึงทราบว่ามี ๓ มีวินัยเป็นต้นเหล่านี้อย่างนี้ว่า เพราะทำสมาสกับ
ปิฎกศัพท์ ซึ่งมีเนื้อความ ๒ อย่างนั้น อย่างนี้ คือวินัยด้วย วินัยนั้นเป็น
ปิฎกด้วย เพราะเป็นปริยัติ และเพราะเป็นภาชนะแห่งเนื้อความนั้น ๆ
เพราะฉะนั้น จึงชื่อวินัยปิฎก โดยนัยตามที่กล่าวแล้ว พระสูตรด้วย พระสูตร
นั้นเป็นปิฎกด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่าสุตตันตปิฎก อภิธรรมด้วย อภิธรรม
นั้นเป็นปิฎกด้วย เพราะฉะนั้น จึงชื่อว่าอภิธรรมปิฎก
ก็ครั้นทราบอย่างนี้แล้ว เพื่อความเป็นผู้ฉลาดในประการต่าง ๆ ใน
ปิฎกทั้ง ๓ เหล่านั้นอีกครั้ง
พึงแสดงประเภทของเทศนา ประเภทของ
ศาสนา ประเภทของกถา และสิกขาอาทิผิด อักขระ
ปหานะ คัมภีรภาพตามสมควรในปิฎก
เหล่านั้น ภิกษุย่อมถึงซึ่งประเภทแห่งการ
เล่าเรียนใด ซึ่งอาทิผิด อาณัติกะสมบัติใด แม้ซึ่งวิบัติใด
ในปิฎกใด ด้วยอาการใด พึงแสดงซึ่ง
ประเภทแห่งการเล่าเรียนทั้งหมดแม้นั้น
ด้วยอาการนั้น.
ในคาถาเหล่านั้น มีคำอธิบายอย่างแจ่มแจ้งและชัดเจน ดังต่อไปนี้
จริงอยู่ ปิฎก ๓ เหล่านั้น ท่านเรียกตามลำดับว่า อาณาเทศนา โวหาร-
เทศนา ปรมัตถเทศนา ยถาปราธศาสนา ยถานุโลมศาสนา ยถาธรรม-
ศาสนา และสังวราสังวรกถา ทิฏฐิวินิเวฐนกถา นามรูปปริจเฉทกถา.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: