星期日, 九月 03, 2017

Suat Song

turned_in เรื่อง คำศัพท์ และการอ่านพิสูจน์บทอักษร อักขระบทธรรม

คำศัพท์ 39/158/10 ชื่อเล่ม หน้า บรรทัด
“บทคำศัพท์ พยัญชนะ สระ อันเป็นใจความ ‘เพื่อความบริสุทธิ์ บริบูรณ์ สมบูรณ์ สิ้นเชิง’ ตามนัยซึ่งความหมาย อันที่มีปรากฏมาดีแล้ว ในบทคำศัพท์ ของพระเถระธรรม บทพระนามกรแห่ง ‘พระวรคติธรรม’ ของคำศัพท์ภาคภาษาไทย ซึ่งไปโดยใน ไปด้วยบทของพระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก บทพระอักษรสยาม”

 อรรถประโยชน์ ที่พิมพ์ดูที่อ้าง การเทียบเคียง
 
ใช้ในความว่า ผิว ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า สุวณฺณวณฺโณ
ภควา พระผู้มีพระภาคเจ้ามี พระฉวี ดังทอง.
ใช้ในความว่า สรรเสริญ ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า ดูก่อน
คฤหบดี คำสรรเสริญพระสมณโคดมเหล่านั้น ท่านรวบรวมไว้เมื่อไร.
ใช้ในความว่าพวกตระกูล ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า ท่านพระ-
โคดม วรรณะ ๔ เหล่านั้น.
ใช้ในความว่าเหตุ ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า เกน นุ วณฺเณน
คนฺธเถโนติ วุจฺจติ เพราะเหตุอะไรเล่าหนอ จึงมาว่าเราเป็นผู้ขโมยกลิ่น.
ใช้ในความว่า ทรวดทรง ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า มหนฺตํ
หตฺถีราชวณฺณํ อภินิมฺมิตฺวา เนรมิตทรวดทรงอาทิผิด อักขระเป็นพระยาช้าง.
ใช้ในความว่า ขนาด ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า ตโย ปตฺตสฺส
วณฺณา ขนาดของบาตรสามขนาด.
ใช้ในความว่า รูปายตนะ ได้ในประโยคเป็นต้นอย่างนี้ว่า วณฺโณ
คนฺโธ รโส โอชา รูป กลิ่น รส โอชา.
วัณณศัพท์นั้น ในสูตรนี้ พึงเห็นว่าใช้ในความว่า ผิว ด้วยเหตุนั้น
ท่านจึงอธิบายว่า บทว่า อภิกฺกนฺตวณฺณา แปลว่า มีวรรณะน่ารัก.

แก้อรรถบท เกวลกปฺปํ
เกวลศัพท์ในบทว่า เกวลกปฺปํนี้ มีความหมายเป็นอเนก เช่น ไม่
มีส่วนเหลือ โดยมาก ไม่ปน [ล้วน ๆ ] ไม่มากเกิน มั่นคง ไม่เกาะ
เกี่ยว จริงอย่างนั้น เกวลศัพท์นั้นมีความว่าไม่มีส่วนเหลือ ได้ในประโยค
เป็นต้นอย่างนี้ว่า เกวลปริปุณฺณํ ปริสุทฺธํ พฺรหฺมจริยํ พรหมจรรย์บริ-
สุทธิ์บริบูรณ์ ไม่มีส่วนเหลือ.
 
พระปิฎกธรรม

没有评论: